งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
ภาคผนวก ก การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme) เอนไซม์ คือ น้ำหมักชีวภาพชนิดหนึ่ง ได้จากการหมักผักและผลไม้ผสมกับน้ำตาลทรายแดง มีประโยชน์ในการใช้ดับกลิ่นเหม็นจากคอกเลี้ยงสัตว์ ห้องส้วม กองขยะ

2 วิธีทำ หัวเชื้อ ผักหรือผลไม้ 3 ส่วน น้ำตาลทรายแดง 1 ส่วน
วิธีทำ หัวเชื้อ ผักหรือผลไม้ 3 ส่วน น้ำตาลทรายแดง 1 ส่วน น้ำสะอาด 10 ส่วน หมักในภาชนะปิดสนิท นาน 3 เดือน จะได้หัวเชื้อเอ็นไซม์เข้มข้น แยกเอากากออก เอาแต่ส่วนที่เป็นน้ำไปหมักต่อ

3 วิธีการต่อขยายหัวเชื้อ
หัวเชื้อเข้มข้น 1 ส่วน น้ำตาลทรายแดง 1 ส่วน น้ำสะอาด 10 ส่วน หมักต่ออีก 3 เดือน สามารถนำไปใช้ได้ หรือจะขยายเชื้อด้วยวิธีนี้อีก ครั้ง จะได้เอนไซม์ที่มีประสิทธิภาพดีขึ้น

4 การนำไปใช้ ใช้ฉีดพ่นหรือราดพื้นคอกสุกร อัตราการใช้ประมาณ 1 ลิตร/ตรม.
ผสมเอนไซม์กับน้ำสะอาดในอัตรา 1:100 ใช้ฉีดพ่นหรือราดพื้นคอกสุกร อัตราการใช้ประมาณ 1 ลิตร/ตรม. ผสมน้ำให้สุกรกิน วิธีนี้ต้องให้น้ำแบบเติมทุกวัน เพราะเอนไซม์จะเสียถ้าสุกรกินไม่หมดในวันเดียว และเอนไซม์ที่ใช้ต้องผ่านการหมักและขยายเชื้อนานกว่า 1 ปี (ขยายเชื้อมากกว่า 3 ครั้ง)

5 ต้นทุนในการใช้เอนไซม์
รายละเอียด จำนวน ขนาดคอกสุกร (ขนาดปกติ) จำนวนสุกรที่เลี้ยง ระยะเวลาการเลี้ยงสุกรขุน 1 รอบ อัตราการใช้เอนไซม์ต่อน้ำสะอาด ปริมาณการใช้ 5 x 5 เมตร ตัว/คอก เดือน 1:100 1 ลิตร/ตรม. วันละ 1 ครั้ง

6 รายละเอียด จำนวน ค่าแรงงานในการดำเนินการฉีดพ่น ระยะเวลาที่ใช้ในการฉีดพ่น ต่อ 1 คอก ต้นทุนการใช้เอนไซม์ กรณีผลิตเอง กรณีซื้อหัวเชื้อ (80 บาท/ลิตร) บาท/ชั่วโมง นาที 15 บาท/ตัว-สุกรขุน บาท/ตัว-สุกรขุน

7 ระบบกำจัดกลิ่นแบบชีวภาพ ชนิดไบโอฟิลเตอร์ (Biofilter)
ภาคผนวก ข ระบบกำจัดกลิ่นแบบชีวภาพ ชนิดไบโอฟิลเตอร์ (Biofilter) ระบบกำจัดกลิ่นแบบชีวภาพ ชนิด ไบโอฟิลเตอร์ (Biofilter) เป็นระบบที่เหมาะสำหรับใช้ลดกลิ่นจากจุดกำเนิดที่มีการปล่อยออกเป็นจุดเดียว เช่น บ่อรวบรวมน้ำเสีย ท่อระบายก๊าซจากระบบบำบัดน้ำเสียแบบพลาสติกคลุมบ่อ (Covered Lagoon) ระบบบำบัดน้ำเสียแบบบ่อโดมคงที่ (Fixed Dome) ระบบบำบัดน้ำเสียแบบบ่อหมักรางและบ่อยูเอเอสบี (MC-UASB)

8 วัสดุอุปกรณ์ ท่อ PVC ขนาด 4 นิ้ว เจาะรูรอบปลายท่อยาว 10 ซม.
ถังพลาสติก ขนาด ลิตร (เส้นผ่าศูนย์กลาง 60 เซนติเมตร) ท่อ PVC ขนาด 4 นิ้ว เจาะรูรอบปลายท่อยาว 10 ซม. ตะแกรงแตนเลส หรือ ตาข่ายพลาสติก และกรวด สำหรับรองรับสารกรอง ดินเกษตรหรือปุ๋ยหมัก แกลบเผา และแกลบดิบ เครื่องเป่าอากาศ ขนาด แรงม้า หรือ ลิตร/นาที

9 ขั้นตอนการทำไบโอฟิลเตอร์
นำดินเกษตร (หรือปุ๋ยหมัก) ผสมกับแกลบเผา และแกลบดิบ ในอัตราส่วน 8:4:1 โดยน้ำหนัก พรมน้ำให้มีความชื้นประมาณร้อยละ หมักไว้ 2 สัปดาห์ โดยต้อง พรมน้ำทุกวัน ประกอบตะแกรงสแตนเลส และท่อ PVC เข้ากับถังพลาสติก โดยใช้อิฐ หรือวัสดุอื่น ๆ รองรับตะแกรงสแตนเลส ให้มีความสูงจากก้นถัง 15 ซม. (แต่ต้องไม่ขัดขวางการไหลของอากาศ)

10 ใส่กรวดลงในถังพลาสติกให้สูงประมาณ 5 เซนติเมตร เพื่อรองรับสาร
กรอง ไม่ให้หลุดร่วงจากตะแกรง นำสารกรองที่หมักแล้ว บรรจุในถังพลาสติกให้สูง ประมาณ 60 เซนติเมตร ต่อท่อรวมกลิ่นจากแหล่งกำเนิดผ่านเครื่องเป่าอากาศเข้ากับปลายท่อ PVC ด้านบน

11


ดาวน์โหลด ppt การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google