งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ณัฏฐนันท์ วิสุชาติพงศ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ณัฏฐนันท์ วิสุชาติพงศ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ณัฏฐนันท์ วิสุชาติพงศ์
แนวทางในการพัฒนาคุณภาพสถิติ และความร่วมมือระหว่าง สสช และหน่วยสถิติ ณัฏฐนันท์ วิสุชาติพงศ์ สำนักบริหารจัดการระบบสถิติ กรกฎาคม 2556

2 พรบ.สถิติ 2550 มาตรา 5 ให้สำนักงานสถิติแห่งชาติ เป็นหน่วยงานกลางของรัฐ ในการดำเนินการเกี่ยวกับสถิติตามหลักวิชาการ มาตรา 6 สำนักงานสถิติแห่งชาติ มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (1) จัดทำแผนแม่บทเกี่ยวกับการดำเนินงานทางสถิติของรัฐ (2) จัดทำมาตรฐานสถิติเสนอครม.เพื่อให้ความเห็นชอบ (3) ส่งเสริมและพัฒนางานสถิติของรัฐและเอกชน (11) ปฏิบัติการอื่นตามที่กฎหมายกำหนดและตามที่ ครม.มอบหมาย

3 แผนแม่บทระบบสถิติประเทศไทย พ.ศ.2554-2558
วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีระบบสถิติที่ทุกหน่วยงานร่วมกันขับเคลื่อนเพื่อให้เกิดสถิติทางการที่ใช้ในการพัฒนาประเทศ” 1.บริหารจัดการระบบสถิติของประเทศ 2.ส่งเสริมการผลิตข้อมูลสถิติที่ได้มาตรฐาน 3.ส่งเสริมการให้บริการข้อมูลสถิติแก่ทุกภาคส่วน พันธกิจ ยุทธศาสตร์ 1.การบริหารจัดการระบบสถิติอย่างมีประสิทธิภาพ 2.การพัฒนาข้อมูลสถิติให้มีมาตรฐาน 3.การให้บริการข้อมูลสถิติอย่างทั่วถึง

4 การจัดการคุณภาพ การประเมินคุณภาพ การรับรองคุณภาพ การประกันคุณภาพ

5 “เหมาะสมกับการนำไปใช้”
นิยาม : คุณภาพสถิติ “เหมาะสมกับการนำไปใช้” (Fitness for Use)

6 เครื่องมือการจัดการคุณภาพ
● แนวทางการผลิตสถิติที่ดี (Good Statistical Practices : GSP) ● การประเมินคุณภาพสถิติ (Statistics Quality Assessment : QA)

7 ประเภทสถิติ สถิติจากการสำรวจ/สำมะโน สถิติการบริหารงาน/ระบบทะเบียน
สถิติที่มีการประมวลมาจากแหล่งอื่นๆ Processed/Derived Survey/Census Administrative/Register

8 8.เก็บรักษาข้อมูลเป็นหลักฐาน
แบบจำลองกระบวนงานทางสถิติ (Generic Statistical Business Process Model: GSBPM) ขั้นตอน 1.กำหนดความต้องการ 2.ออกแบบ 3.พัฒนาระบบ 4.เก็บรวบรวมข้อมูล 5.ประมวลผล 6.วิเคราะห์ 7.เผยแพร่ข้อมูล 8.เก็บรักษาข้อมูลเป็นหลักฐาน 9.ประเมิน 1.1 ระบุข้อมูลที่ต้องการ 2.1 ออกแบบผลผลิตสถิติ 3.1 จัดเตรียมเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล 4.1 เลือกหน่วยตัวอย่าง 5.1 บูรณาการข้อมูล 6.1 จัดทำร่างผลผลิตสถิติ 7.1 ปรับปรุงระบบเพื่อเผยแพร่ผลผลิตสถิติ 8.1 กำหนดหลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลเป็นหลักฐาน 9.1 รวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ประเมิน 1.2 หารือและยืนยันข้อมูลที่ต้องการ 2.2 ออกแบบรายละเอียดตัวแปร 4.2 เตรียมการเก็บรวบรวมข้อมูล 5.2 จำแนกข้อมูลและลงรหัส 6.2 ตรวจสอบความถูกต้องของผลผลิตสถิติ 3.2 พัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อสนับสนุนกระกระบวนการผลิต 7.2 จัดทำผลผลิตสถิติลงสื่อเพื่อเผยแพร่ 9.2 ทำการประเมิน 8.2 บริหารจัดการคลังข้อมูลที่ใช้เก็บรักษาเป็นหลักฐาน 2.3 ออกแบบวิธีการและเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล 1.3 กำหนดวัตถุประสงค์การผลิตสถิติ 4.3 ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล 5.3 กำหนดผังกระบวนการทำงาน 9.3 ทำข้อตกลงแผนปรับปรุงการผลิตสถิติ 6.3 วิเคราะห์และอธิบายผล 7.3 บริหารจัดการเผยแพร่ผลผลิตสถิติ 3.3 กำหนดผังกระบวนการทำงาน 8.3 เก็บรักษาข้อมูลและเมตะดาต้าที่เกี่ยวข้อง กระบวนการย่อย 4.4 เตรียมข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมให้สมบูรณ์ 1.4 กำหนดกรอบแนวคิดเกี่ยวกับสถิติที่ต้องการ 2.4 ออกแบบกรอบตัวอย่างและวิธีการเลือกหน่วยตัวอย่าง 5.4 แทนค่าสูญหาย 6.4 ควบคุมการเปิดเผยข้อมูล 7.4 ประชาสัมพันธ์ผลผลิตสถิติ 3.4 ทดลองระบบที่ใช้ในกระบวนการผลิตสถิติ 8.4 ทำลายข้อมูลและเมตะดาต้าที่เกี่ยวข้อง 5.5 ปรับเพื่อทำให้เป็นตัวแปรและหน่วยสถิติใหม่ 6.5 จัดทำผลผลิตสถิติขั้นสุดท้าย 1.5 ตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่ 7.5 บริหารจัดการงานสนับสนุนผู้ใช้สถิติ 2.5 ออกแบบวิธีการประมวลผลทางสถิติ 3.5 ทดสอบกระบวนการผลิตสถิติ 1.6 จัดทำแผนการผลิตสถิติ 5.6 คำนวณค่าถ่วงน้ำหนัก 2.6 ออกแบบระบบและผังกระบวนการผลิตสถิติ 3.6 จัดทำระบบการผลิตสถิติให้เสร็จสมบูรณ์พร้อมดำเนินงาน 5.7 จัดทำไฟล์ข้อมูลขั้นสุดท้าย 5.8 คำนวณผลรวม

9 สถิติทางการเป็นอย่างไร?
สถิติที่ได้รับการรับรองว่าเป็นสถิติทางการ ควรมีคุณสมบัติ เป็นสถิติที่ใช้ในการกำหนดนโยบายเพื่อการพัฒนาประเทศ เป็นสถิติที่มีการผลิตอย่างต่อเนื่อง เป็นสถิติที่มาจากระบบการผลิตที่ถูกต้องตามมาตรฐาน การจัดหมวดหมู่ และมาตรฐานคุณภาพที่กำหนด สถิติที่รับรองให้ใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงสำหรับประเทศไทย

10 ต้องมีขั้นตอนอย่างไรเพื่อให้สถิติทางการมีคุณภาพ?
หน่วยงานต้องปฏิบัติตามกรอบหลักการพื้นฐานของสถิติทางการ ( Fundamental Principle of Official Statistics) มีการปฏิบัติงานตามกรอบการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพข้อมูลตามหลักการสากล หน่วยสถิติทำการประเมินคุณภาพข้อมูลด้วยตนเอง และปรับปรุง มีการประเมินโดย สสช/ผู้เชี่ยวชาญภายนอก เพื่อให้การรับรองว่าเป็นสถิติทางการที่มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด

11 หลักการพื้นฐานสถิติทางการมีความเป็นมาอย่างไร?
เป็นหลักการมาตรฐานของระบบสถิติในประเทศแถบยุโรปกลาง ได้รับการรับรองจาก UN Economic Commission of Europe ในปี 2537 มีการนำไปประยุกต์ปฏิบัติในกลุ่มประเทศต่าง ๆ ผ่านระบบมาตรฐานการ รายงานข้อมูลของ IMF (SDDS และ GDDS) UROSTAT (EU Code of Practice) เป็นพื้นฐานของการประเมินคุณภาพข้อมูล ใช้เป็นกรอบในการดำเนินการของผู้ผลิตสถิติเพื่อให้ได้มาตรฐาน และมีคุณภาพ

12 หลักการพื้นฐานสถิติทางการมีอะไรบ้าง?
➀ ความสอดคล้อง เป็นธรรม และเท่าเทียม ➉ ความร่วมมือระหว่างประเทศ ➁ ความเป็นมืออาชีพ ➂ มีความรับผิดชอบ และโปร่งใส ➈ มีมาตรฐานสากล หลักการพื้นฐานสถิติทางการ ➃ การเปิดเผยและป้องกันการใช้ที่ผิดพลาด ➇ การประสานงาน ➆ มีกฏหมายและข้อบังคับ ➄ ใช้แหล่งข้อมูลอย่างคุ้มค่า ➅ การรักษาความลับ ข้อมูล

13 ทำไมต้องประเมินคุณภาพ ?
เหตุผลที่สำคัญในการประเมินคุณภาพสถิติ เพื่อพัฒนาคุณภาพสถิติที่ สสช และหน่วยสถิติของภาครัฐผลิต เพื่อให้มีการรับรองคุณภาพสถิติทางการที่ผลิตโดย สสช และหน่วยสถิติของรัฐ วัตถุประสงค์ เพื่อนำกรอบการประเมินคุณภาพสถิติ ซึ่งประกอบด้วยมิติ องค์ประกอบ และตัวชี้วัด มากำหนดเป็นกรอบการปฏิบัติของประเทศ

14 มีประโยชน์อย่างไร ? เป็นการประกันว่าสถิติทางการที่ได้มีคุณภาพเป็นไปตาม มาตรฐานที่กำหนด ให้ผู้ใช้ข้อมูลทราบเกี่ยวกับคุณภาพของสถิติที่ผลิต เพื่อเกิดความ มั่นใจ และใช้ได้อย่างถูกต้อง เป็นการประกันว่าสถิติทางการดังกล่าวจะมีการรายงานในเรื่อง คุณภาพทุกครั้งที่มีการเผยแพร่

15 จะดำเนินการอย่างไร ? วิธีการดำเนินการ กรอบการประเมินคุณภาพสถิติ
ทบทวนสถิติทางการที่ผลิตโดย สสช และหน่วยสถิติของรัฐ ให้มีการประเมินด้วยตนเองเกี่ยวกับคุณภาพสถิติทางการใน กระบวนการผลิตสถิติ ตามกรอบการประเมินคุณภาพในมิติต่าง ๆ รับรองคุณภาพ/ให้คำปรึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพ กรอบการประเมินคุณภาพสถิติ ใช้แนวทางการปฏิบัติตามกรอบการประเมินคุณภาพตาม มาตรฐานสากล

16 Comparison of quality dimensions
Korea Canada Nether-lands Euro-stat IMF OECD Sweden Integrity Methodological Soundness Relevance Accuracy Accessibility Timeliness Serviceability Coherence Comparability Interpretability Efficiency Reliability Without too Much burden

17 ประโยชน์/ความสำคัญ(Relevance) ความน่าเชื่อถือ(Reliability)
มีมาตรฐานใดบ้าง ? IMF EUROSTAT OECD ข้อกำหนดเบื้องต้นด้านคุณภาพ ประโยชน์/ความสำคัญ(Relevance) กฎหมายและข้อกำหนดของหน่วยงาน ทรัพยากรที่ใช้ในการปฏิบัติ ความสำคัญ/ประโยชน์ การจัดการด้านอื่นๆเกี่ยวกับคุณภาพ สถาบันและการจัดการ ประโยชน์ (Relevance) ความน่าเชื่อถือ(Reliability) ความซื่อสัตย์ในการปฏิบัติงาน ความเป็นมืออาชีพ ความโปร่งใส จริยธรรมในการปฏิบัติงาน

18 มีมาตรฐานใดบ้าง ? IMF EUROSTAT OECD ความถูกต้องของวิธีการจัดทำสถิติ
คำนิยาม/แนวคิด ขอบเขตข้อมูล การจัดประเภท/แบ่งภาคเศรษฐกิจ หลักเกณฑ์การบันทึกข้อมูล การเปรียบเทียบ (Comparability) การอธิบาย/ชี้แจง (Interpretability) การประมวลผลข้อมูลสถิติ ความถูกต้อง (Accuracy) ความถูกต้อง(Accuracy) ความถูกต้องและความน่าเชื่อถือ ข้อมูลที่นำมาจัดทำสถิติ เทคนิคทางสถิติ การประเมิน/ตรวจทานข้อมูลขั้นกลาง และข้อมูลขั้นสุดท้าย การศึกษาปรับปรุง

19 มีมาตรฐานใดบ้าง ? OECD EUROSTAT IMF การให้บริการข้อมูล (Timeliness)
ตรงต่อเวลา/ทันเวลา (Timeliness) ตรงต่อเวลา (Timeliness) ความสม่ำเสมอ/ความเหมาะสมกับเวลา ความสอดคล้องของข้อมูล การแก้ไข/ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบันที่ พึงปฏิบัติ ผลผลิตข้อมูลสถิติ ความสอดคล้อง (Coherence) ความสอดคล้อง(Coherence) การเผยแพร่ข้อมูล การเข้าถึงข้อมูล(Accessibility การเข้าถึงข้อมูลและความชัดเจน (Accessibility & clarity) การเข้าถึงข้อมูลและคำอธิบายข้อมูล ได้ง่าย (Meta data) การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ใช้ข้อมูล

20 จะประเมินตนเองด้านคุณภาพสถิติอย่างไร???
ในแต่ละมิติประกอบด้วยตัวชี้วัด ในแต่ละตัวชี้วัด กำหนดเกณฑ์คะแนนไว้ ดังนี้ เป็นสถิติทางการ (3) เป็นสถิติที่ยอมรับได้ (2) เป็นสถิติที่ยังมีข้อสงสัย (1) เป็นสถิติที่ยังไม่มีคุณภาพ (0)

21 มิติและรายการคุณภาพสถิติมีอะไรบ้าง ????
มีการหารือกับผู้ใช้ อธิบายวัตถุประสงค์ และประโยชน์ มีการประเมินความพอใจผู้ใช้ การปรับเปลี่ยนแผนงานตามที่ผู้ใช้ร้องขอ Relevance มีรูปแบบการให้บริการที่หลากหลาย ผู้ใช้ทุกกลุ่มเข้าถึงข้อมูลในเวลาเดียวกัน มีการประชาสัมพันธ์การให้บริการ มีนโยบายเรื่องราคา และสิทธิการเข้าถึงข้อมูล Accessibility

22 มิติและรายการคุณภาพสถิติมีอะไรบ้าง ????
มีการกำหนดวันเผยแพร่ข้อมูล การเผยแพร่เป็นไปตามกำหนดเวลา การปรับปรุงฐานข้อมูลให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ Timeliness

23 มิติและรายการคุณภาพสถิติมีอะไรบ้าง ????
อธิบายค่าความคลาดเคลื่อนที่เกิดได้ มีเอกสารอ้างอิงเกี่ยวกับแหล่งข้อมูล กรอบตัวอย่าง พนักงานเก็บข้อมูลได้รับการอบรมก่อนการสำรวจ มีการปรับเปรียบเทียบผลการสำรวจทั้งปัจจุบันและอดีต มีการรวบรวมปัญหาที่เกิดขึ้น อธิบายความสัมพันธ์เรื่องความถี่กับความจำเป็นในการสำรวจ การจัดประเภทข้อมูลเป็นไปตามมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับ การดำเนินการเป็นไปตามระเบียบวิธีทางสถิติ วิธีการรวบรวมข้อมูล การประมวลผล เป็นไปตามมาตรฐาน Accuracy

24 มิติและรายการคุณภาพสถิติมีอะไรบ้าง ????
มีการประกาศใช้หลักเกณฑ์การจัดการคุณภาพข้อมูลต่อบุคคลภายนอกและภายในองค์กร มีการวัดคุณภาพของสารสนเทศสถิติจากผู้ใช้ภายในและนอกองค์กร Interpretability อธิบายถึงความแตกต่างของคำนิยาม มาตรฐาน กระบวนการผลิตที่มาจากแหล่งข้อมูลที่ต่างกัน อธิบายมิติความเชื่อมโยงข้อมูลที่มาจากแหล่งที่ต่างกัน มีการแจ้งทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงหลัก ๆ เช่น ระเบียบวิธี เทคนิค แหล่งข้อมูล Coherence

25 การรายงานเรื่องคุณภาพสถิติต้องมีรายละเอียดอย่างไร???

26 การประกาศเรื่องคุณภาพสถิติ ต้องมีรายละเอียดอะไรบ้าง?????
เหตุผลที่ทำการสำรวจ วัตถุประสงค์ ผลผลิตที่ได้จากการสำรวจ การใช้มาตรฐานในการสำรวจ กลุ่มประชากรเป้าหมาย วิธีที่ได้กรอบที่ใช้ในการสำรวจ และเหตุผลที่ใช้วิธีการดังกล่าว หน่วยบนกรอบที่ใช้ วิธีการที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล และเหตุผลที่ใช้วิธีการดังกล่าว การสำรวจข้อมูลอ้างอิงคาบเวลาใด มีการสำรวจครั้งเดียว หรือเป็นการสำรวจซ้ำ กรณีสำรวจซ้ำ ความถี่ที่สำรวจเป็นอย่างไร Relevance

27 การประกาศเรื่องคุณภาพสถิติ ต้องมีรายละเอียดอะไรบ้าง?????
ผลการสำรวจส่งถึงผู้ใช้ข้อมูลหลักอย่างไร หน่วยงานที่รับผิดชอบการสำรวจ ชื่อผู้รับผิดชอบ ข้อผูกมัดในการประกันเรื่องการรักษาความลับข้อมูลรายบุคคล และวิธีที่ดำเนินการ Accessibility ปีที่ข้อมูลอ้างอิงถึง คาบการสำรวจ วันเริ่มต้นและสิ้นสุด การปรับปรุงกรอบสำรวจ คาบการแจงนับ วันเริ่มต้นและสิ้นสุด คาบการประมวลผล คาบการเดินตารางประมวลผล วันที่เผยแพร่ข้อมูล วันที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ เช่นการให้ข้อมูลดิบ Timeliness

28 การประกาศเรื่องคุณภาพสถิติ ต้องมีรายละเอียดอะไรบ้าง?????
ขนาดตัวอย่าง (ถ้ามี) แหล่งที่มาของความคลาดเคลื่อนที่มีผลต่อข้อมูล และวิธีที่ดำเนินการเกี่ยวกับความคลาดเคลื่อนดังกล่าว จากจำนวนตัวอย่างที่กำหนด มีจำนวนหน่วยที่คาดว่าจะตอบกลับ หรือปฏิเสธ หรือนอกคุ้มรวมเท่าใด วิธีการที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพในขั้นการลงรหัส การบันทึกข้อมูล Accuracy ข้อมูลถึงผู้ใช้อย่างไร การวางแผนการสำรวจเป็นแบบใด มีการจัดกลุ่มประชากรอย่างไร มีวิธีการประมาณค่า และมีความคลาดเคลื่อนอะไรบ้าง Interpretability

29 การประกาศเรื่องคุณภาพสถิติ ต้องมีรายละเอียดอะไรบ้าง?????
เป็นการสำรวจครั้งเดียว หรือการสำรวจซ้ำ เป็นการสำรวจใหม่ หรือเป็นรอบในการสำรวจเดิม ความถี่ของการสำรวจ การปรับปรุงกรณีที่ทำสำรวจรอบใหม่ สิ่งที่นำมาพิจาณาในรายการข้อมูลของการสำรวจระหว่างรอบ หรือระหว่างการสำรวจอื่น การพิจารณาหาทางเลือกแหล่งข้อมูลอื่น รวมทั้งข้อจำกัดของแหล่งข้อมูลที่เป็นทางเลือก การพิจารณาการใช้มาตรฐาน Coherence

30 ตัวอย่างการรายงานตามมาตรฐาน SDDS สถิติแรงงาน

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40 บทสรุป สสช จะดำเนินการ
ให้มีการยอมรับในมาตรฐาน และวิธีการดำเนินงานเพื่อให้มีการปรับปรุงด้านคุณภาพสถิติ ให้การรับรองสถิติที่เป็นสถิติทางการ ให้การรับรองว่าจะให้มีประกาศในเรื่องคุณภาพสถิติทางการแก่ผู้ใช้ข้อมูล ช่วยให้ผู้ผลิตข้อมูลสามารถประเมินคุณภาพสถิติ ให้การรับรองว่า สสช จะเป็นผู้นำด้านการผลิตสถิติที่มีคุณภาพ

41 Statistics quality management is not the additional work ,it does not increase workload ,but is to produce statistics which meet the demand of users.

42 THANK YOU


ดาวน์โหลด ppt ณัฏฐนันท์ วิสุชาติพงศ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google