งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาเครือข่ายเกษตรกรผู้เลี้ยงแพะ แบบครบวงจร กลุ่มวิจัยฯ สัตว์เล็ก - สัตว์ปีก

2 นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่ กลุ่มเลี้ยงแพะ/วิสาหกิจชุมชนอาชีพเลี้ยงแพะ และชมรมผู้เลี้ยงแพะระดับจังหวัด และเครือข่ายแพะระดับเขต/ระดับประเทศ บูรณาการขับเคลื่อนกิจกรรมในพื้นที่ร่วมกับหน่วยงานทางเทคนิควิชาการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยยึดถือกลุ่ม/ชมรม/เครือข่ายเลี้ยงแพะ เป็นเป้าหมายเดียวกัน เพื่อให้เกิดผลสำฤทธิ์ต่อเกษตรกร และกลุ่มเลี้ยงแพะเป็นสำคัญ

3 แผ่นภาพแสดงการขับเคลื่อนส่งเสริมและพัฒนาแพะ
คณะกรรมการยุทธศาสตร์แพะระดับประเทศ/เขต/จังหวัด เครือข่ายเกษตรกร ในเขต 1,6,7,8 และ 9 และระดับจังหวัด 40 จังหวัด จำนวน 445 กลุ่ม เกษตรกร 5,900 ราย แพะ 154,900 ตัว ยุทธศาสตร์พัฒนาแพะระดับประเทศ/เขต/จังหวัด แผนปฏิบัติการ สร้างความเข้มแข็งของกลุ่ม/ชมรมจังหวัด/เครือข่าย ระดับเขต/ ระดับประเทศและธุรกิจการแปรรูป และการตลาด

4 กิจกรรมขับเคลื่อนกลุ่ม/ชมรมแพะจังหวัด/เครือข่ายระดับเขต - ประเทศ
ระดับประเทศ ระดับเขต ชมรมจังหวัด กลุ่มผู้เลี้ยงแพะ เวทีจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วม - งานแพะแห่งชาติ - ประกวดกลุ่ม ดีเด่น - ประกวดเกษตรกร ดีเด่น - กรรมการ ตัดสินการประกวดแพะ รับรองฟาร์มผลิต และรับรองสายพันธุ์แพะ เวทีจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วม - งานแพะระดับเขต - ประกวดกลุ่ม ดีเด่น - ประกวดเกษตรกร ดีเด่น - กรรมการ ตัดสินการประกวดแพะ รับรองฟาร์มผลิต และรับรองสายพันธุ์แพะ เวทีจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วม - งานแพะระดับจังหวัด - ประกวดกลุ่ม ดีเด่น - ประกวดเกษตรกร ดีเด่น ฟาร์มสาธิต/ศูนย์เรียนรู้ โรงเชือดแพะมาตรฐานระดับชุมชน จุดสาธิตสถานที่แปรรูป และจำหน่ายผลิตภัณฑ์ จากแพะ เวทีจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วม - อบรม/ถ่ายทอดเทคโนโลยี ฟาร์มสาธิต/ศูนย์เรียนรู้ อาสาปศุสัตว์ประจำกลุ่ม/กองทุนเวชภัณฑ์-อาหาร อาสาผสมเทียมประจำกลุ่ม ลดต้นทุน โดยใช้หญ้า สด/หมัก ใช้วัตถุดิบอาหารสัตว์ในท้องถิ่น แพะขุน/กึ่งขุน แปรรูป เพิ่มมูลค่า เป็นผลิตภัณฑ์ ต่างๆ ส่งเสริมการบริโภค และสาธิตการตลาด : ร้านค้าชุมชน

5 ยุทธศาสตร์พัฒนาแพะระดับประเทศ/เขต/จังหวัด
งบ.กรมปศุสัตว์ งบ.จังหวัด/กลุ่มจังหวัด งบ.อปท. และอื่นๆ แผนงานโครงการพัฒนาแพะ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ดำเนินการทุกกลุ่ม/ราย เพิ่มมูลค่า ลดต้นทุนการผลิต ผลิตเป็นแพะพันธุ์ดี ผลิตเป็นแพะขุน แปรรูปเป็นอาหาร/ผลิตภัณฑ์ แปลงพืชอาหารสัตว์คุณภาพดี/ ผลผลิตสูง ใช้วัตถุดิบอาหารสัตว์ในท้องถิ่น/ที่มี ราคาถูก เพิ่มอัตราการเกิด/แม่/ปี ลดอัดตราการตาย

6 แนวทาง : โครงการ โครงการ หนึ่งศูนย์ (ศวป.เขต) หนึ่งผลิตภัณฑ์ (แพะ)
• One center one product. (แพะ) ใน ศวป. เขต 1, 6, 7, 8 และ 9 • งบประมาณ – ใช้งบ. หมุนเวียน ของ กรมฯ สนับสนุนปัจจัยการผลิตที่จำเป็น - ใช้ งบ ส.ส.ส. สนับสนุน เป็นปัจจัยการผลิตพื้นฐาน เช่น : ถังหมัก, เครื่องหั่น, ค่าวัสดุการเกษตรจัดทำแปลงหญ้าเนเปียร์ ค่าอาหารข้น/แร่ธาตุ/เวชภัณฑ์ ค่าจัดหาพันธุ์แพะ สำหรับขุน เป็นต้น • ศวป. เขต ร่วมกับ กลุ่มผู้เลี้ยงแพะ ที่มีศักยภาพ ผลิต และเชือดส่งซากแพะให้ กลุ่มวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์สัตว์ หรือ ศูนย์พัฒนาอุตสาหกรรมปศุสัตว์ จัดทำเป็นผลิตภัณฑ์ ต่างๆ ที่ตลาดต้องการ ส่งคืนให้ ศวป.เขต ไปสาธิต และส่งเสริมการตลาด ที่จุดหรือร้านค้าชุมชน • บาง ศวป.เขต สามารถร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่ ดำเนินการจัดทำเป็นผลิตภัณฑ์เองได้

7 ข. โครงการลดต้นทุนการผลิตแพะ
• ดำเนินการในจังหวัด พื้นที่ เขต 1, 6, 7, 8 และ 9 ร่วมกับ ศวป.เขต • แนวทางการโดยให้แต่ละ ศวป.เขต ดำเนินงานโดยเก็บข้อมูลต้นทุนการเลี้ยงแพะ 2 รูปแบบ ได้แก่ 1. แพะที่เลี้ยงด้วยหญ้าคุณภาพดี จำนวน 10 ราย 2. แพะที่เลี้ยงในสภาพทั่วไป จำนวน 10 ราย • สนับสนุน เป็นปัจจัยการผลิตพื้นฐานแก่เกษตรกรที่เลี้ยงแพะในรูปแบบที่ 1 เช่น : ถังหมัก, เครื่องหั่น, ค่าวัสดุการเกษตรจัดทำแปลงหญ้าเนเปียร์ ค่าอาหารข้น/แร่ธาตุ/เวชภัณฑ์ สำหรับขุน เป็นต้น • เก็บข้อมูลการเลี้ยงแพะ 1 รอบการผลิต แล้วเปรียบเทียบต้นทุนการเลี้ยงแพะ รายได้ผลตอบแทน จากการจำหน่ายแพะ ทั้ง 2 รูปแบบ

8 ค. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตแพะ
• ดำเนินการในจังหวัด พื้นที่ เขต 1, 6, 7, 8 และ 9 ร่วมกับ ศวป.เขต • สนง.ปศจ. ร่วมกับกลุ่มผู้เลี้ยงแพะ สำรวจและคัดเลือกฟาร์มแพะที่ มีอัตราการตายของลูกแพะช่วงแรกเกิด – หย่านม สูง และฟาร์มที่มีอัตราการให้ลูก ต่อแม่/ปี ต่ำ โดยร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไปปรับปรุงวิธีการจัดการเลี้ยง และพิจารณาจัดทำแปลงหญ้าเนเปียร์ฯ หรือพืชอาหารสัตว์ ชนิดอื่นๆ ที่เหมาะสมในฟาร์มเกษตรกรที่มีความพร้อม • เร่งรัด การจัดทำฟาร์มปลอดโรค บรูเซลโลซีส ในกลุ่มผู้เลี้ยงแพะทุกกลุ่ม อย่างน้อย กลุ่มละ 3 ราย

9

10

11


ดาวน์โหลด ppt นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google