งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานสารบรรณ การจัดทำหนังสือราชการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "งานสารบรรณ การจัดทำหนังสือราชการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 งานสารบรรณ การจัดทำหนังสือราชการ
โดย นายมูหามะอัสฮัร ตะโละดิง เจ้าหน้าที่ธุรการ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

2 ชนิดของหนังสือ หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการได้แก่
หนังสือที่มีไปมาระหว่างส่วนราชการ หนังสือที่ส่วนราชการมีไปถึงหน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือที่มีไปถึงบุคคลภายนอก หนังสือที่หน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการหรือบุคคลภายนอกมีมาถึงส่วนราชการ เอกสารที่ทางราชการจัดทำขึ้นเพื่อเป็นหลักฐานในราชการ เอกสารที่ทางราชการจัดทำขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ หรือ ข้อบังคับ ข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือที่ได้รับจากระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์

3 หนังสือราชการมี 6 ชนิด หนังสือภายนอก หนังสือภายใน หนังสือประทับตรา
หนังสือสั่งการ หนังสือประชาสัมพันธ์ หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้น หรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ

4 ตัวอย่างหนังสือภายนอก

5 ตัวอย่างหนังสือภายใน

6 ตัวอย่างหนังสือประทับตรา

7 ตัวอย่าง หนังสือคำสั่ง

8 หนังสือประชาสัมพันธ์ตัวอย่างหนังสือแถลงการณ์

9 หนังสือประชาสัมพันธ์ ตัวอย่างประกาศ
หนังสือประชาสัมพันธ์ ตัวอย่างประกาศ

10 หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ ตัวอย่างหนังสือรับรอง

11 หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ ตัวอย่าง รายงานการประชุม และ วาระการประชุม

12 หลักในการร่างหนังสือราชการ
ขั้นตอนการดำเนินการ 1. ศึกษาและจดจำรูปแบบของหนังสือราชการ 2. เข้าใจโครงสร้างของหนังสือราชการแต่ละชนิด 3. จับประเด็นเรื่องที่จะร่าง 4. บอกความประสงค์ให้ชัดเจน 5. กรณีมีความต้องการหลายข้อให้แยกเป็นข้อ ๆ 6. กรณีจำเป็นจะต้องอ้างตัวบทกฎหมายหรือตัวอย่างให้ระบุให้ ชัดเจน 7. ใช้ถ้อยคำกะทัดรัด ได้ใจความ

13 หลักในการร่างหนังสือราชการ (ต่อ)
8. ใช้ถ้อยคำเป็นภาษาราชการ 9. การใช้ถ้อยคำปฏิเสธ ให้ใช้ภาษาที่นุ่มนวล รื่นหู 10. หลีกเลี่ยงถ้อยคำที่เป็นคำซ้ำซ้อน คำฟุ่มเฟือย 11. การใช้อักขระวิธี ตัวสะกด ตัวการันต์ และวรรค ตอนให้ถูกต้อง 12. ใช้คำราชาศัพท์ให้ถูกต้อง 13. ระมัดระวังในการใช้คำที่มีความหมายใกล้เคียง

14 หลักในการร่างหนังสือราชการ (ต่อ)
14. หลีกเลี่ยงการใช้คำที่เป็นภาษาต่างประเทศให้มากที่สุด 15. ไม่ใช้คำที่ใช้ในโฆษณา 16. อ่านและตรวจทานความถูกต้องอีกครั้งหนึ่ง

15 โครงสร้างในการร่างหนังสือราชการ
มี 3 ตอน ประกอบด้วย ตอนที่ 1 คำขึ้นต้น ตอนที่ 2 จุดประสงค์ ตอนที่ 3 คำลงท้าย ***********************************


ดาวน์โหลด ppt งานสารบรรณ การจัดทำหนังสือราชการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google