งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภัยธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นในจังหวัดน่าน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภัยธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นในจังหวัดน่าน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภัยธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นในจังหวัดน่าน
นางสาวพิณรวี ใบยา หัวหน้ากลุ่มงานอุตุนิยมวิทยาอุทกท่าวังผา สถานีอุตุนิยมวิทยาน่าน

2 ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นในภาคเหนือ
เดือน ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นในภาคเหนือ กุมภาพันธ์ ไฟป่า มีนาคม พายุฤดูร้อน , ไฟป่า , ฝนแล้ง เมษายน พฤษภาคม พายุฤดูร้อน , อุทกภัย มิถุนายน อุทกภัย , ฝนทิ้งช่วง กรกฎาคม ฝนทิ้งช่วง , พายุฝนฟ้าคะนอง ,พายุหมุนเขตร้อน , อุทกภัย สิงหาคม พายุหมุนเขตร้อน , อุทกภัย , พายุฝนฟ้าคะนอง กันยายน

3

4 ดินถล่มและน้ำป่าไหลหลาก
ดินถล่มและน้ำป่าไหลหลากในจังหวัดน่านมักเกิดขึ้นเมื่อไร และบริเวณใด ส่วนใหญ่มักเกิดภายหลังฝนตกหนักมากบริเวณภูเขาซึ่งเป็นต้นน้ำลำธาร ซึ่งมีสาเหตุมาจาก หย่อมความกดอากาศต่ำ พายุหมุนเขตร้อน (พายุดีเปรสชั่น พายุโซนร้อน และพายุไต้ฝุ่น) ร่องมรสุมหรือร่องความกดอากาศต่ำหรือร่องฝน มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ เขื่อนพัง

5 ระดับความรุนแรงของพายุหมุนเขตร้อน ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง
พายุหมุนเขตร้อน (Tropical Cyclones) เป็นลักษณะอากาศร้ายที่ก่อตัวในทะเลและมหาสมุทร บริเวณที่ พายุก่อตัวจะมีลมแรงและฝนตกเป็นบริเวณกว้าง ความเร็วลมสูงสุดที่เคยปรากฏ ในประเทศไทยคือ ไต้ฝุ่น“เกย์” มีความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 120 กม./ชม. ระดับความรุนแรงของพายุหมุนเขตร้อน ชื่อเรียก ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง น๊อต กิโลเมตร/ชั่วโมง ดีเปรสชั่น ไม่ถึง 34 ไม่ถึง 63 พายุโซนร้อน 34-63 63-117 ไต้ฝุ่น, เฮอร์ริเคน * ตั้งแต่ 64 ขึ้นไป ตั้งแต่ 118 ขึ้นไป หมายเหตุ * มีชื่อเรียกต่างกันไปตามท้องถิ่น

6

7

8 รูปแบบของดินถล่ม 1.หินแตกไหล 2.ดินถล่มเนื่องจากการสร้าง ถนน
2.ดินถล่มเนื่องจากการสร้าง ถนน 3.ดินถล่มใต้น้ำ 4.หินร่วง หรือหินหล่น 5.เศษตะกอนไหลเลื่อนตาม ทางน้ำ 6.หน้าผาผุกร่อน 7.ตลิ่งพัง 8.ดินถล่ม

9 ข้อสังเกตหรือสิ่งบอกเหตุ
ความรุนแรง 1. ปริมาณฝนที่ตกบนภูเขา 2. ความลาดชันของภูเขา 3. ความสมบูรณ์ของป่าไม้ 4. ลักษณะทางธรณีวิทยาของภูเขา ข้อสังเกตหรือสิ่งบอกเหตุ 1.มีฝนตกหนักถึงหนักมาก (มากกว่า 100 มิลลิเมตรต่อวัน) 2.ระดับน้ำในห้วยสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว 3.สีของน้ำเปลี่ยนเป็นสีของดินบนภูเขา 4.มีเสียงดัง อื้ออึง ผิดปกติดังมาจากภูเขาและลำห้วย 5.น้ำท่วมหมู่บ้าน และเพิ่มระดับขึ้นอย่างรวดเร็ว

10 ลักษณะที่ตั้งของหมู่บ้านเสี่ยงภัยมีข้อสังเกตดังต่อไปนี้
1.อยู่ติดภูเขาและใกล้ลำห้วย 2.มีร่องรอยดินไหลหรือดินเลื่อนบนภูเขา 3.มีรอยแยกของพื้นดินบนภูเขา 4.อยู่บนเนินหน้าหุบเขาและเคยมีโคลนถล่มมาบ้าง 5.ถูกน้ำป่าไหลหลากและท่วมบ่อย 6.มีกองหิน เนินทรายปนโคลนและต้นไม้ ในห้วยใกล้หมู่บ้าน 7.พื้นห้วยจะมีก้อนหินขนาดเล็กใหญ่อยู่ปนกันตลอดท้องน้ำ

11

12

13

14

15

16 การป้องกัน * ติดตามสภาวะอากาศ ฟังคำเตือนจากกรมอุตุนิยมวิทยา * สอบถาม แจ้งสภาวะอากาศร้าย โทร สายด่วน 1182 ตลอด ชั่วโมง * ฝึกซ้อมการป้องกันภัยพิบัติ เตรียมพร้อมรับมือ และวางแผนอพยพหาก จำเป็น * เตรียมเครื่องอุปโภค บริโภค ไฟฉาย แบตเตอรี่ วิทยุกระเป๋าหิ้วติดตาม ข่าวสาร * เตรียมพร้อมอพยพเมื่อได้รับแจ้งให้อพยพ

17 การเผยแพร่ข่าวพยากรณ์อากาศ
ติดต่อสอบถามทางโทรศัพท์โดยตรง ที่ หมายเลข , และ ตลอด 24 ชม. CALL CENTER 1182 ข่าวพยากรณ์อากาศทางสถานีโทรทัศน์ทุกช่อง

18

19

20 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt ภัยธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นในจังหวัดน่าน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google