งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่
การเฝ้าระวังเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่

2 ความเป็นมา จากการเฝ้าระวังฯ ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ของไทย ส่วน ใหญ่อาการไม่รุนแรง รายที่เสียชีวิตมักเป็นกลุ่มเสี่ยง ปรับระบบ ให้เก็บตัวอย่างส่งตรวจเฉพาะ ผู้ป่วยปอดอักเสบรุนแรงถึง เสียชีวิต และสงสัยดื้อยาต้านไวรัส เพิ่มระบบการเฝ้าระวังไวรัสไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ เฉพาะ พื้นที่ ใน รพ. 13 จุด ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 29 (19 ก.ค. 2552) สวส. กรมวิทย์ฯ มีระบบการเฝ้าระวังเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ ตั้งแต่ปี ในสถานพยาบาล 10 แห่ง 8 จังหวัด กรรมการด้านยุทธศาสตร์ไข้หวัดใหญ่ฯ กสธ. & การประเมินของ WHO expert team เห็นตรงกันว่า Influenza sentinel surv. มี ความจำเป็นต่อการประเมินสถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ในภาพรวม ของประเทศ และควรบูรณาการ ให้เป็นของ กสธ.

3 Number of H1N1 PDM reports by onset and diagnosis
Changing in testing policy Schools outbreak In BKK and periphery Onset

4 1st Sentinel surveillance กรมควบคุมโรค
ในพื้นที่ 13 โรงพยาบาล ตั้งแต่ สัปดาห์ที่ 29/2552 – 6/2553 (19 ก.ค – 13 ก.พ. 2553)

5 จุดเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่
เขต จังหวัด โรงพยาบาล 1 พระนครศรีอยุธยา 2 ลพบุรี 3 ฉะเชิงเทรา 4 สมุทรสาคร 5 นครราชสีมา มหาราชนครราชสีมา 6 อุดรธานี 7 อำนาจเจริญ อุบลราชธานี สรรพสิทธิประสงค์ 8 นครสวรรค์ สวรรค์ประชารักษ์ 9 พิษณุโลก พุทธชินราช 10 เชียงใหม่ นครพิงค์ 11 นครศรีธรรมราช มหาราชนครศรีธรรมราช 12 สงขลา BoE กรุงเทพมหานคร เจริญกรุงประชารักษ์

6 การเฝ้าระวังเชื้อไข้หวัดใหญ่เฉพาะพื้นที่ ภายใต้กรอบความร่วมมือ
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุขและสำนักระบาดวิทยา 10 สถานพยาบาล ใน 8 จังหวัด ดำเนินการ ตั้งแต่ พ.ศ ปัจจุบัน

7 จุดเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่
หน่วยงาน จังหวัด สถานบริการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จันทบุรี รพ.พระปกเกล้า ตราด รพ.เกาะช้าง หนองคาย รพ.หนองคาย ตาก รพ.แม่สอด เชียงราย รพ. เชียงแสน รพ. แม่จัน สุราษฏร์ธานี รพ.เกาะสมุย รพ.กรุงเทพ เกาะสมุย สงขลา รพ.หาดใหญ่ กรุงเทพฯ ศูนย์บริการสาธารณสุข 17

8 บูรณาการระบบเฝ้าระวัง เชื้อไข้หวัดใหญ่เฉพาะพื้นที่
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โดย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข (NIH) กรมควบคุมโรค โดย สำนักระบาดวิทยา (BoE)

9 จุดเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่
เขต จังหวัด โรงพยาบาล 1 พระนครศรีอยุธยา 2 ลพบุรี 3 ฉะเชิงเทรา 4 สมุทรสาคร 5 นครราชสีมา มหาราชนครราชสีมา 6 อุดรธานี 7 อุบลราชธานี สรรพสิทธิประสงค์ 8 นครสวรรค์ สวรรค์ประชารักษ์ 9 พิษณุโลก พุทธชินราช 10 เชียงใหม่ นครพิงค์ 11 นครศรีธรรมราช มหาราชนครศรีธรรมราช 12 ตรัง BoE กรุงเทพมหานคร นพรัตนราชธานี

10 จุดเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่
หน่วยงาน จังหวัด สถานบริการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จันทบุรี รพ.พระปกเกล้า* ตราด รพ.เกาะช้าง หนองคาย รพ.หนองคาย ตาก รพ.แม่สอด* เชียงราย รพ. เชียงแสน รพ. แม่จัน สุราษฏร์ธานี รพ.เกาะสมุย รพ.กรุงเทพ เกาะสมุย สงขลา รพ.หาดใหญ่ กรุงเทพฯ ศูนย์บริการสาธารณสุข 17 นนทบุรี สถาบันบำราศนราดูร** หมายเหตุ * เก็บ Pneumonia-IPD ** เพิ่งเริ่มดำเนินการ

11 จุดเฝ้าระวังเชื้อไข้หวัดใหญ่เฉพาะพื้นที่ ประเทศไทย
NIH 11 สถานพยาบาล 9 จังหวัด BOE 13 โรงพยาบาล 13 จังหวัด NIH BoE

12 วัตถุประสงค์ ให้ทราบถึงสัดส่วนของเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์ต่าง ๆ ในกลุ่มผู้ป่วยอาการคล้าย ไข้หวัดใหญ่ที่มารับบริการในแผนกผู้ป่วยนอก ของสถานพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง ให้ทราบถึงสัดส่วนของเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์ต่าง ๆ ในกลุ่มผู้ป่วยปอดอักเสบที่รับ ไว้รักษาในสถานพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง ใช้ร่วมประเมินสถานการณ์ไข้หวัดใหญ่ ใน ภูมิภาค ของประเทศ

13 กิจกรรมการดำเนินงาน ในแต่ละหน่วยงาน โรงพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ และ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 และ สำนักระบาดวิทยา

14 โรงพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง
เก็บข้อมูลผู้ป่วยที่รับการรักษาแบบผู้ป่วยนอก (OPD) รายสัปดาห์ จำนวนผู้ป่วยนอกทั้งหมด ที่มารับบริการในช่วงสัปดาห์ จำนวนผู้ป่วยนอก ตามรหัส ICD10 ดังนี้ J00, J02.9, J06.9, J09, J10, J11) เก็บข้อมูลผู้ป่วยปอดอักเสบที่นอนรักษาตัวใน รพ. (IPD) รายสัปดาห์ จำนวนผู้ป่วยในทั้งหมด ที่เข้ารับการรักษาในช่วงสัปดาห์ จำนวนผู้ป่วยปอดอักเสบที่นอนรักษาใน รพ. ตามรหัส ICD10 ตั้งแต่รหัส J12 ถึง J18 ส่งข้อมูลให้ สสจ. ทุกสัปดาห์ (จันทร์ หรือ อังคาร) หมายเหตุ สัปดาห์ นับจากวันอาทิตย์ ถึงวันเสาร์

15 ผู้ป่วยนอกที่รับบริการใน รพ. ผู้ป่วยที่รับไว้นอนรักษา ใน รพ.
จำนวนผู้ป่วย ILI ต่อจำนวนผู้ป่วยนอกที่มารับบริการทั้งหมด และจำนวนผู้ป่วย Admitted Pneumonia ต่อจำนวนผู้ป่วยในทั้งหมด รายสัปดาห์ โรงพยาบาล พ.ศ. 2553 สัปดาห์ที่ วันเริ่มต้นสัปดาห์ วันสิ้นสุดสัปดาห์ ผู้ป่วยนอกที่รับบริการใน รพ. ผู้ป่วยที่รับไว้นอนรักษา ใน รพ. จำนวนทั้งหมด (ราย) จำนวน ILI (J00, J02.9, J06.9, J09, J10, J11) % ILI ต่อ OPD visit Pneumonia (J12 ถึง J18) % Pneumonia ต่อ IPD 1 3-ม.ค.-53 9-ม.ค.-53 2 10-ม.ค.-53 16-ม.ค.-53 3 17-ม.ค.-53 23-ม.ค.-53 4 24-ม.ค.-53 30-ม.ค.-53 5 31-ม.ค.-53 6-ก.พ.-53 6 7-ก.พ.-53 13-ก.พ.-53 7 14-ก.พ.-53 20-ก.พ.-53 8 21-ก.พ.-53 27-ก.พ.-53 9 28-ก.พ.-53 6-มี.ค.-53 10 7-มี.ค.-53 13-มี.ค.-53 11 14-มี.ค.-53 20-มี.ค.-53 12 21-มี.ค.-53 27-มี.ค.-53 13 28-มี.ค.-53 3-เม.ย.-53

16 โรงพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง
สุ่มเก็บตัวอย่างจากผู้ป่วยนอกที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ (ILI) ตามนิยามผู้ป่วย ดังนี้ “ผู้ป่วยที่มีไข้สูง วัดอุณหภูมิร่างกายได้ตั้งแต่ 38 ๐C ขึ้นไป หรือ ให้ประวัติว่ามีไข้ ร่วมกับไอ และ/หรือ เจ็บคอ ในช่วง 5 วันที่ ผ่านมา” เก็บตัวอย่าง Throat swab or Nasopharyngeal swab จาก ผู้ป่วยนอก ILI ตามนิยาม 10 ราย ต่อ สัปดาห์ พร้อมกรอก รายละเอียดในใบนำส่ง โดยแบ่งสุ่มเก็บตัวอย่าง เป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ เด็ก อายุ 1 วัน ถึง 15 ปี จากแผนกผู้ป่วยนอกกุมารเวชกรรม จำนวน 5 ตัวอย่าง ผู้ใหญ่ อายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป จากแผนกผู้ป่วยนอกอายุรกรรม จำนวน 5 ตัวอย่าง หมายเหตุ ทำการเก็บตัวอย่างในวัน-เวลาราชการ ควรเก็บทุกวันจันทร์

17 โรงพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง
สุ่มเก็บตัวอย่าง Throat swab หรือ Nasopharyngeal swab หรือ Nasopharyngeal aspirate จากผู้ป่วยที่แพทย์วินิจฉัย เป็นปอดอักเสบและรับไว้นอนรักษาในโรงพยาบาล (admitted pneumonia) จำนวน 5 ราย ต่อ สัปดาห์ พร้อม กรอกรายละเอียดในใบนำส่ง สามารถทำการเก็บตัวอย่างได้ตั้งแต่วันจันทร์ ถึง วันพุธ ให้ครบ ตามขนาดตัวอย่างที่กำหนด นำส่งตัวอย่างที่เก็บได้ ในแต่ละสัปดาห์ ให้ถึงห้องปฏิบัติการ ที่กรม/ศูนย์ วิทยาศาสตร์การแพทย์ ภายในวันพุธ/พฤหัส ของแต่ละสัปดาห์ พร้อมหนังสือนำส่ง (อาจนำส่งโดยตรง หรือ ประสานให้ สสจ.นำส่ง แล้วแต่กรณี) หมายเหตุ ทำการเก็บตัวอย่างในวัน-เวลาราชการ

18 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
เป็นแกนประสานการดำเนินงาน ระหว่าง รพ., ศูนย์/กรม วิทยาศาสตร์การแพทย์, และ สคร.:- ประสาน และ นำส่งตัวอย่างไปตรวจหาเชื้อไข้หวัดใหญ่ ที่ ศูนย์/กรม วิทยาศาสตร์การแพทย์ ทุกสัปดาห์ ขึ้นกับแต่ละจังหวัด รวบรวมข้อมูล ILI – OPD , Pneumonia – IPD ส่งให้ สคร.ที่รับผิดชอบ และสำเนาส่ง สำนักระบาด โดยทาง หรือ โทรสาร วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสถานการณ์โรค ไข้หวัดใหญ่ของจังหวัด สรุปสถานการณ์เสนอผู้บริหารระดับจังหวัด และ ผู้ตรวจราชการ เขต

19 ศูนย์/กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ดำเนินการตรวจวิเคราะห์ โดยวิธี RT- PCR เพื่อหา เชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ (Influenza virus) พร้อม ทั้งจำแนกสายพันธุ์ รายงานผลการตรวจไปให้หน่วยงานที่ส่งตรวจ และสำนักระบาดวิทยา ทุกสัปดาห์ (ทุกวันจันทร์)

20 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตัวอย่างส่งตรวจ :- Throat swab, Nasopharyngeal aspiration, secretion Positive PCR for Influenza Negative รายงาน Neg Influenza B Influenza A รายงาน new Flu A 2009 PCR for Influenza A : H1 2009 Positive รายงาน Flu B Negative รายงาน seasonal Flu A:H1 PCR for Influenza A : H1 seasonal Positive Negative รายงาน seasonal Flu A:H3 PCR for Influenza A : H3 Positive Negative รายงาน Influenza A unsubtype

21 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์, สคร. และ สนร.
ประสาน สนับสนุนการดำเนินงาน ด้านต่าง ๆ :- วิชาการ งบประมาณค่าตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ ไข้หวัดใหญ่ ระดับภาค ประเทศ ทุกสัปดาห์ จัดทำสถานการณ์เสนอผู้บริหาร และส่งกลับให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ประโยชน์ร่วมกัน ทุก สัปดาห์

22 หน่วยงานที่ตรวจตัวอย่าง
รายชื่อจังหวัด โรงพยาบาล ห้องปฏิบัติการ และหน่วยประสาน การดำเนินงานเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่ ตั้งแต่ ก.พ. 2553 ลำ ดับ จังหวัด โรงพยาบาลที่เป็น จุดเฝ้าระวัง หน่วยงานประสาน หน่วยงานที่ตรวจตัวอย่าง 1 พระนครศรีอยุธยา รพ.พระนครศรีอยุธยา สคร.ที่ 1 สวส. กรมวิทย์ 2 ลพบุรี รพ.ลพบุรี สคร.ที่ 2 ศวก.นครสวรรค์ 3 ฉะเชิงเทรา รพ.ฉะเชิงเทรา สคร.ที่ 3 ศวก.ชลบุรี 4 สมุทรสาคร รพ.สมุทรสาคร สคร.ที่ 4 ศวก.สมุทรสงคราม 5 นครราชสีมา รพ.มหาราชนครราชสีมา สคร.ที่ 5 ศวก.นครราชสีมา 6 อุดรธานี รพ.อุดรธานี สคร.ที่ 6 ศวก.อุดรธานี 7 อุบลราชธานี รพ.สรรพสิทธิประสงค์ สคร.ที่ 7 ศวก.อุบลราชธานี 8 นครสวรรค์ รพ.สวรรค์ประชารักษ์ สคร.ที่ 8 9 พิษณุโลก รพ.พุทธชินราช สคร.ที่ 9 ศวก.พิษณุโลก 10 เชียงใหม่ รพ.นครพิงค์ สคร.ที่ 10 ศวก.เชียงใหม่ 11 นครศรีธรรมราช รพ.มหาราชนครศรีธรรมราช สคร.ที่ 11 ศวก.ตรัง 12 ตรัง รพ.ตรัง สคร.ที่ 12 13 กรุงเทพมหานคร รพ.นพรัตนราชธานี สนร.

23 ผลการเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่
จาก โรงพยาบาล 13 แห่ง สัปดาห์ที่ 29/ /53 (วันที่ 19 ก.ค ก.ย. 2553)

24 จำนวน และสัดส่วน (%) ที่ตรวจพบเชื้อไข้หวัดใหญ่ จำแนกตามสายพันธุ์ กลุ่มผู้ป่วย ILI ที่รับบริการในแผนกผู้ป่วยนอก ของโรงพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 29/2552 – 36/2553 (วันที่ 19 ก.ค – 11 ก.ย. 2553) จำนวน (ราย) % เปลี่ยนจุดเฝ้าระวัง 2 แห่ง

25 จำนวน และสัดส่วน (%) ที่ตรวจพบเชื้อไข้หวัดใหญ่ จำแนกตามสายพันธุ์ กลุ่มผู้ป่วยปอดอักเสบ ที่รับไว้ในโรงพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 29/2552 – 36/2553 (วันที่ 19 ก.ค – 11 ก.ย. 2553) จำนวน (ราย) % เปลี่ยนจุดเฝ้าระวัง 2 แห่ง

26 ภาคกลาง 5 sentinel site :- เขต 1 รพ.พระนครศรีอยุธยา เขต 2 รพ.ลพบุรี
เขต 1 รพ.พระนครศรีอยุธยา เขต 2 รพ.ลพบุรี เขต 3 รพ.ฉะเชิงเทรา เขต 4 รพ.สมุทรสาคร สนร. รพ.เจริญกรุงประชารักษ์ (สัปดาห์ที่ 1-6) รพ.นพรัตนราชธานี (ดำเนินการตั้งแต่สัปดาห์ที่ 7/2553)

27 จำนวน และสัดส่วน (%) ที่ตรวจพบเชื้อไข้หวัดใหญ่ จำแนกตามสายพันธุ์ กลุ่มผู้ป่วย ILI ที่รับบริการในแผนกผู้ป่วยนอก ของโรงพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง 5 แห่ง ในภาคกลาง ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 29/2552 – 36/2553 (วันที่ 19 ก.ค – 11 ก.ย. 2553) จำนวน (ราย) %

28 จำนวน และสัดส่วน (%) ที่ตรวจพบเชื้อไข้หวัดใหญ่ จำแนกตามสายพันธุ์ กลุ่มผู้ป่วยปอดอักเสบ ที่รับไว้ในโรงพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง 5 แห่ง ในภาคกลาง ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 29/2552 – 36/2553 (วันที่ 19 ก.ค – 11 ก.ย. 2553) จำนวน (ราย) %

29 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
3 sentinel site :- เขต 5 รพ.มหาราชนครราชสีมา เขต 6 รพ.อุดรธานี เขต 7 รพ.สรรพสิทธิประสงค์

30 จำนวน และสัดส่วน (%) ที่ตรวจพบเชื้อไข้หวัดใหญ่ จำแนกตามสายพันธุ์ กลุ่มผู้ป่วย ILI ที่รับบริการในแผนกผู้ป่วยนอก ของโรงพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง 3 แห่ง ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 29/2552 – 36/2553 (วันที่ 19 ก.ค – 11 ก.ย. 2553) จำนวน (ราย) %

31 จำนวน และสัดส่วน (%) ที่ตรวจพบเชื้อไข้หวัดใหญ่ จำแนกตามสายพันธุ์ กลุ่มผู้ป่วยปอดอักเสบ ที่รับไว้ในโรงพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง 3 แห่ง ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 29/2552 – 36/2553 (วันที่ 19 ก.ค – 11 ก.ย. 2553) จำนวน (ราย) %

32 ภาคเหนือ 3 sentinel site :- เขต 8 รพ.สวรรค์ประชารักษ์
เขต 8 รพ.สวรรค์ประชารักษ์ เขต 9 รพ.พุทธชินราช เขต 10 รพ.นครพิงค์

33 จำนวน และสัดส่วน (%) ที่ตรวจพบเชื้อไข้หวัดใหญ่ จำแนกตามสายพันธุ์ กลุ่มผู้ป่วย ILI ที่รับบริการในแผนกผู้ป่วยนอก ของโรงพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง 3 แห่ง ในภาคเหนือ ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 29/2552 – 36/2553 (วันที่ 19 ก.ค – 11 ก.ย. 2553) จำนวน (ราย) %

34 จำนวน และสัดส่วน (%) ที่ตรวจพบเชื้อไข้หวัดใหญ่ จำแนกตามสายพันธุ์ กลุ่มผู้ป่วยปอดอักเสบ ที่รับไว้ในโรงพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง 3 แห่ง ในภาคเหนือ ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 29/2552 – 36/2553 (วันที่ 19 ก.ค – 11 ก.ย. 2553) จำนวน (ราย) %

35 ภาคใต้ 2 sentinel site :- เขต 11 รพ.มหาราชนครศรีธรรมราช
เขต 11 รพ.มหาราชนครศรีธรรมราช เขต 12 รพ.ตรัง (ดำเนินการตั้งแต่สัปดาห์ที่ 11/2553)

36 จำนวน และสัดส่วน (%) ที่ตรวจพบเชื้อไข้หวัดใหญ่ จำแนกตามสายพันธุ์ กลุ่มผู้ป่วย ILI ที่รับบริการในแผนกผู้ป่วยนอก ของโรงพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง 2 แห่ง ในภาคใต้ ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 29/2552 – 36/2553 (วันที่ 19 ก.ค – 11 ก.ย. 2553) % จำนวน (ราย)

37 จำนวน และสัดส่วน (%) ที่ตรวจพบเชื้อไข้หวัดใหญ่ จำแนกตามสายพันธุ์ กลุ่มผู้ป่วยปอดอักเสบ ที่รับไว้ในโรงพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง 2 แห่ง ในภาคใต้ ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 29/2552 – 36/2553 (วันที่ 19 ก.ค – 11 ก.ย. 2553) จำนวน (ราย) %

38 ผลการเฝ้าระวังเชื้อไข้หวัดใหญ่เฉพาะพื้นที่ NIH ประจำสัปดาห์ที่ 36 พ. ศ

39 Influenza Positive cases by influenza Surveillance Network by month, 2004 – 2009 ( 5 years)
2005 2006 2007 2008 2009 39

40 Influenza Positive cases by influenza Surveillance Network by week, Jan- 11 Sep 2010

41 สัดส่วนของผู้ป่วย ILI และ สัดส่วนตัวอย่างที่ตรวจพบเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ จากสถานพยาบาลเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่รวม 11 แห่ง ตั้งแต่ มกราคม ถึง 11 ก.ย. 2553 % week

42 สัดส่วนของผู้ป่วย ILI จากสถานพยาบาลเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่รวม 11 แห่ง ตั้งแต่ มกราคม ถึง 11 ก.ย เทียบกับ ค่าพื้นฐาน

43 Influenza subtypes by region 2005-2008 ( 4 years)
2005: A / (H3) 2006: A / (H1) 2007: A / (H3) 2008: B Thai NIH, DMSc, Thailand MoPH 09/04/60 Krongkaew Supawat , NIH 43 43

44 การประเมินสถานการณ์ในพื้นที่
การเพิ่มขึ้นของ ILI, pneumonia มีในพื้นที่ อำเภอใดบ้าง เมื่อไร การตรวจพบเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์อะไร ในพื้นที่ใดบ้าง จำนวน influenza และ pnuemonia ใน 506 สูง กว่าค่าเฉลี่ย 5 ปีที่ผ่านมา น่าจะเกิดการระบาดใน พื้นที่ สัดส่วนการตรวจพบเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ใน ILI และ pneumonia ทีได้จาก sentinel นำมา คำนวณเทียบกับ ILI และ pneumonia เพื่อ ประมาณการ

45 สัดส่วนผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ต่อผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่รับบริการในสถานพยาบาล ประเทศไทย พ.ศ.2553 ณ วันที่ 17 ก.ย.2553

46 จำนวนผู้ป่วย/เสียชีวิต โรคไข้หวัดใหญ่ & ปอดอักเสบ จากระบบรายงาน 506, พ
จำนวนผู้ป่วย/เสียชีวิต โรคไข้หวัดใหญ่ & ปอดอักเสบ จากระบบรายงาน 506, พ.ศ. 2553 โรคไข้หวัดใหญ่ วันที่ 1 ม.ค.- 18 ก.ย. 2553 จำนวนผู้ป่วย 59,412 ราย เสียชีวิต 83 ราย โรคปอดอักเสบ วันที่ 1 ม.ค.- 18 ก.ย. 2553 จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 104,010 ราย เสียชีวิต 721 ราย

47 จำนวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่รายเดือน ตั้งแต่พ. ศ
จำนวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่รายเดือน ตั้งแต่พ.ศ ถึง 2553 เปรียบเทียบค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี จำนวนผู้ป่วย (ราย) สัปดาห์ที่ ที่มา: รง506 สำนักระบาดวิทยา

48 จำนวนผู้ป่วยปอดอักเสบ รายเดือน ตั้งแต่พ. ศ. 2552 ถึง ก. ย
จำนวนผู้ป่วยปอดอักเสบ รายเดือน ตั้งแต่พ.ศ ถึง ก.ย เปรียบเทียบค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี จำนวนผู้ป่วย (ราย) สัปดาห์ที่ ที่มา: รง506 สำนักระบาดวิทยา

49 จำนวนผู้ป่วยปอดอักเสบรายสัปดาห์ ระหว่างปี พ.ศ.2548 – 2553
จำนวนผู้ป่วยปอดอักเสบรายสัปดาห์ ระหว่างปี พ.ศ.2548 – 2553 จำนวนผู้ป่วย (ราย) ที่มา: รง506 สำนักระบาดวิทยา สัปดาห์ที่

50 การรายงานจำนวนผู้ป่วย/เสียชีวิต ที่ตรวจพบเชื้อไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 พ.ศ. 2553
ณ วันที่ 18 กันยายน 2553 ได้รับรายงานเพิ่มเติมดังนี้ ผู้ป่วยยืนยันสะสมตั้งแต่ 1 ม.ค.- 18 ก.ย ,152 ราย เป็นผู้ป่วยรายใหม่ตั้งแต่ 5-18 ก.ย ราย ผู้ป่วยเสียชีวิตสะสมตั้งแต่ 1 ม.ค.- 18 ก.ย ราย เป็นผู้เสียชีวิตรายใหม่ตั้งแต่ 5-18 ก.ย ราย อีก 2 รายเสียชีวิต (จังหวัดชุมพร และลพบุรี)

51 จำนวนผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตที่ยืนยันการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ H1N1: 2009 เทียบกับจำนวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับรายงาน 506 จำแนกตามสัปดาห์ที่เริ่มป่วย, ม.ค.- 11 ก.ย.2553 ผู้ป่วย (ราย) เสียชีวิต (ราย) Resource : surveillance database of BOE

52 ข้อมูลประกอบเพิ่มเติม ดูความรุนแรงของโรคและการแพร่ระบาด
ข้อมูลการระบาดเป็นกลุ่มก้อน ข้อมูลผู้เสียชีวิต

53 E-mail โทรศัพท์ โทรสาร สำนักระบาดวิทยา
โทรสาร โทรศัพท์ ,

54 Thank you for your attention


ดาวน์โหลด ppt การเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google