งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
พระราชดำริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงพระราชทาน คำอธิบายหลักการ ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงไว้ว่า “ หลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การมีปัญญา รู้จักคิด วิเคราะห์ด้วยเหตุด้วยผล อย่างถูกต้องได้ว่า อะไรคือ ความพอเหมาะพอดี และพอประมาณ สำหรับชีวิตของแต่ละคน ที่พื้นฐานต่างกัน และประพฤติปฎิบัติให้ได้ตามความพอเหมาะพอดีนั้นๆ การจะสามารถวิเคราะห์อย่างมีเหตุมีผลได้ว่า ความพอเหมาะพอดีคืออะไร เราจะต้องมีข้อมูลต่าง ๆ เพื่อเป็นพื้นฐานสำหรับวิเคราะห์ก่อน ”

3 ทุกคนก็ต้องรู้ดีเกี่ยวกับการทำบัญชีรายจ่ายรับให้ดี ก็ต้องรู้เศรษฐกิจ
แต่ที่พูดทางเศรษฐกิจ เป็นการคำนวณดูว่ารายได้ รายจ่ายเป็นยังไง รายได้จะมาก ทุกคนก็บอกว่าเรามีผลผลิตมาก ๆ เราก็รวยสิ จริงก็รวย เราขายได้มาก แต่ว่าก็ต้องจ่ายมากเหมือนกัน ถ้าเราทำปุ๋ยเองไม่ได้ รถเราสร้างเองไม่ได้ น้ำมัน เราขุดมาไม่ได้ ต้องซื้อทั้งนั้น ซื้อก็ต้องเป็นรายจ่าย ฉะนั้น ทุกคนก็ต้องรู้ดีเกี่ยวกับการทำบัญชีรายจ่ายรับให้ดี ก็ต้องรู้เศรษฐกิจ รู้บัญชีมากขึ้น แต่ถ้าเราคำนวณดูแล้ว รายได้มันมาก เรารวยเศรษฐกิจดี แต่ว่าเราจ่ายมาก เราก็จน เศรษฐกิจก็ไม่ดี อันนี้แต่ละคนจะต้องไปคิด... พระราชดำรัส : พระราชทานแก่คณะสมาชิกสหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนม กรรมการสหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนม กรรมการสหกรณ์การเกษตร สหกรณ์นิคม และสหกรณ์ประมงทั่วราชอาณาจักร วันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๒๙ ณ ศาลาดุสิดาลัย พระราชวังดุสิต

4 ทางสายกลาง มีเหตุผล ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พอประมาณ มีภูมิคุ้มกัน
ไม่มากไปไม่น้อยไป ไม่เบียดเบียนตนและผู้อื่น ตัดสินใจอย่างมีเหตุมีผล พิจารณาจากปัจจัย อย่างรอบครอบ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี เตรียมตัวรับผลกระทบ การเปลี่ยนแปลง เงื่อนไขความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) เงื่อนไขคุณธรรม (ซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน แบ่งปัน) นำสู่ ก้าวหน้าอย่างสมดุล/มั่นคง/ยั่งยืน/ชีวิต/เศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดล้อม

5 รู้รายรับ รู้รายจ่าย รู้ต้นทุนกำไร รู้หนี้สิน รู้จักประหยัด
การบัญชีกับเศรษฐกิจพอเพียง รู้รายรับ รู้รายจ่าย รู้ต้นทุนกำไร รู้หนี้สิน รู้จักประหยัด พัฒนาคุณภาพ ชีวิตที่ดี

6 เศรษฐกิจพอเพียง การทำบัญชี เป็นพื้นฐานสู่ การพัฒนาที่ยังยืน
ทำไมต้องทำบัญชี เศรษฐกิจพอเพียง การทำบัญชี เป็นพื้นฐานของการใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน และการประกอบอาชีพให้เพียงพอในชีวิต เป็นพื้นฐานสู่ การพัฒนาที่ยังยืน

7 การทำบัญชี คือ การจดบันทึก ข้อมูลเกี่ยวกับเงื่อนไขปัจจัยการดำรงชีวิตของเรา ในครอบครัวเรา ชุมชนของเรา และประเทศของเราจะเป็นตัวบ่งชี้ อดีต ปัจจุบัน และอนาคตของชีวิตเรา เราสามารถนำข้อมูลอดีตมาบอกปัจจุบันและอนาคตของเรา

8 สมุดบัญชีรับ - จ่ายในครัวเรือน สมุดต้นทุนประกอบอาชีพ

9 การบันทึกบัญชีต้นทุนอาชีพ

10 รายรับ – ต้นทุน/ค่าใช้จ่าย – สินค้าคงเหลือ = กำไร(ขาดทุน)
หลักการคำนวณต้นทุน สูตร รายรับ – ต้นทุน/ค่าใช้จ่าย – สินค้าคงเหลือ = กำไร(ขาดทุน)

11 อาชีพ ทำน้ำผลไม้สมุนไพร
ต้นทุนประกอบอาชีพ วดป. (1) รายการ (2) อาชีพ ทำน้ำผลไม้สมุนไพร ลงทุนใน ส/ท ถาวร (11) รายได้ (3) ต้นทุน/คชจ. (4) 5 ก.ย.53 ซื้อเครื่องแยกกาก 2,000 ซื้อผลไม้ 3,000 ซื้อวัตถุดิบ 1,000 ซื้อขวดบรรจุ 1,000 ค่าไฟฟ้า 500

12 อาชีพทำน้ำผลไม้สมุนไพร
ต้นทุนประกอบอาชีพ วดป. (1) รายการ (2) อาชีพทำน้ำผลไม้สมุนไพร ลงทุนใน ส/ท ถาวร (11) รายได้ (3) ต้นทุน/คชจ. (4) 5 ก.ย.53 คิดค่าแรงตนเอง 400 6 ก.ย. 53 ขายน้ำผลไม้ 6,500 รวม 6,500 5,900 2,000

13 วิธีการคิดกำไร -ขาดทุนจากการประกอบอาชีพ

14 การคิดรายจ่ายสินทรัพย์ถาวรเฉลี่ยต่อรอบการผลิต
สูตร = อุปกรณ์/สิ่งปลูกสร้าง อายุการใช้งาน (1) ค่าเครื่องแยกกากเฉลี่ย = 2,000 = x = บาท ปัดเป็น 2

15 การคิดต้นทุนประกอบอาชีพ ทำน้ำผลไม้สมุนไพรขาย ระหว่างวันที่ 5 ก. ย
การคิดต้นทุนประกอบอาชีพ ทำน้ำผลไม้สมุนไพรขาย ระหว่างวันที่ 5 ก.ย.2553 ถึงวันที่ 5 ก.ย.2553 รายได้ - ขายน้ำผลไม้ ,500 บาท 6,500 บาท หัก ต้นทุน/ค่าใช้จ่าย - ซื้อผลไม้ต่างๆ 3,000 บาท - ซื้อวัตถุดิบ 1,000 บาท - ซื้อขวดบรรจุ 1,000 บาท - ค่าไฟฟ้าใช้ในการผลิต บาท - คิดค่าแรงตนเอง/วัน บาท - คิดรายจ่ายสินทรัพย์ถาวรเฉลี่ย ต่อรอบการผลิต บาท 5,902 บาท หัก ขวดบรรจุคงเหลือ บาท ,696 บาท กำไร บาท

16 ทำไมต้องทำบัญชี

17 สรุป รู้หนี้สิน: รู้รายรับ: ได้เงินมาจากไหน เท่าไร รู้จักออม:
รู้จักประหยัด ทำให้เกิดการออม รู้หนี้สิน: วางแผนชำระหนี้ให้ทันตามกำหนด รู้ต้นทุน กำไร(ขาดทุน): ลงทุนเท่าไร ขายได้เท่าไร มีกำไรหรือไม่ รู้รายจ่าย: ใช้จ่ายค่าอะไรบ้าง เท่าไร ลดรายจ่าย ลดค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือย รู้รายรับ: ได้เงินมาจากไหน เท่าไร

18 สวัสดี

19 ให้ทำ 1. ตั้งชื่อกลุ่ม 2. เขียนคำขวัญ 1 คำขวัญเกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง เช่น “ทำบัญชีมีพอใช้มีเงินออม” 3. คิดอาชีพเอง บันทึกบัญชีต้นทุกอาชีพลงในกระดาษที่แจกให้ อย่างน้อย 1 วัน 5 รายการ 4. คิดต้นทุนอาชีพที่เลือกบันทึกบัญชี สรุปผลกำไรขาดทุน ** ใครเสร็จก่อนมีรางวัลให้ **


ดาวน์โหลด ppt พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google