งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

SRISUWAN JANYA (ทษ.บ., ศศ.บ., นบ., ศศ.ม., วท.ม., พปป.)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "SRISUWAN JANYA (ทษ.บ., ศศ.บ., นบ., ศศ.ม., วท.ม., พปป.)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Green Courts and Environmental Protection in Thailand : Perspectives on the Map Ta Phut Case
SRISUWAN JANYA (ทษ.บ., ศศ.บ., นบ., ศศ.ม., วท.ม., พปป.) President, Stop Global Warming Association Secretary, Napamit Foundation (Global Warming Acadamic Institute) Environmental Board, Lawyer Council of Thailand

2 Thailand – Rayong – Map Ta Phut

3 ระยอง: แชมป์ด้านความเจ็บป่วยจากโรคประกอบอาชีพปี 2549
เหมืองหลวงแห่งอุตสาหกรรมเคมี-มลพิษ มีผู้จดทะเบียนในระบบประกันสุขภาพ 409,909 คน ป่วยด้วยโรคประกอบอาชีพปี คน (74.4 per 100,000) แต่เป็นที่สองในเรื่องของสารกำจัดศัตรูพืช ประมาณ 43.6 ต่อแสน

4 ปัญหาสารพัดในมาบตาพุด

5 ผลกระทบรุนแรงเกิดขึ้นกับชุมชน - คนงาน

6 รัฐบาลมีแต่นโยบายสวยหรู - แต่ขาดการบังคับใช้

7 อะไรที่ต้องถอดบทเรียนความผิดพลาด-จัดการความรู้
การหย่อนยานการบังคับใช้กฎหมาย แผนพัฒนาที่ขาดการมีส่วนร่วมของชาวบ้าน ขาดความต่อเนื่องในรับผิดชอบเชิงสังคม สิ่งแวดล้อม สุขภาพ ที่สุดแห่งธรรมาภิบาล-เป็นแค่กลลวง กฎหมายรัฐธรรมนูญ 2550 มาตรา 66 “สิทธิชุมชน” มาตรา 67 “โครงการฯรุนแรง” พรบ.สุขภาพแห่งชาติ 2550 ม.11 พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540 ม.9 ระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นประชาชน 2548 พรฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 2546 ระเบียบสำนักนายกฯ การสร้างระบบการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี 2542

8 ชุมชนไร้ที่พึ่ง - ต้องสู้ด้วยตนเอง
ชาวบ้าน 27 คน ฟ้องศาลปกครองระยอง เมื่อ 1 ตุลาคม 2550 ศาลมีคำพิพากษา 3 มีนาคม 2552 ให้ประกาศเขตควบคุมมลพิษภายใน 60 วัน นายกฯ ลงนามประกาศเขตควบคุมมลพิษ 30 เมษายน 2552 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 1 พฤษภาคม 2552 ภายใน 120 วัน ท้องถิ่นต้องเร่งจัดทำ “แผนปฏิบัติการเพื่อลดและขจัดมลพิษ” โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสีย หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง ยังด้านที่จะอุทธรณ์คำสั่งศาลว่า “มิได้ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่” และ “เห็นควรยกฟ้อง”

9 มาบตาพุด – บ้านฉาง เขตควบคุมมลพิษ

10 การเชื่อมต่อสิทธิชุมชน ตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2552 มาตรา 67 วรรค 2 การดำเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ จะกระทำมิได้ เว้นแต่จะได้ศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน และจัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียก่อน รวมทั้งได้ให้องค์การอิสระซึ่งประกอบด้วยผู้แทนองค์การเอกชนด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ และผู้แทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติหรือด้านสุขภาพ ให้ความเห็นประกอบก่อนมีการดำเนินการดังกล่าว

11 รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 ประกาศใช้ 24 สิงหาคม 2550
ตั้งแต่วันที่รัฐธรรมนูญประกาศใช้เป็นต้นมา มีโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ที่ สผ. โดย คชก. เห็นชอบให้ผ่าน EIA ไปแล้วกว่า 76 โครงการในพื้นที่มาบตาพุดและใกล้เคียง ส่วนใหญ่เป็นโครงการอุตสาหกรรมปิโตรเคมี โรงเหล็ก โรงไฟฟ้า ฯลฯ รัฐธรรมนูญ 2550 มาตรา 67 วรรค 3 ระบุว่า “สิทธิชุมชน”ที่จะฟ้องหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรอื่นของรัฐที่เป็นนิติบุคคล เพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ตามบทบัญญัตินี้ย่อมได้รับการคุ้มครอง 19 มิถุนา 2552 เวลา น. ฟ้องเป็นคดีที่ศาลปกครองกลาง 29 กันยา 2552 ศาลปกครองกลางมีคำสั่งคุ้มครองชั่วคราว

12 เมื่อรัฐไม่คุ้มครอง - ประชาชนต้องพึ่งศาล

13 ประเด็นหลักในคำสั่งคุ้มครองชั่วคราว
สั่งให้ผู้ถูกฟ้องคดีทั้ง 8 สั่งระงับโครงการหรือกิจกรรม 76 โครงการ ไว้เป็นการชั่วคราว จนกว่าศาลจะมีคำพิพากษาหรือมีคำสั่งเปลี่ยนแปลง ยกเว้น 1)โครงการหรือกิจกรรมที่ได้รับใบอนุญาตก่อนวันประกาศใช้บังคับรัฐธรรมนูญ 2550 (24 สิงหาคม 2550) 2)โครงการหรือกิจกรรมที่ไม่ได้กำหนดให้เป็นประเภทโครงการหรือกิจกรรมที่ต้องจัดทำ EIA ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรฯ ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2552 ไม่รวมถึงการดำเนินการเพื่อให้เป็นไปตามบทบัญญัติมาตรา 67 วรรคสอง ของ รัฐธรรมนูญ 2550

14 ภาคประชาชนยังสู้ต่อไปตามกระบวนการยุติธรรม


ดาวน์โหลด ppt SRISUWAN JANYA (ทษ.บ., ศศ.บ., นบ., ศศ.ม., วท.ม., พปป.)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google