งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ยางพารา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ยางพารา."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ยางพารา

2 ปริมาณการผลิตยางพาราของโลก

3 ปริมาณการส่งออกยางพาราของโลก

4 ปริมาณการส่งออกยางพาราของไทย

5 การผลิตและการใช้ยางพาราของกลุ่มประเทศอาเซียน+3
เนื้อที่ยืนต้น ผลผลิต การใช้ นำเข้า ส่งออก 55 56 ไทย 18.5 18.7 3.78 4.01 0.50 0.52 0.001 3.12 3.48 กัมพูชา 1.75 1.71 0.06 0.08 0.09 อินโดนีเซีย 21.78 21.83 3.04 3.18 0.55 0.60 0.03 0.02 2.53 2.72 ฟิลิปปินส์ 1.12 1.19 0.11 0.07 0.04 เวียดนาม 5.69 5.75 0.86 0.95 0.15 0.30 0.27 1.02 1.07 มาเลเซีย 6.51 6.67 0.92 0.90 0.46 0.45 0.87 1.34 จีน 6.94 7.29 0.79 0.85 3.83 4.15 3.37 3.85 0.01

6 ปัญหาการส่งเสริมยางพาราในพื้นที่
เกษตรกรมีความเชื่อมั่นในพันธุ์ยางดั่งเดิม คือ RRIM600 เมื่อไปส่งเสริมทำให้ไม่ยอมรับพันธ์ใหม่ โรคยางพารา : รากขาว เส้นดำ ไฟทอปเทอร่า ขาดการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า (ยางก้อนถ้วย/เศษยาง/น้ำยางสด) การปลูกพืชเชิงเดียว (สวนเดี่ยว) การกรีดยางต้นเล็ก/กรีดถี่/กรีดไม่ถูกต้อง ขาดแคลนแรงงาน ค่าจ้างแรงงานสูง แรงงานไม่มีฝีมือ ขาดการจัดการสวนที่ถูกหลักวิชาการ เกษตรกรปลูกยางในพื้นที่ไม่เหมาะสม (ปลูกยางในพื้นที่นา/ป่าหรือพื้นที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์) ปัจจัยการผลิตราคาสูง (ปุ๋ย, สารเคมี) ปัญหาทางด้านสังคม เช่น การลักขโมยผลผลิต ต้นพันธุ์ด้อยคุณภาพ

7 แนวโน้มการเพิ่ม/ลดพื้นที่ปลูก
ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แนวโน้มของพื้นที่ปลูกยางพาราจะเพิ่มขึ้นอย่างช้า ๆ เนื่องจาก การผันแปรของราคาผลผลิต และ ราคาที่ดินมีมูลค่าสูงขึ้น ภาคตะวันออกและภาคตะวันตก แนวโน้มของพื้นที่ปลูกยางพาราจะมีอยู่จำกัด เนื่องจากพื้นที่ของภาคมีอยู่จำกัด ภาคใต้ แนวโน้มของพื้นที่ปลูกยางพาราจะลดลง เนื่องจากเกษตรกรเปลี่ยนแปลงไปปลูกปาล์มน้ำมันและไม้ผล

8 แนวโน้มการเพิ่ม/ลดพื้นที่ปลูก

9 ต้นทุนการผลิตยางพารา/ไร่
อีสาน เหนือ ใต้ ตะวันออก ตะวันตก ต้นทุนการผลิตยางพารา/ไร่ (แรกปลูก – ๗ ปี) ๑. ค่าพันธุ์ (๘๐ ต้น) ๔,๐๐๐ (๕๐บ./ต้น) ๔,๘๐๐ (๖๐บ./ต้น) ๓,๒๐๐ (๔๐บ./ต้น) ๒,๔๐๐ (๓๐บ./ต้น) ๓. ค่าปรับพื้นที่ (ไถบุกเบิก) ๒,๕๐๐ ๕,๐๐๐ ๔. ค่าปุ๋ย อัตรา ๒,๔๐๐ บ./ปี x ๒ ปี ๑๖,๕๐๐ ๕. แรงงาน (๓,๐๐๐บ./ปี x ๗) ๒,๑๐๐ ๖. สารเคมีและอื่น ๆ ๓,๕๐๐ รวม ๑-๖ ๒๘,๖๐๐ ๓๑,๙๐๐ ๓๐,๓๐๐ ๒๗,๐๐๐ ต้นทุนการผลิตยางพารา/ไร่ (หลังเปิดกรีด) ๗. ค่าปุ๋ย ๓,๗๐๐ ๘. ค่ายารักษาโรค/กำจัดวัชพืช/แนวกันไฟ ๑๕๐ ๙. ค่าแรงงาน ๘,๐๐๐ ๑๐.อื่น ๆ –อุปกรณ์เปิดกรีด ๑,๐๐๐ รวม ๗-๑๐ ๑๒,๘๕๐ รวม ๑-๑๐ ๔๑,๔๕๐ ๔๔,๗๕๐ ๔๓,๑๕๐ ๓๙,๘๕๐

10 แนวทางการส่งเสริม -เชิงรุก
ต้นน้ำ การลดต้นทุนการผลิต ด้านแรงงาน พัฒนาศักยภาพฝีมือการกรีดยางของแรงงานกรีดยาง เพื่อให้ได้ผลผลิตมากขึ้น และหน้ากรีดไม่เสียหาย ด้านปัจจัยการผลิต ร่วมกลุ่ม/เครือข่าย ผลิตปุ๋ยใช้เองตามค่าวิเคราะห์ดิน เพื่อลดการสูญเสียปุ๋ยและได้ปุ๋ยราคาถูกกว่าท้องตลาด เสริมรายได้แก่ชาวสวนยาง ส่งเสริมการปลูกพืชแซมในสวนยาง เช่น ถั่วลิสง พืชตระกูลถั่ว (ไซโตซิม่าหรือฮามาต้า) กล้วย สับปะรด ข้าวไร่ ฯลฯ ส่งเสริมการปลูกพืชร่วมในสวนยาง เช่น หน้าวัว ผักเหรียง ฯลฯ ส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์ปีกในสวนยาง เช่น ไก่ เป็ด กลางน้ำ ส่งเสริมการรวมกลุ่มของชาวสวนยางเพื่อการแปรรูปผลผลิต เพิ่มความหลากหลายของรูปแบบการจำหน่ายผลผลิต เช่น น้ำยางสด น้ำยางข้น ยางก้อนถ้วย ยางแผ่น(ดิบ,รมควัน) ยางเครพ ยางแท่ง รวมกลุ่มสร้างเครือข่ายผู้ผลิตยางอย่างยั่งยืน ผลิต/แปรรูปตามความต้องการของตลาด การตลาด แหล่งรับซื้อผลผลิตในพื้นที่ จัดตั้งตลาดกลางยางพารา ปลายน้ำ กำหนดนโยบายระดับประเทศ ส่งเสริมอุตสาหกรรมยางในประเทศให้มีการใช้ยางมากขึ้น ส่งออกวัตถุดิบให้น้อยลง ส่งเสริมการใช้ยางธรรมชาติเป็นส่วนผสมในการสร้างถนน Brand สร้างอัตลักษณ์ของยางประเทศไทย-ยางไทยคุณภาพดี

11 แนวทางการส่งเสริม -เชิงรับ
เกษตรกรบางรายปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกยางเดิม เพื่อปลูกพืชเศรษฐกิจอื่น เช่น ปาล์มน้ำมัน ไม้ผล ปรับปรุงพันธุ์ยางพาราที่มีความต้านทานโรคและให้ผลผลิตสูง ภาครัฐติดตามความเคลื่อนไหวสถานการณ์ยางพาราโลก เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ข้อมูลสถานการณ์ยางพาราให้เกษตรกรรับรู้ข้อมูลข่าวสารอย่างทั่วถึง


ดาวน์โหลด ppt ยางพารา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google