งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาทักษะพื้นฐานเบื้องต้นในการแกะสลักผักและผลไม้แบบร่วมมือกันของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาการโรงแรม ผู้วิจัย : นางสาวรุ่งราตรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาทักษะพื้นฐานเบื้องต้นในการแกะสลักผักและผลไม้แบบร่วมมือกันของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาการโรงแรม ผู้วิจัย : นางสาวรุ่งราตรี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาทักษะพื้นฐานเบื้องต้นในการแกะสลักผักและผลไม้แบบร่วมมือกันของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาการโรงแรม ผู้วิจัย : นางสาวรุ่งราตรี อึ้งเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ( สยามเทค )

2 ปัญหาการวิจัย นักเรียนขาดทักษะความชำนาญ ในการนำผักผลไม้มาแกะสลัก ให้สวยงามตามแบบ ผู้วิจัยได้ศึกษาข้อมูล และสอบถามปัญหาจาก เรียน พบว่าปัญหาเกิดจากการที่นักศึกษาจับมีดไม่ถูกต้อง ขาดความ เข้าใจในขั้นตอนของการแกะ สลัก ทำให้คะแนนการปฏิบัติงาน แกะสลักไม่ดี ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการแกะสลักผัก และผลไม้ต่ำจึงต้องมีการพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้น

3 วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานเบื้องต้นในการแกะสลักผักและผลไม้ของ นักศึกษา จะพัฒนานักเรียนที่ขาดทักษะจำนวน 10 คน โดยจะทำการลง มือปฏิบัติก่อนและหลังเรียนเพื่อพัฒนาทักษะให้สูงขึ้น

4 ผังสรุปสำคัญ ประชากรเป้าหมาย : นักเรียนระดับ ปวช.2/9 จำนวน 10 คน สาขาการโรงแรม ที่ ลงทะเบียนเรียนวิชาการแกะสลักผักและผลไม้ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ตัวแปรที่เกี่ยวข้องในงานวิจัย ตัวแปรต้น คือ การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือกัน ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

5 ระดับคะแนนการประเมินผลงานของนักศึกษาการแกะสลัก ก่อนการเรียน
รายการประเมิน แปลผล ความสวยงาม 2.8 พอใจปานกลาง ความประณีต 2.1 พอใจน้อย ความถูกต้องของลาย ความสะอาด 3.7 การจับมีด 3 การใช้วัสดุอย่างเหมาะสม 3.3 ภาพรวมของชิ้นงาน 2.9 จากตารางการประเมินซึ่งพบได้ว่านักศึกษาที่ได้รับการเรียนรู้ก่อนการเรียนจะมีระดับค่าเฉลี่ย ดังนี้ ความสะอาด คะแนนเฉลี่ย การใช้วัสดุอย่างเหมาะสม คะแนนเฉลี่ย การจับมีด คะแนนเฉลี่ย 3 ภาพรวมของชิ้นงาน คะแนนเฉลี่ย ความสวยงาม และความถูกต้องของลาย คะแนนเฉลี่ย 2.8 และความประณีต คะแนนเฉลี่ย 2.1

6 ระดับคะแนนการประเมินผลงานของนักศึกษาการแกะสลัก หลังการเรียน
รายการประเมิน แปลผล ความสวยงาม 4.2 พอใจมาก ความประณีต 4 ความถูกต้องของลาย ความสะอาด 4.1 การจับมีด 3.7 การใช้วัสดุอย่างเหมาะสม 4.5 พอใจมากที่สุด ภาพรวมของชิ้นงาน จากตารางการประเมินหลังการเรียนซึ่งพบได้ว่านักศึกษาที่ได้รับการเรียนรู้ก่อนการเรียนจะมีระดับค่าเฉลี่ย ดังนี้ การใช้วัสดุอย่างเหมาะสม และภาพรวมของชิ้นงาน คะแนนเฉลี่ย ความสวยงาม และ ความถูกต้องของลาย คะแนนเฉลี่ย ความสะอาดคะแนนเฉลี่ย 4.1 ความประณีต คะแนนเฉลี่ย 4 และ การจับมีด คะแนนเฉลี่ย ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบจากค่าเฉลี่ยก่อนการเรียนของนักศึกษา แสดงได้ว่านักศึกษามีการพัฒนาอย่างดีขึ้น

7 สรุปผลการวิจัย จากการที่ทำใบประเมินผลก่อนการเรียนการสอนวิชาการแกะสลักผักและผลไม้ซึ่ง จะพบได้ว่านักศึกษามีการพัฒนาการเรียนรู้ได้อย่างดีขึ้นและผลงานที่นักศึกษาแกะ ออกมานั้นเป็นที่น่าภูมิใจเพราะนักศึกษามีการแกะสลักได้ถูกต้องมากยิ่งขึ้นและมี คุณภาพมากกว่าก่อนการเรียนและนักศึกษายังสามารถนำความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดยัง บุคคลอื่นและสามารถนำไปประกอบวิชาชีพได้อีกด้วย ซึ่งจะสรุปได้ดังนี้ 1. ผลการประเมินของนักศึกษาหลังการเรียนมีคะแนนที่สูงขึ้นกว่าก่อนการเรียน 2. นักศึกษามีการพัฒนาการเรียนรู้อย่างดีขึ้น

8 การเรียนการสอนแบบร่วมมือกันของนักศึกษา
ภาพประกอบการวิจัย การเรียนการสอนแบบร่วมมือกันของนักศึกษา

9 แบบร่วมมือกัน ผลงานก่อนการร่วมมือกัน

10 ผลงานหลังจากที่ร่วมมือกัน


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาทักษะพื้นฐานเบื้องต้นในการแกะสลักผักและผลไม้แบบร่วมมือกันของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาการโรงแรม ผู้วิจัย : นางสาวรุ่งราตรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google