งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558

2 เป้าหมาย จปฐ. ปี 2558

3 ทุกครัวเรือนในเขตชนบท ระยะเวลาในการจัดเก็บ
พื้นที่เป้าหมาย ในการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ทุกครัวเรือนในเขตชนบท (อบต. และเทศบาลตำบลที่ยกฐานะจาก อบต.) ระยะเวลาในการจัดเก็บ ในระดับครัวเรือน หมู่บ้าน และตำบล ธันวาคม – 31 มกราคม 2558

4 จัดเก็บและบันทึกประมวลผล ทุกครัวเรือนเสร็จแล้ว
จัดเก็บและบันทึกประมวลผล ทุกครัวเรือนเสร็จแล้ว ต้องนำเสนอในที่ประชุมระดับตำบล การจัดส่งข้อมูล จปฐ. ทุกระดับ ต้องส่งแบบคำรับรองข้อมูล จปฐ. ด้วย ระดับตำบล แบบคำรับรองฯ หมายเลข 1 ระดับอำเภอ แบบคำรับรองฯ หมายเลข 2 ระดับจังหวัด แบบคำรับรองฯ หมายเลข 3

5 แนวทางการจัดเก็บข้อมูล จปฐ.
1. เตรียมการและวางแผนการจัดเก็บข้อมูล (ต.ค. – ธ.ค. 57) 1.1 จัดทำ ปรับปรุงคำสั่งคณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ และคณะทำงานติดตามฯ ทุกระดับ (จังหวัด/อำเภอ/ตำบล/หมู่บ้าน) ปี 2558 จังหวัดให้แต่งตั้งคณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับหมู่บ้าน ประกอบด้วย ๑. ประธานคณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) หัวหน้าคณะทำงาน ๒. ประธาน กพสม. หรือ ผู้แทน คณะทำงาน ๓. ผู้แทนคณะกรรมการ กทบ. หรือผู้แทนกลุ่มออมทรัพย์ฯ คณะทำงาน ๔. ผู้แทนสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีหมู่บ้าน คณะทำงาน ๕. ผู้แทนอาสาพัฒนาชุมชน (อช.) คณะทำงานและเลขานุการ

6 แนวทางการจัดเก็บข้อมูล จปฐ.
โดยมีหน้าที่ ดังนี้ ๑) สำรวจและจัดทำทะเบียนครัวเรือนทั้งหมดในหมู่บ้าน แล้วจำแนกเป็นครัวเรือนที่อาศัยอยู่จริงในรอบปีที่ผ่านมา ๒) บริหารการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. ๒ค ในระดับหมู่บ้าน ตามที่คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ระดับตำบล มอบหมายให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เสร็จทันตามระยะเวลาที่กำหนด ๓) พิจารณาเสนอรายชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล จปฐ. (ผู้จัดเก็บ ๑ คนรับผิดชอบจัดเก็บข้อมูลฯ จำนวน ๒๐ ครัวเรือน) เพื่อให้อำเภอจัดทำคำสั่งแต่งตั้ง ๔) นำเสนอผลการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ของหมู่บ้านทุกตัวชี้วัด ต่อเวทีประชาคมหมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน ๕) งานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย

7 แนวทางการจัดเก็บข้อมูล จปฐ.
1.2 แต่งตั้งผู้จัดเก็บฯ /ผู้บันทึกข้อมูลฯ 1.3 คณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ ทุกระดับ ประชุมเตรียมการ วางแผนการบริหารการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และจัดทำแผนปฏิบัติการฯ ทุกระดับ 1.4 ประชุมชี้แจงผู้จัดเก็บข้อมูลฯ /คัดเลือกหัวหน้าทีมฯ และจัดทำแผน การจัดเก็บข้อมูลฯ ของผู้จัดเก็บฯ 1.5 ฝึกอบรมโปรแกรมบันทึกและประมวลผลข้อมูล จปฐ. ให้ผู้บันทึกฯ และจัดทำแผนการบันทึกข้อมูลฯ ของผู้บันทึกฯ

8 2. จัดเก็บ/บันทึกและประมวลผลข้อมูล จปฐ. (ธ.ค. 2557 – ก.พ. 2558)
2. จัดเก็บ/บันทึกและประมวลผลข้อมูล จปฐ. (ธ.ค – ก.พ. 2558) 2.1 เริ่มจัดเก็บข้อมูล จปฐ. เดือน ธันวาคม 2557 1) จัด D-Day การจัดเก็บข้อมูลฯ ในช่วงสัปดาห์รณรงค์การจัดเก็บข้อมูลฯ (๓-๙ ธันวาคม ๒๕๕๗) 2) ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลทุกครัวเรือน ให้แล้วเสร็จภายใน ๓๑ มกราคม ๒๕๕๘ 3) หัวหน้าทีมผู้จัดเก็บ จปฐ. ของหมู่บ้าน รวบรวมแบบสอบถามทั้งหมดส่งให้พัฒนากร/ผู้บันทึกข้อมูล

9 2.2 บันทึกประมวลผล และนำเสนอระดับตำบล
1) ผู้บันทึกฯ บันทึกและประมวลผลข้อมูล จปฐ. ทุกครัวเรือน และตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน ภายในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2558 2) พัฒนากร และผู้บันทึกข้อมูล จปฐ. นำเสนอผลข้อมูล จปฐ. ต่อที่ประชุมระดับตำบล เพื่อรับทราบและร่วมตรวจสอบ/ปรับปรุง/แก้ไข/ยืนยันผลการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. นำไปใช้ประโยชน์และสำเนาข้อมูลทั้งหมด ส่งให้อำเภอ พร้อมคำรับรองข้อมูล จปฐ. หมายเลข1 ภายในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558 3) พัฒนากร และผู้นำ อช. นำผลข้อมูลกรองลงในโปสเตอร์สรุปผล จปฐ. ระดับหมู่บ้าน เพื่อนำไปติดไว้ที่หมู่บ้าน/ชุมชน

10 3. ติดตาม ตรวจสอบ และประมวลผลข้อมูล
3.1 อำเภอ ติดตามตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วน และประมวลผลข้อมูล จปฐ. เป็นภาพรวมของอำเภอ แล้วสำเนาข้อมูลทั้งหมดส่งให้จังหวัด และคำรับรองฯ หมายเลข 2 ภายใน 28 ก.พ. 2558 3.2 จังหวัด ติดตามตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วน และประมวลผลข้อมูล จปฐ. เป็นภาพรวมของจังหวัด แล้วสำเนาข้อมูลทั้งหมดส่งให้กรมฯ และคำรับรองฯ หมายเลข 3 ภายใน 15 มี.ค. 2558 4. รายงานผลความก้าวหน้าในการจัดเก็บ และการบันทึกข้อมูลฯ รายงานแบบ Online Real Time ได้ตลอดทุกวัน/เวลา ผ่านทางเว็บไซต์ สพจ.พิษณุโลก

11 งบประมาณที่กรมฯ สนับสนุนจังหวัด/อำเภอ
1) ค่าจัดเก็บข้อมูลฯ (เล่มละ 10 บาท) 2) ค่าบันทึกและประมวลผลข้อมูลฯ (เล่มละ 6 บาท) 3) ค่าประชุมชี้แจงผู้จัดเก็บฯ (1 คน : 20 คร.) 4) ฝึกอบรมผู้บันทึกข้อมูล จปฐ. (ตำบลละ 1 คน) 5) งบฯ ติดตามนิเทศ จปฐ. ระดับจังหวัด 6) งบฯ ติดตามนิเทศ จปฐ. ระดับอำเภอ 7) ประชุมคณะทำงานบริหารจัดเก็บฯระดับจังหวัด 8) นำเสนอผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตฯระดับตำบล 9) นำเสนอผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตฯระดับจังหวัด 10) ส่งเสริมประสิทธิภาพจัดเก็บและใช้ประโยชน์ของ อปท.

12 กิจกรรมเชิดชูเกียรติ
1) อำเภอคัดเลือกผู้จัดเก็บข้อมูลฯ ดีเด่น 1 คน 2) อำเภอคัดเลือกผู้บันทึกข้อมูลฯ ดีเด่น 1 คน 3) อำเภอคัดเลือก อปท. ดีเด่น 1 แห่ง 4) จังหวัดคัดเลือกผู้จัดเก็บข้อมูลฯ ดีเด่น 1-3 คน 5) จังหวัดคัดเลือกผู้บันทึกข้อมูลฯ ดีเด่น 1-3 คน 6) จังหวัดคัดเลือก อปท. ดีเด่น 1 แห่ง 7) มอบโล่รางวัล แก่ อปท.ดีเด่น ระดับจังหวัด 8) มอบประกาศเกียรติคุณแก่ผู้จัดเก็บฯ ดีเด่น ระดับจังหวัด

13 กลุ่มงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพิษณุโลก
สวัสดี กลุ่มงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพิษณุโลก


ดาวน์โหลด ppt การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google