งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สัมมนากลุ่ม 3 คำถามข้อที่ 2 และ 5 เขต 7, 8, 9 21/8/14.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สัมมนากลุ่ม 3 คำถามข้อที่ 2 และ 5 เขต 7, 8, 9 21/8/14."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สัมมนากลุ่ม 3 คำถามข้อที่ 2 และ 5 เขต 7, 8, 9 21/8/14

2 คำถามข้อที่ 2 กรมปศุสัตว์มีนโยบายในการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์รายชนิดสัตว์ ( แพะ ) เพื่อขยายตลาด ด้านการบริโภค ท่านมีแนวทางการส่งเสริม / ขับเคลื่อนการบริโภคผลิตภัณฑ์จากเนื้อแพะ อย่างไร

3 คำตอบข้อที่ 2. แนวทางการส่งเสริมการบริโภคเนื้อ แพะ 1. จัดตั้งโรงฆ่าชุมชน เพื่อเพิ่ม supply เนื้อแพะสู่ ตลาด ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ - อปท. - สนง. ปศจ. ( กลุ่มพัฒนามาตรฐานสินค้า ปศุสัตว์ ) - กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงแพะ

4 คำตอบข้อที่ 2. แนวทางการส่งเสริมการบริโภคเนื้อ แพะ 2. ประชาสัมพันธ์การบริโภคเนื้อแพะ เพื่อเพิ่ม demand ได้แก่ จัดนิทรรศการในสถานศึกษา ศูนย์กลางชุมชน เพื่อปรับทัศนคติไปในทิศทาง ที่ดีขึ้นต่อการบริโภคเนื้อแพะ การจัดการ แข่งขันการทำเมนูแพะ รวมถึงการแปรรูป ผลิตภัณฑ์จากแพะ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ - กรมปศุสัตว์ - สนง. ปศจ. - ผู้นำชุมชน - สถานศึกษา ศูนย์กลางชุมชน

5 คำตอบข้อที่ 2. แนวทางการส่งเสริมการบริโภคเนื้อ แพะ 3. ส่งเสริมการเลี้ยงแพะ แบบลดต้นทุน เพื่อให้ ราคาต่ำลง ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงได้ ผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง ได้แก่ - สนง. ปศจ. - สนง. ปศข. - ศวป.

6 คำตอบข้อที่ 2. แนวทางการส่งเสริมการบริโภคเนื้อ แพะ 4. จัดการอบรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากแพะ ผู้ มีส่วนเกี่ยวข้องได้แก่ - กรมปศุสัตว์ - กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มแม่บ้าน

7 คำตอบข้อที่ 2. แนวทางการขับเคลื่อนการบริโภค เนื้อแพะ 1. ขยายตลาดการจำหน่ายเนื้อแพะและผลิตภัณฑ์ ทั้งภายใน และภายนอกชุมชน ในรูปแบบของ การจำหน่ายเนื้อแพะ ( เขียง ) และ ร้านค้า ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากแพะ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ - อปท. - จังหวัด

8 คำตอบข้อที่ 2. แนวทางการขับเคลื่อนการบริโภค เนื้อแพะ 2. ทำผลิตภัณฑ์ สำเร็จรูป และกึ่งสำเร็จรูป ( แปรรูปผลิตภัณฑ์ เพิ่มมูลค่าเพื่อเพิ่มโอกาสทาง การตลาด ) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ - สถาบันการศึกษา - กลุ่มวิสาหกิจชุมชน - สสส.

9 คำถามข้อที่ 5. จังหวัดของท่านมีแนวทางในการจัดทำ ยุทธศาสตร์ขยายโอกาสการค้าสินค้าปศุสัตว์ ภายใต้ AEC อย่างไร และมีแนวทางการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติอย่างไร

10 คำตอบข้อที่ 5. แนวทางในการจัดทำยุทธศาสตร์ ขยายโอกาสการค้า สินค้าปศุสัตว์ ภายใต้ AEC 1. ผลิตสินค้าปศุสัตว์ภายใต้มาตรฐานสากล ( GMP, GAP, ฮาลาล ) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ - กรมปศุสัตว์

11 คำตอบข้อที่ 5. แนวทางในการจัดทำยุทธศาสตร์ ขยายโอกาสการค้า สินค้าปศุสัตว์ ภายใต้ AEC 2. สร้างมูลค่าเพิ่มแก่สินค้าผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ ผู้ มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ - สถาบันการศึกษา - สสส.

12 คำตอบข้อที่ 5. แนวทางในการจัดทำยุทธศาสตร์ ขยายโอกาสการค้า สินค้าปศุสัตว์ ภายใต้ AEC 3. จัดกิจกรรม Road Show เพื่อเผยแพร่สินค้า ผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ให้เป็นที่รู้จัก ผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง ได้แก่ - กรมปศุสัตว์ - กรมส่งเสริมการส่งออก

13 คำตอบข้อที่ 5. แนวทางในการจัดทำยุทธศาสตร์ ขยายโอกาสการค้า สินค้าปศุสัตว์ ภายใต้ AEC 4. ส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยงเชิงเกษตรอย่าง ครบวงจร ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ - กรมปศุสัตว์ - การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

14 คำตอบข้อที่ 5. แนวทางในการจัดทำยุทธศาสตร์ ขยายโอกาสการค้า สินค้าปศุสัตว์ ภายใต้ AEC 5. วางแผนการดำเนินการ โครงการ หนึ่งศูนย์ฯ หนึ่งผลิตภัณฑ์ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ ศวป. ทุกแห่ง

15 คำตอบข้อที่ 5. แนวทางการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่ การปฏิบัติขยายโอกาสการค้าสินค้า ปศุสัตว์ ภายใต้ AEC 1. จัดทำโครงการ และงบประมาณ 2. กรมปศุสัตว์ทำ MOU กับสถานศึกษา 3. กรมปศุสัตว์ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการจัดแสดงสินค้า 4. ททท. ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว และกรมปศุ สัตว์ทำ MOU กับเกษตรกรเจ้าของฟาร์ม หรือ ผลิตภัณฑ์ 5. ศวป. จัดทำผลิตภัณฑ์ประจำศูนย์ฯ

16


ดาวน์โหลด ppt สัมมนากลุ่ม 3 คำถามข้อที่ 2 และ 5 เขต 7, 8, 9 21/8/14.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google