งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ชื่อเรื่อง การพัฒนาการออกเสียงพยัญชนะภาษาอังกฤษที่มักเป็นปัญหาสำหรับนักเรียน/นักศึกษาไทยโดยใช้คู่เทียบเสียงและทังทวิสเตอร์ตามหลักการทางสรีรสัทศาสตร์ ผู้วิจัย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ชื่อเรื่อง การพัฒนาการออกเสียงพยัญชนะภาษาอังกฤษที่มักเป็นปัญหาสำหรับนักเรียน/นักศึกษาไทยโดยใช้คู่เทียบเสียงและทังทวิสเตอร์ตามหลักการทางสรีรสัทศาสตร์ ผู้วิจัย."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 ชื่อเรื่อง การพัฒนาการออกเสียงพยัญชนะภาษาอังกฤษที่มักเป็นปัญหาสำหรับนักเรียน/นักศึกษาไทยโดยใช้คู่เทียบเสียงและทังทวิสเตอร์ตามหลักการทางสรีรสัทศาสตร์ ผู้วิจัย นายกวีกานต์ กลั่นมา

3 ปัญหาการวิจัย การออกเสียงเป็นสิ่งที่จำเป็นที่จะต้องให้ความสำคัญ เพราะถ้าผู้เรียนออกเสียงไม่ถูกต้องตั้งแต่เริ่มแรกแล้วก็ยากที่จะแก้ไขให้ถูกต้องได้ ดังนั้น ในการเรียนรู้ภาษาใดภาษาหนึ่ง ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้การออกเสียงในภาษาที่เรียนได้อย่างถูกต้องก่อนเป็นอันดับแรก คำภาษาอังกฤษถ้าออกเสียงไม่ถูกต้องแล้ว เจ้าของภาษาจะไม่สามารถฟังเข้าใจหรือเข้าใจคลาดเคลื่อนได้

4 ปัญหาการวิจัย ปัญหาที่พบสำหรับนักเรียน/นักศึกษาไทย นั่นคือ อาจนำเสียงในภาษาไทยที่ใกล้เคียงมาแทน เช่น van /væn/ ออกเสียงเป็น *[w æn] (นำเสียง /w/ แทนเสียง /v/ในเสียง /væn/ ) That /ðæt/ ออกสียงเป็น *[dæ ] (นำเสียง /d/ แทนเสียง /ð/ ในเสียง /ðæt/) เนื่องจาก /ð/ เป็นเสียงก้อง ประเภท เสียงเสียดแทรกในตำแหน่งเสียงระหว่างฟัน (Voiced Interdental Fricative) ที่ไม่มีในระบบหน่วยเสียงพยัญชนะภาษาไทย

5 ปัญหาการวิจัย ดังนั้นผู้วิจัยเลือกพัฒนาการออกเสียงพยัญชนะภาษาอังกฤษที่มักเป็นปัญหาสำหรับนักศึกษาไทยระดับ ปวส. 1 ได้แก่ หน่วยเสียง/ f, v, θ, s, z, ʃ, tʃ, ð, ʤ, r. l / ซึ่งพบในหนังสือแบบเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 1 (ทักษะพัฒนาเพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษ 1)

6 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาแบบฝึกการออกเสียงพยัญชนะภาษาอังกฤษที่มักเป็นปัญหาสำหรับนักศึกษาไทยโดยใช้คู่เทียบเสียงและทังทวิสเตอร์ตามหลักการทางสรีรสัทศาสตร์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคนิคบริหารธุรกิจกรุงเทพ ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 70/70

7 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การออกเสียงพยัญชนะภาษาอังกฤษที่มักเป็นปัญหาสำหรับนักศึกษาไทยโดยใช้คู่เทียบเสียงและทังทวิสเตอร์ตามหลักการทางสรีรสัทศาสตร์ก่อนและหลังการใช้แบบฝึก

8 สรุปผลการวิจัย 1. จากการวิจัยพบว่าคะแนนทดสอบก่อน เรียนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ส่วนคะแนน ทดสอบหลังเรียน มีค่าเท่ากับ ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 70/70 นั่นคือ ออกเสียงสูงกว่าร้อยละ 2.5 ขึ้นไป ถือว่า แบบฝึกการอ่านออกเสียงมีประสิทธิภาพดี มาก

9 2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การออกเสียงพยัญชนะ ภาษาอังกฤษที่มักเป็นปัญหาสำหรับนักศึกษาไทยโดยใช้คู่เทียบ เสียงและทังทวิสเตอร์ตามหลักการทางสรีรสัทศาสตร์ก่อนและ หลังการใช้แบบฝึก พบว่านักศึกษาสามารถออกเสียงได้ถูกต้อง มากกว่าก่อนการฝึก

10 ตารางประกอบ V 80 16 50 10 ก่อนเรียน (%) หลังเรียน (%)
หน่วยเสียง ก่อนเรียน (%) หลังเรียน (%) พัฒนาการการออกเสียง ร้อยละ จำนวนคน f ต้นคำ 75 15 95 19 20 4 ท้ายคำ 70 14 V 80 16 50 10 θ 85 17 s 100 5 1 90 18 2 z ʃ 35 7 40 8 45 9 ð ʤ 60 12 r l

11 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt ชื่อเรื่อง การพัฒนาการออกเสียงพยัญชนะภาษาอังกฤษที่มักเป็นปัญหาสำหรับนักเรียน/นักศึกษาไทยโดยใช้คู่เทียบเสียงและทังทวิสเตอร์ตามหลักการทางสรีรสัทศาสตร์ ผู้วิจัย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google