งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

2 เจ้าหน้าที่บริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
นายประสงค์ แสนใจกล้า เจ้าหน้าที่บริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย Tel. :

3 หัวข้อนำเสนอ ๑. การบริหารจัดการสาธารณภัยของไทย
๒. ระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ๓. แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในระดับต่างๆ ๔. ระบบการบัญชาการสั่งการ ของประเทศไทย 3

4 ระเบียบ กฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง
สถานการณ์ปัจจุบัน/ความเปลี่ยนแปลง ระเบียบ กฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง การบัญชาการสั่งการ ระดับความรุนแรงของสาธารณภัย สถานการณ์ภัยพิบัติ รุนแรงมาก ยิ่งขึ้น และเกิดบ่อยครั้ง สภาวะเศรษฐกิจ สังคม 4

5 ความจำเป็นเร่งด่วนเขตพื้นที่จังหวัดระยอง
สารเคมีรั่วไหล ที่บ.อดิตยาเบอร์ล่า เมื่อ ๗ มิถุนายน ๒๕๕๓

6 รถบรรทุกสารเคมีพลิกคว่ำ ที่ อบต.หนองบัว อ.บ้านค่าย

7 รถบรรทุกสารเคมีพลิกคว่ำ ที่ สวนภูมิรักษ์ มาบตาพุด

8 พายุงวงช้าง ตลาดลาว มาบตาพุด ปี ๕๑

9 น้ำท่วมดินถล่ม ที่ป่ายุบใน อ.วังจันทร์ เมื่อ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๓
ความจำเป็นเร่งด่วน น้ำท่วมดินถล่ม ที่ป่ายุบใน อ.วังจันทร์ เมื่อ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๓

10 น้ำท่วมที่ถนนสุขุมวิท อ.เมือง เมื่อ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๓
ความจำเป็นเร่งด่วน น้ำท่วมที่ถนนสุขุมวิท อ.เมือง เมื่อ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๓

11 บ.บีเอสที อีลาสโตเมอร์ส จำกัด (๕/๕/๕๕)

12 สารเคมีรั่วไหล ที่ บ.อดิตยาเบอร์ล่า เมื่อ ๖ พฤษภาคม ๒๕๕๕

13 น้ำมันดิบรั่วไหล ที่ บ. PTT GC เมื่อ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖

14 มหาอุทกภัย ปี ๕๔ ๘ นิคม จมน้ำ 14

15 โครงการรถยนต์คันแรก.....ครับ
15

16 มหันตภัย..คลื่นยักษ์สึนามิ สึนามิ ทะเลอันดามัน เมื่อ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๔๗

17 สึนามิ ทะเลอันดามัน เมื่อ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๔๗
ความสูญเสีย สึนามิ ทะเลอันดามัน เมื่อ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๔๗

18 อัคคีภัย

19 แผ่นดินไหว ประเทศญี่ปุ่น เมื่อ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๔
ความเชื่อมโยงของภัย แผ่นดินไหว ประเทศญี่ปุ่น เมื่อ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๔

20 แผ่นดินไหว ประเทศญี่ปุ่น เมื่อ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๔
ความเชื่อมโยงของภัย แผ่นดินไหว ประเทศญี่ปุ่น เมื่อ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๔

21 แผ่นดินไหว ประเทศญี่ปุ่น เมื่อ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๔
ความเชื่อมโยงของภัย แผ่นดินไหว ประเทศญี่ปุ่น เมื่อ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๔

22 ที่พึ่ง...ของพวกเรา

23 ที่พึ่งของพวกเรา.....??? 23

24 ที่พึ่งทางใจ..ของเรา 24

25 คุณพระ/คุณเจ้า..ช่วยลูกด้วย

26 ผู้มาเยือน 26

27 การบริหารจัดการสาธารณภัยของไทย

28 วัฏจักรของภัยพิบัติ (Disaster cycle)
เกิดภัยพิบัติ (Disaster impact) การเตรียมความพร้อม (Preparedness) ระหว่างเกิดภัย การจัดการในภาวะฉุกเฉิน (Emergency Response) ก่อนเกิดภัย หลังเกิดภัย การป้องกันและลดผลกระทบ (Prevention and Mitigation) การฟื้นฟูบูรณะ (Rehabilitation and Reconstruction)

29 ๑. ด้านสาธารณภัย ๑๔ ด้าน ๑) อุทกภัยและดินโคลสนถล่ม ๒) พายุหมุนเขตร้อน
๓) อัคคีภัย ๔) สารเคมีและวัตถุอันตราย ๕) คมนาคมและขนส่ง ๖) ภัยแล้ง ๗) ภัยจากอากาศหนาว ๘) ภัยจากไฟป่าและหมอกควัน ๙) ภัยจากแผ่นดินไหวและอาคารถล่ม ๑๐) ภัยจากคลื่นสึนามิ ๑๑)ภัยจากโรคระบาดในมนุษย์ ๑๒) ภัยจากโรค แมลง สัตว์ ศัตรูพืชระบาด ๑๓) ภัยจากโรคระบาดสัตว์ และสัตว์น้ำ ๑๔) ภัยจากเทคโนโลยีสารสนเทศ 29

30 ๒. ด้านความมั่นคง ๔ ด้าน การป้องกันและระงับการก่อวินาศกรรม
๒) การป้องกันและบรรเทาภัยจากทุ่นระเบิดและ กับระเบิด ๓) การป้องกันและบรรเทาภัยทางอากาศ ๔) การป้องกันและระงับการชุมนุมการ ประท้วงและก่อการาจนราจล 30

31 พระราชบัญญัติ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐
พระราชบัญญัติ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย DEPARTMENT OF DISASTER PREVENTION AND MITIGATION MINISTRY OR INTERIOR ระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 31

32 พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.๒๕๕๐
พระราชบัญญัติ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย DEPARTMENT OF DISASTER PREVENTION AND MITIGATION MINISTRY OR INTERIOR  มีผลใช้บังคับ วันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ ยกเลิก พ.ร.บ. ป้องกันภัย ฝ่ายพลเรือน พ.ศ. ๒๕๒๒ (ม.๓) ยกเลิก พ.ร.บ. ป้องกันและ ระงับอัคคีภัย พ.ศ. ๒๕๔๒ (ม.๓) 32

33 มาตรา ๑๑ “จัดทำแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ”
- ให้กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเป็น หน่วยงานกลางของรัฐ ในการดำเนินการเกี่ยวกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของประเทศ มีหน้าที่ “จัดทำแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ” แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๗ ประกาศใช้เมื่อ วันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ -ให้มีสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด เพื่อกำกับดูแลและสนับสนุนการปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในจังหวัด หรือตามผู้อำนวยการจังหวัดสั่ง “จัดทำแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด” 33

34 มาตรา ๑๒ “แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ” ต้องมีสาระสำคัญ ดังนี้ ๑) แนวทาง มาตรการ และงบประมาณ ที่จำเป็นต้องใช้ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ๒) แนวทางและวิธีการให้ความช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อน การสงเคราะห์ผู้ประสบภัย ฯลฯ ๓) หน่วยงานของรัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่รับผิดชอบ ในการดำเนินการตาม (๑) และ (๒) และวิธีการให้ได้มาซึ่งงบประมาณ ๔) แนวทางในการเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร อุปกรณ์ และเครื่องมือเครื่องใช้ และจัดระบบการปฏิบัติการ รวมถึงการฝึกบุคลากรและประชาชน ๕) แนวทางในการซ่อมแซม บูรณะ ฟื้นฟู และให้การช่วยเหลือ 34

35 ผู้บัญชาการ/สั่งการ มาตรา ๑๓ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ผู้บัญชาการ
ปลัดกระทรวงมหาดไทย รองผู้บัญชาการ มาตรา ๑๔ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ผู้อำนวยการกลาง มาตรา ๑๕ ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้อำนวยการจังหวัด มาตรา ๑๘ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด รองผู้อำนวยการจังหวัด มาตรา ๑๙ นายอำเภอ ผู้อำนวยการอำเภอ มาตรา ๒๐ ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้อำนวยการท้องถิ่น ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ช่วยอำนวยการท้องถิ่น 35

36 เจ้าพนักงานและอาสาสมัคร
36

37 ประเด็นกฎหมาย และบทลงโทษ
มาตรา ๒๐ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นที่มีหน้าที่ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตท้องถิ่นของตนเอง - ผู้บริหารท้องถิ่น ของ อปท.แห่งนั้น เป็น “ผอ.ท้องถิ่น” - ปลัด อปท.เป็น “ผู้ช่วย ผอ.ท้องถิ่น” มีอำนาจสั่งการ ควบคุมและกำกับดูแลการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าพนักงานและอาสาสมัคร 37

38 มาตรา ๒๑ เมื่อเกิดหรือคาดว่าจะเกิดสาธารณภัย
ขึ้นในเขตฯให้ผู้อำนวยการท้องถิ่นมีอำนาจ หน้าที่ดังนี้ สั่งข้าราชการฝ่ายพลเรือน พนักงานส่วนท้องถิ่น เจ้าหน้าที่หน่วยงานของรัฐ เจ้าพนักงาน อาสาสมัคร บุคคลใด ให้ปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดตามความ จำเป็น ๒) ใช้อาคาร สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ และยานพาหนะ ของหน่วยงานของรัฐ และเอกชน ๓) ใช้เครื่องมือสื่อสารของหน่วยงานของรัฐและ เอกชน ทุกระบบ 38

39 เมื่อเกิดหรือคาดว่าจะเกิดสาธารณภัยขึ้นในเขตฯ
มาตรา ๒๑ เมื่อเกิดหรือคาดว่าจะเกิดสาธารณภัยขึ้นในเขตฯ ให้ผู้อำนวยการท้องถิ่นมีอำนาจหน้าที่ดังนี้ ๔) ขอความช่วยเหลือจาก อปท.อื่น ๕) สั่งห้ามเข้าหรือให้ออกจากพื้นที่ อาคาร หรือ สถานที่ที่กำหนด ๖) จัดให้มีการสงเคราะห์ผู้ประสบภัยโดยทั่วถึง และรวดเร็ว บทลงโทษ (ม.๔๙) จำคุกไม่เกิน ๖ เดือน ปรับไม่เกิน ๖,๐๐๐ บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ 39

40 มาตรา ๒๔ บทลงโทษ (ม.๕๐) ๒๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
เมื่อเกิดสาธารณภัย ให้เป็นหน้าที่ของเจ้าพนักงานที่ประสบเหตุต้องเข้าดำเนินการเบื้องต้น เพื่อเข้าระงับภัยนั้น แล้วรีบรายงานให้ผู้อำนวยการท้องถิ่นทราบ ในกรณีจำเป็นอันไม่อาจหลีกเลียงได้ ให้เจ้าพนักงานมีอำนาจในการดำเนินการใดๆ เพื่อคุ้มครองชีวิตและป้องกันภยันตรายที่จะเกิดแก่บุคคลได้ บทลงโทษ (ม.๕๐) จำคุกไม่เกิน ๑ ปี ปรับไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ 40

41 ๒๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๒๕ เมื่อเกิดสาธารณภัยใกล้จะถึง ให้ผู้อำนวยการ สั่งให้เจ้าพนักงาน ดัดแปลงทำลายหรือโยกย้ายสิ่งก่อสร้าง วัสดุหรือทรัพย์สิน บุคคลใดที่เป็นอุปสรรคแก่การบำบัดปัดป้องอันตราย เฉพาะเท่าที่จำเป็น ในกรณีที่ทำตามวรรคหนึ่งแล้ว จะมีผลทำให้เกิดสาธารณภัยขึ้นในพื้นที่อื่น ก่อให้เกิดความเสียหายเพิ่มขึ้น จะทำตามวรรคหนึ่งไม่ได้ต้อง เว้นแต่จะได้รับความเห็นชอบจากผู้อำนวยการจังหวัด บทลงโทษ (ม.๕๐) จำคุกไม่เกิน ๑ ปี ปรับไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ 41

42 ๒๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๒๖ เมื่อเกิดสาธารณภัยเจ้าพนักงานจำเป็นต้องเข้าไปในอาคารหรือสถานที่ที่อยู่ใกล้เคียง ๑) ต้องได้รับความเห็นชอบจากเจ้าของอาคารหรือสถานที่ก่อน (เว้นแต่ไม่มีเจ้าของ/ขณะนั้นอยู่ภายใต้การควบคุมของผู้อำนวยการ) ๒) ในกรณีทรัพย์สินในอาคารเป็นสิ่งที่ทำให้เกิดสาธารณภัยได้ง่าย สั่งให้เจ้าของอาคารขนย้ายสิ่งของดังกล่าวได้ ๓) ถ้าเจ้าของไม่ปฏิบัติตามวรรค ๒ ให้เจ้าพนักงานมีอำนาจในการขนย้าย ได้ตามความจำเป็นแก่การป้องกัน โดยเจ้าพนักงานไม่ต้องรับผิดชอบความเสียหายอันเกิดจากการกระทำ บทลงโทษ (ม.๕๐) จำคุกไม่เกิน ๑ ปี ปรับไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ 42

43 มาตรา ๒๗ ๔) จัดให้มีการรักษาความสงบเรียบร้อยและป้องกันเหตุโจรผู้ร้าย
ในการบรรเทาสาธารณภัย ผู้อำนวยการ และ เจ้าพนักงาน มีหน้าที่ดำเนินการดังนี้ ๑) จัดให้มีสถานที่ชั่วคราว เพื่อให้ผู้ประสบภัยอยู่อาศัย หรือรับการปฐมพยาบาล การรักษาทรัพย์สินผู้ประสบภัย ๒) จัดระเบียบการจราจรชั่วคราว ๓) ปิดกั้นมิให้ผู้ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องเข้าไปในพื้นที่เกิดภัย บทลงโทษ(ม.๕๑) จำคุกไม่เกิน ๑ ปี ปรับไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ๔) จัดให้มีการรักษาความสงบเรียบร้อยและป้องกันเหตุโจรผู้ร้าย ๕) การช่วยเหลือผู้ประสบภัย และช่วยขนย้ายสิ่งของ พร้อมทั้งจัดให้มีเครื่องหมายหรืออาณัติสัญญาณในการกำหนดสถานที่ (๑) 43

44 มาตรา ๔๓ ให้ ๑) ผู้บัญชาการ ๒) รองผู้บัญชาการ ๔) รองผู้อำนวยการ
๓) ผู้อำนวยการ ๔) รองผู้อำนวยการ ๕) ผู้ช่วยผู้อำนวยการ ๖) เจ้าพนักงาน ซึ่งปฏิบัติการตามหน้าที่ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยตาม พรบ.นี้ เป็นเจ้าพนักงาน ตามประมวลกฎหมายอาญา หากดำเนินการไปตามอำนาจหน้าที่ และได้กระทำไปพอสมควรแก่เหตุ และมิได้ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ให้ผู้กระทำนั้นพ้นจากความผิดและความรับผิดทั้งปวง 44

45 แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
45

46 การป้องกันและลดผลกระทบ การเตรียมความพร้อม การจัดการในภาวะฉุกเฉิน
ยุทธศาสตร์ ๔ ด้าน ตามแผน ปภ. ชาติ การป้องกันและลดผลกระทบ การเตรียมความพร้อม การจัดการในภาวะฉุกเฉิน การฟื้นฟูบูรณะ 46

47 แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๗
แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๗ แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดระยอง พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๔ แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อำเภอ/ท้องถิ่น ๔. แผนการนิคมอุตสาหกรรม ๕. แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยสถานประกอบการ ๖. แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยชุมชน 47

48 ระดับความรุนแรงของภัย/การจัดการ ระดับ ความรุนแรง การจัดการ
1 สาธารณภัยที่เกิดขึ้นทั่วไป / ขนาดเล็ก ผอ.ท้องถิ่น / ผอ.อำเภอ สามารถควบคุมสถานการณ์และจัดการภัยได้โดยลำพัง 2 สาธารณภัยขนาดกลาง ผอ.ในระดับ 1 ไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ได้ ผอ.จังหวัด เข้าควบคุมสถานการณ์ 3 สาธารณภัยขนาดใหญ่ ที่มีผล กระทบรุนแรงกว้างขวางหรือ สาธารณภัยที่จำเป็นต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญหรืออุปกรณ์พิเศษ ผอ.ในระดับ 2 ไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ได้ ผู้อำนวยการกลาง / ผู้บัญชาการแห่งชาติ เข้าควบคุมสถานการณ์ 4 สาธารณภัยขนาดใหญ่ที่มีผลกระทบร้ายแรงอย่างยิ่ง นายกรัฐมนตรี หรือ รอง นรม.เข้าควบคุมสถานการณ์

49 2 1 1 ศูนย์อำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (กอ.ปภ.) ภาวะปกติ จังหวัด
กอ.ปภ.จว./ผู้ว่าราชการ จังหวัด 1 กอ.ปภ.อ./นายอำเภอ อำเภอ 1 กอ.ปภ.อบต./ทต. (นายกอบต./ทต.) อบต./ทต. โรงงาน กอ.ปภ.โรงงาน/ ผู้จัดการ ผู้ประกอบการ/โรงงาน 49

50 2 1 1 ศูนย์อำนวยการเฉเพาะกิจ (ศฉก.) ภาวะฉุกเฉิน จังหวัด
ศอร./ผู้อำนวยการจังหวัด(IC) จังหวัด 1 ศฉก./ผู้อำนวยการอำเภอ อำเภอ 1 ศฉก./ผู้อำนวยการท้องถิ่น อบต./ทต. ศูนย์บัญชาการภาวะฉุกเฉิน (ECC) /ED ผู้ประกอบการ/โรงงาน 50

51 เพื่อทราบ/เตรียมพร้อม
4 การติดต่อและประสานการปฏิบัติ 3 ช่วยเหลือ /สนับสนุน 2 จังหวัด ร้องขอ /สนับสนุน ร้องขอ/ สนับสนุน 3 1 2 ท้องถิ่น /อำเภอ เตรียมพร้อม 2 1 เพื่อทราบ/เตรียมพร้อม 1 นิคมฯ เพื่อทราบ ในเขตนิคมอุตสาหกรรม โรงงาน 51

52 การพิจารณาเลื่อนระดับความรุนแรง
ระบบบัญชาการ (ICS) 4 ผลกระทบ ชีวิต ทรัพย์สิน สิ่งแวดล้อม 3 ส่วนวางแผน ส่วนส่งกำลังบำรุง ส่วนการเงิน 2 ส่วนปฏิบัติการ (Operation) เกิดเหตุ 1 เวลา (Time) ความรุนแรง นาที ข้อขัดข้อง อุบัติเหตุ (Accident) ภาวะฉุกเฉิน (Emergency) ภาวะวิกฤต (Crisis) 52

53 จุดเกิดเหตุ แผนผังการปฏิบัติ ในภาวะฉุกเฉิน สถานประกอบการ MC OC FC FL
องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นที่ โรงงาน/สถานประกอบการ ที่เกิดเหตุ ED รพ.ท้องที่ /รพ.เอกชน ที่มีข้อตกลงกับโรงงาน (กรณีมีผู้บาดเจ็บ) โรงงาน /สถานประกอบการ ข้างเคียง นิคม /เขตประกอบการ อุตสาหกรรม ท้องที่เกิดเหตุ จุดเกิดเหตุ MC OC FC FL FT แจ้งเพื่อทราบ/เตรียมพร้อม อำเภอ/จังหวัด ประธานชุมชน/ชุมชน (แจ้งเพื่อทราบ) แผนผังการปฏิบัติ ในภาวะฉุกเฉิน สถานประกอบการ

54 เทศบาล/อบต.แห่งพื้นที่ IC / ผู้อำนวยการท้องถิ่น
เตรียมการอพยพ ชุมชน/ประชาชน กอ.ปภ. (ผอ.อำเภอ) IC / ผู้อำนวยการอำเภอ - รพ.ท้องที่เกิดเหตุ/ใกล้เคียง - ตำรวจ.ท้องที่เกิดเหตุ/ใกล้เคียง - ชุมชน/ประชาชน งานป้องกัน/หน.ป้องกัน แจ้ง จนท.ทราบ/ช่วยเหลือ จุดเกิดเหตุ MC OC FC FL 1 FL FL 3 FL 5 FL 2 FL 4 FL 6 เทศบาล/อบต.แห่งพื้นที่ IC / ผู้อำนวยการท้องถิ่น รายงาน กอ.ปภ.จว.รย. แจ้งเพื่อทราบ และขอความช่วยเหลือ ประเมินสถานการณ์ ทุกหน่วย - ประสาน อปท.ในพื้นที่ - ประกาศภาวะฉุกเฉิน ระดับ 1 (ตั้ง ศฉก.) ED แผนผังการปฏิบัติ ในภาวะฉุกเฉิน ระดับ ๑

55 นิยามศัพท์ - กอ.ปภ. - ผู้อำนวยการ/ผู้บัญชาการ
- ศอร./ศฉก ผู้อำนวยการในถาวะฉุกเฉิน(ED: Emergency Director) ผู้สั่งการ ณจุดเกิดเหตุ(OC:On-scene Commander) ผู้ประสานงาน (MC: Mutual Aid Coordinator) หัวหน้าทีมดับเพลิง(FC: Fire Chief) หัวหน้าชุดดับเพลิง (FL: Fire Leader) 55

56 ระบบการบัญชาการสั่งการ
56

57 ผู้บัญชาการเหตุการณ์ และธุรการ (Finance/Admin)
ICS Organization ผู้บัญชาการเหตุการณ์จะรับผิดชอบต่อการบัญชาการเหตุการณ์ และการทำหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ในทีมจนกว่าภารกิจจะถูกมอบหมาย หรือมอบอำนาจต่อ ความปลอดภัย ประสานงาน ประชาสัมพันธ์ ผู้บัญชาการเหตุการณ์ ส่วนปฏิบัติการ (Operation) ส่วนวางแผน (Planning) ส่วนบำรุงกำลัง (Logistics) ส่วนการเงิน และธุรการ (Finance/Admin) General Staff Command Staff ระงับภัยและช่วยเหลือ (FT / ERT /SAR) การแพทย์สาธารณสุข อพยพ รักษาความสงบ/จราจร

58 ระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) (Incident Command System)
ความปลอดภัย แผนปฏิบัติการ (IAP)/ วัตถุประสงค์ คุ้มค่า/มีประสิทธิภาพ 58

59 ระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) (Incident Command System)
ลำดับความสำคัญในการกำหนดวัตถุประสงค์ 1. ความปลอดภัยต่อชีวิต 2. เหตุการณ์ไม่ขยายตัวมากขึ้น 3. ความปลอดภัยต่อทรัพย์สิน 59

60

61

62 62

63 ของการบริหารจัดการสาธารณภัยของไทย
ความสำเร็จ ของการบริหารจัดการสาธารณภัยของไทย ประชาชนต้องมีความรู้/การเรียนรู้ การเรียนรู้เรื่อง “ลักษณะภูมิประเทศ” จุดปลอดภัย/จุดเสียงภัย ๒. การเรียนรู้เรื่อง “สาธารณภัย/ภัยพิบัติ” รู้เท่า รู้ทัน รู้กัน รู้แก้ ๓. การเรียนรู้เรื่อง “ลักษณะภูมิอากาศโลก” มองธรรมชาติเป็นครู จึงจะอยู่กับธรรมชาติได้อย่างปลอดภัย

64 การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย(ในอดีต)
ภาคประชาชน ภาครัฐ ภาคเอกชน ๑.ร่วมคิด ๔.ร่วมประเมินผล ๒.ร่วมทำ ๕.ร่วมแก้ไข ๓.ร่วมปฏิบัติ ๖.ร่วมทรัพยากร ฯลฯ

65 ความสำเร็จ = ความปลอดภัย
เป้าหมาย/ความสำเร็จ ความสำเร็จ = ความปลอดภัย

66 ฝากไว้ให้คิด การมีส่วนร่วม รวมศูนย์ประสาน เน้นการป้องกัน

67 Questions

68 ด้วยความขอบคุณ Tel. :


ดาวน์โหลด ppt การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google