งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเปิดเขตการค้าเสรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเปิดเขตการค้าเสรี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเปิดเขตการค้าเสรี
ผลกระทบด้านแรงงาน และมาตรการรองรับ การเปิดเขตการค้าเสรี สิริวัน ร่มฉัตรทอง เลขาธิการ สภาองค์การนายจ้างแห่งประเทศไทย

2 การเปิดเขตการค้าเสรี
ผลกระทบด้านแรงงาน และมาตรการรองรับ การเปิดเขตการค้าเสรี ประเด็นนำเสนอ สถานการณ์และแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของภาคอุตสาหกรรม แนวทางการปรับตัวของผู้ประกอบการ ผลกระทบต่อการจ้างงานในภาพรวม ปัญหาด้านแรงงานจากการเคลื่อนย้ายทุนและแรงงานและมาตรการรองรับ ความคิดเห็น&ข้อเสนอแนะในการคุ้มครองแรงงาน

3 สถานการณ์และแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของภาคอุตสาหกรรม
ตลาดเปิดกว้างขึ้น การส่งออกจะเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะสินค้าเกษตรและอาหารแปรรูป สิ่งทอและเสื้อผ้า เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ต้นทุนทางการเงินลดลง การนำเข้าวัตถุดิบถูกลง กระทบต่ออุตสาหกรรมทารก (Infant industries)ที่ยังไม่สามารถแข่งขันในเวทีโลกและต้องการให้รัฐบาลปกป้อง ภาค เศรษฐกิจ ให้ต้องเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน เพิ่มการลงทุนโดยตรงจากต่างชาติ ต้องตื่นตัวต่อมาตรการการกีดกันที่ไม่ใช่ภาษี NTB เรื่องของมาตรฐาน 108 การเรียกร้องจากผู้บริโภค เรื่องการรับผิดชอบต่อสังคม จีน อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ เพิ่มจากญี่ปุ่น สหรัฐฯ ที่ยังไม่เปิด FTA ภาคเศรษฐกิจรวมถึงภาคเกษตร

4 แนวทางการปรับตัวเพื่อความอยู่รอดของธุรกิจ
วางกลยุทธ์ แนวทางการปรับตัวเพื่อความอยู่รอดของธุรกิจ เชิงรุก(Proactive)== ไม่รอให้เกิดปัญหาก่อน เสาะหานวัตกรรมใหม่อย่างต่อเนื่อง มองหาช่องว่างทางการตลาด(NICHE MARKET) สร้างกลุ่มพันธมิตรทางธุรกิจ ทำเฉพาะสิ่งที่เชี่ยวชาญ ส่งงานทำนอกองค์กร จ้างเหมาช่วง-แก้ปัญหาการไม่มีงานทำสม่ำเสมอ ลดต้นทุนการจ้างบุคลากรถาวร สร้างมูลค่าเพิ่มในผลิตภัณฑ์ == สร้าง Brand ทำ สินค้าที่มีความพิเศษแตกต่างจากคู่แข่ง ทักษะที่หลากลายของบุคลากร == จ่ายค่าตอบแทนตามผลงาน

5 ในอดีต อนาคต แนวทางการดำเนินงานของภาคธุรกิจที่เปลี่ยนไป
ท้องถิ่นหรือระดับชาติ ระดับโลก ส่งตามจำนวนที่สั่ง แนวคิดJIT ส่งของครั้งละมากๆ ซื้อของราคาต่ำสุด ดึงผู้ขายสินค้ามาเป็นหุ้นส่วน การวิจัย&พัฒนาผลิตภัณฑ์ ใช้เวลานาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ปีต่อปี ตรงความต้องการเฉพาะ ของกลุ่มลูกค้า สินค้ารูปแบบเดียวกันหมด ให้เลือกงานตามความถนัด การผลิตที่ง่าย ไม่ซับซ้อน แบ่งงานตามความเชี่ยวชาญ เฉพาะด้าน

6 ลดคน จ้างเท่าที่จำเป็น
การปรับตัวของผู้ประกอบการ สิทธิและความ ถูกต้อง หลักการ ผลกำไรสูงสุด ลูกค้า การพัฒนา ที่ต่อเนื่อง คุณภาพ มาทีหลัง จ้างงานยืดหยุ่น มีกำหนด,ชั่วคราว เหมาช่วง จ้างงาน ถาวร แรงงาน ท้องถิ่น แรงงาน ที่หลากหลาย โครงสร้าง แบนราบ ยืดหยุ่น SMALL & SMART โครงสร้าง แบบราชการ REENGINEERING กระจายอำนาจ มอบอำนาจ การตัดสินใจใน ขอบเขต ที่กำหนด กระบวนการ บริหารแบบ เดิมๆ องค์กร บริษัทใหญ่ ลดคน จ้างเท่าที่จำเป็น แทนด้วยเทคโนฯ OUTSOURCE เดิม บริษัทใหญ่ - มั่นคงสูง ใหม่ ค่าตอบแทนตาม ระบบอาวุโส ผู้บริหาร ตัดสินใจ ทำธุรกิจ ครบวงจร ค่าตอบแทน ตามผลงาน คนที่มีอาชีพเกี่ยวกับการผลิตสินค้าที่ประเทศไม่มีความถนัดในการผลิตจะต้องตกงานไป อุตสาหกรรมที่ประโยชน์จากการค้าเสรีก็ไม่สามารถดูดซับแรงงานเหล่านี้เข้าไปทำงานได้ในทันที ต้องอาศัยเวลาพอสมควรในการพัฒนาทักษะฝีมือให้ตรงตามงาน แรงงานด้อยทักษะได้รับผลกระทบมากที่สุด ให้มีส่วนร่วมใน การตัดสินใจ ทำเฉพาะ สิ่งที่เชี่ยวชาญ Joint venture Networking

7 ผลกระทบการจ้างงานในภาพรวม
การจ้างงานไม่ถาวรมากขึ้น ชั่วโมงทำงานที่ยืดหยุ่น การปรับลดขนาดองค์กร ต้องการคนทำงานน้อยลง ทำงานจากบ้าน (เก่ง IT/ มีควมสามารถเฉพาะทาง) จ่ายค่าตอบแทนตามผลงาน วุฒิการศึกษาไม่สำคัญเท่าสมรรถนะในงาน การจ้างแรงงานที่หลากหลาย การจ้างงานชั่วคราวเฉพาะงาน การทำงานเมื่อมีเวลาว่าง การเป็นที่ปรึกษา คนงานตามสัญญาจ้างงาน และการจ้างที่ไเป็นการถาวร แนวคิดเรื่องการทำงานวันละ 8ชม. เริ่มลดหายไป ยุคข้อมูลข่าวสารทำให้แรงงานทักษะต่ำเป็นที่ต้องการน้อยลง แต่โอกาสของช่างเทคนิคผู้เชี่ยวชาญ มืออาชีพเพิ่มขึ้นมาก ถือได้ว่าเป็นยุคของแรงงานที่มีความรู้ เมื่อลูกค้ามุ่งเน้นคุณภาพ ระบบTQM จะถูกนำมาใช้ในทุกองค์กรนั่นหมายถึงการส่งถ่ายอำนาจการตัดสินใจไปให้พนักงานทุกระดับ และวิธีการทำงานที่แม่นตรงถูกต้องเพื่อคุณภาพ การปรับรื้อระบบ กระบวนการทำงานจำเป็นต้องทำเพื่อรักษาสถานภาพการแข่งขันขององค์กร การเข้ามาของเทคโนอาจนำไปสู่การเปลี่ยนระบบการทำงานอย่างถอนรากถอนโคนไม่ใช่ค่อยเป็นค่อยไป ความซื่อสัตย์ จงรักภักดีต่อองค์การตามแนวคิดเดิมครั้งมีความมั่นคงของการจ้างงานเริ่มเลือนไป นายจ้างต้องการการจ้างงานที่มีความยืดหยุ่นสูง ผูกมัดนายจ้างน้อยลง คนงานจะมีความซื่อสัตย์ต่อทีมที่ตนร่วมมงานมากกว่าต่อองค์การเพราะเขาสามารถเคลื่อนย้ายไปรับงานที่อื่นได้ ถ้ามีฝีมือเป็นที่ต้องการ Outsourcing / Subcontract/ รับงานทำที่บ้าน ให้ถือหุ้นของบริษัทด้วย

8 ผู้สำเร็จการศึกษาใหม่
ตลาดแรงงานในระบบ ผู้สูงอายุ ผู้สำเร็จการศึกษาใหม่ ภาคเกษตร/ แรงงานนอกระบบ แรงงานเด็ก การจ้างงานเยาวชน รับงานไปทำที่บ้าน EEOW แรงงานหญิง ผู้พิการ แรงงานข้ามชาติ

9 พนักงานที่สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้องค์การ
พนักงานที่ –เก่งคน, เก่งสื่อสาร, เก่งงาน IT พนักงานที่มี-ความสามารถเฉพาะ VS ทักษะหลากหลาย พนักงานที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ vs ทำงานเป็นทีม การจ้างงานชั่วคราว ชั่วโมงทำงานที่ยืดหยุ่น มีความสามารถเชิงการบริหาร/จัดการ มีความใฝ่รู้พัฒนาเพิ่มพูนทักษะตนเองให้เหมาะกับงาน

10 วัฒนธรรมองค์การ ที่คาดว่า จะต้องเปลี่ยนไป

11 การปรับตัวของคนทำงาน
การพัฒนาตนอย่างต่อเนื่อง หากไม่เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน .....ต้องมีทักษะที่หลากหลาย การมุ่งเน้นการทำสิ่งที่ตนมี ความถนัดเป็นพิเศษ การผันตนเองเป็นผู้ประกอบการ

12 สภาพปัญหาที่เกิดจาก การเคลื่อนย้ายการลงทุนและแรงงาน
สมองไหล การเคลื่อนย้ายของแรงงาน จากประเทศที่มีโอกาสทางเศรษฐกิจต่ำไปประเทศที่โอกาสทางเศรษฐกิจสูงกว่า การเคลื่อนย้ายของเงิน ทุนแค่ปลายนิ้วสัมผัส ย้ายฐานการผลิต ไปยังแหล่งที่จูงใจและ ให้ประโยชน์สูงสุด

13 เก่ง ดี มีความสุข ความคิดเห็น & ข้อเสนอแนะ ในการคุ้มครองแรงงาน
เพื่อรองรับ การเปิดการค้าเสรี ความคิดเห็น & ข้อเสนอแนะ เก่ง ดี มีความสุข

14 ส่งเสริมแนวพระราชดำริ “เศรษฐกิจพอเพียง” ให้เป็นรากฐานของสังคม
งานที่มีคุณค่า DECENT WORK การแรงงานสัมพันธ์ที่ดี ของทุกภาคส่วน การหารือร่วม โครงสร้างพื้นฐานสาธารณูปโภค เทคโน ฯ มาตรฐานแรงงานสากล สิทธิแรงงาน แผนพัฒนาการศึกษาที่สอดคล้องกับตลาดแรงงาน แผนพัฒนาศักยภาพ ทักษะฝีมือของแรงงานไทยทุกระดับอย่างต่อเนื่อง ระบบประกันและการคุ้มครองทางสังคม ส่งเสริม R&D มีเทคโนฯของตนเอง สร้างแบรนด์ ถ้าเปรียบชาติเป็นบ้านของทุกคน บ้านไทยหลังนี้ของเราจะร้อนหากขาดหลังคา แต่บ้านจะแข็งแรงถ้ามีฐานรากที่แน่นหนา แจ่ถึงฐานรากขะแน่นหนาแต่หากขาดหลังคาบ้านหลังนี้ขะร้อน เสาหลักแต่ละเสาจะช่วยค้ำจุนบ้านนี้ ส่งเสริมแนวพระราชดำริ “เศรษฐกิจพอเพียง” ให้เป็นรากฐานของสังคม

15 การคุ้มครองแรงงาน ในอนาคตที่มีการแข่งขันสูง
สร้างความตระหนัก มาตรฐานการจ้างงาน, ความมั่นคงในงาน มาตรการเฝ้าระวัง & เตือนภัยคุกคามต่อการมีงานทำ กระแสโลกภิวัตน์กระบวนการทางการค้าที่ซับซ้อน การเปิดการค้าเสรี ผลกระทบจากเศรษฐกิจ“โลก”ต่อเศรษฐกิจ “เรา” การห้ามใช้แรงงานอย่างไม่เป็นธรรม ระบบแรงงานสัมพันธ์ที่ดี การพัฒนาทักษะยกระดับ /ความสามารถ นโยบายเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์มหภาค, ตลาดแรงงาน และ นโยบายการจ้างงาน นโยบายการพัฒนาสมรรถนะแรงงาน การเลื่อนตำแหน่งให้กับหญิงและชายที่สามารถทำงานบรรลุอย่างมีประสิทธิภาพเท่าเทียมกัน โดยยึดถือความเป็นอิสระ เท่าเทียมความมั่นคง และ ให้ความสำคัญกับเรื่องศักดิ์ศรีที่ของความเป็นมนุษย์

16 สำรวจข้อมูลด้านแรงงาน Labour forces Participation rate
ฐานข้อมูล /ประเมิน ศักยภาพของแรงงานไทย ณ ปัจจุบัน ที่แข่งขันในตลาดโลกได้ การเสริมสร้างศักยภาพและการพัฒนาทักษะแรงงานให้สอดรับความต้องการธุรกิจ การบริหารจัดการแรงงานค่าจ้างแรงงาน สวัสดิการ และการคุ้มครองแรงงาน วัตถุประสงค์ มิติด้านสังคม Dimension Focussed มิติด้านเศรษฐกิจ งานที่มีคุณค่า นโยบายการจ้างงานแบบเป็นมิตร โอกาสในการอบรมและพัฒนา แรงงานสัมพันธ์ที่ดี สวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน อาชีวอนามัยและความปลอดภัย โอกาสที่เท่าเทียมกันในการทำงาน นโยบายตลาดแรงงานตามภาคอุตสาหกรรม การเสริมสร้างศักยภาพให้ไตรภาคี เชื่อมโยงการศึกษากับตลาดแรงงาน ความต้องการแรงงาน D & S ปชส. แนวโน้มการจ้างงานในอนาคต โครงข่ายการคุ้มครองทางสังคม กลุ่มเป้าหมาย เศรษฐกิจในและนอกระบบ แรงงานเด็ก เยาวชน หญิง ผู้พิการ ผู้สูงอายุ แรงงานข้ามชาติ ทำงานไม่เต็มเวลา เหมาช่วง ผู้ว่างงาน

17 บทบาทที่เท่าเทียมกัน
ของชาย-หญิง รับงานไปทำที่บ้าน HOME WORKERS HIV/AIDS อาชีวอนามัย OSH แรงงานข้ามชาติ MIGRANT โครงข่ายการคุ้มครอง ทางสังคม SOCIAL SECURITY SAFETY NET คนพิการ PwDs แรงงานเด็ก CHILD LABOUR ผู้สูงอายุ ADULT/RETIREE

18 สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน
มรท มาตรฐานแรงงานไทยว่าด้วย ความรับผิดชอบทางสังคมของธุรกิจไทย ข้อกำหนดทั่วไปเป็นลายลักษณ์อักษร มีระบบการจัดการ ไม่ใช้แรงงานบังคับ ค่าตอบแทนการทำงาน ชั่วโมงการทำงาน ไม่เลือกปฏิบัติ วินัย/การลงโทษ ไม่มีการใช้แรงงานเด็ก การใช้แรงงานหญิง เสรีภาพในการสมาคมและการร่วมเจรจาต่อรอง ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน สวัสดิการห้องน้ำ น้ำดื่ม ที่รับประทานอาหาร

19 ความปลอดภัยในการทำงาน
การเตรียมความพร้อม ด้านทักษะฝีมือ เพื่อการแข่งขัน ในเวทีโลก การทำฐานข้อมูล ทักษะแรงงานไทย ประกันสังคม SOCIAL SAFETY NET ทักษะฝีมือของแรงงาน จำแนกตามระดับทักษะ รายได้ รายอุตสาหกรรม การทำฐานข้อมูล แรงงานไทย ในปัจจุบัน อาชีวอนามัยและ ความปลอดภัยในการทำงาน ข้อมูลจำนวนแรงงาน การเข้าสู่และการออก จากตลาดแรงงาน แรงงานสัมพันธ์ สวัสดิการ สวัสดิภาพ

20 ความอยู่รอดขององค์การ
หลักการที่สำคัญ การหารือร่วม นโยบายแห่งรัฐ ความมั่นคงทาง เศรษฐกิจและสังคม เพื่อตนเอง เพื่อสังคมโดยรวม รัฐบาล & กระทรวง แรงงาน ผู้มีส่วนได้เสีย ในสังคม องค์การนายจ้าง องค์การลูกจ้าง ตอบสนองต่อตลาด การแข่งขัน ความอยู่รอดขององค์การ Everyone is a jigsaw piece they need to come together to make a complete picture, each has their different key agenda การมีงานทำ คุณภาพชีวิต การทำงาน 20


ดาวน์โหลด ppt การเปิดเขตการค้าเสรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google