งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผลการติดตามของสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผลการติดตามของสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 ผลการติดตามของสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน
มาตรการเพิ่มรายได้ให้แก่ผู้มีรายได้น้อย ไม่สอดคล้องกับข้อมูลพื้นที่ที่ขึ้นทะเบียนของเกษตรกร

3 การตรวจสอบนิยามคำว่า “พื้นที่การทำนา”
“นาข้าว” ตามราชบัณฑิตสถาน หมายความถึง “พื้นที่ราบทำเป็นคันกั้นน้ำเป็นแปลงๆสำหรับปลูกข้าว” สตง. วัดเฉพาะพื้นที่ที่มีต้นข้าวยืนต้นอยู่ในแปลง

4 ผลการตรวจพื้นที่ สตง.และของสำนักงานเกษตรจังหวัด
1. กรุเทพมหานคร 22 ราย (23 แปลง) 2.สมุทรปราการ 4 ราย 3.ลพบุรี 4 ราย 4. นครนายก 5 ราย 5. ชลบุรี 4 ราย 6. สระบุรี ราย 7. พระนครศรีอยุธยา 1 ราย 1.

5 ผลการตรวจวัดพื้นที่ซ้ำเทียบกับที่แจ้งขึ้นทะเบียน
จังหวัด จำนวน ราย ผลการวัดของ สตง. ผลการวัดซ้ำ มากกว่า เท่ากับ น้อยกว่าที่แจ้ง <11% ≥11% 1.กทม. 22 (23แปลง) 6 7 10 4 3 2.สมุทรปราการ - 1 2 3.ลพบุรี 4.นครนายก 5 5.ชลบุรี 26.สระบุรี (3แปลง) 7.อยุธยา ปปท+DSI

6 ผลการตรวจสอบ โดยเทียบกับภาพดาวเทียม
GPS 3 วันที่ตรวจสอบข้อมูล 21 มกราคม 2558 GPS 2 ผลการตรวจสอบ โดยเทียบกับภาพดาวเทียม พบว่า การเดินโดย GPS 3 ได้รูปร่างของพื้นที่ใกล้เคียงกับพื้นที่เพาะปลูกของเกษตรกรที่แจ้งไว้มากที่สุด GPS 1

7 การตรวจสอบ สภาพเครื่อง พบว่า
การตั้งค่า track ไม่เหมือนกัน เครื่อง GPS 1 และ 2 ตั้งค่าความถี่ในการบันทึกอยู่ที่ 0.1 km เครื่อง GPS 3 ตั้งค่าความถี่ในการบันทึกอยู่ที่ ความถี่ปกติ

8 ปัญหาการตรวจสอบ ของ สตง.
1.เจ้าหน้าที่สตง. ทำการวัดเฉพาะพื้นที่ ที่มีต้นข้าวยืนต้นอยู่ใน แปลง คือ หักพื้นที่ ปลูกที่เสียหายจากภัยแล้ง/น้ำท่วม หักพื้นที่ คันนา หักพื้นที่ร่องน้ำในแปลง ออก 2. สตง. บางพื้นที่ยอมรับค่าความคลาดเคลื่อนของพื้นที่คำนวณได้ จากโปรแกรม Visual Basic For Applicationsไม่เท่ากัน เช่น จังหวัด ชลบุรีให้ 0 % นนทบุรีให้ 10 % สมุทรปราการให้ 20% 3. ความชำนาญในการใช้เครื่องจับพิกัด GPS และศักยภาพของเครื่อง GPS ทำให้ค่าที่วัดได้แตกต่างกัน

9 ปัญหาการตรวจสอบ ของ สตง. (ต่อ)
4. รูปแปลงนาไม่เป็นรูปทรงที่จะใช้ในการเก็บค่าพิกัดให้ใกล้เคียง พื้นที่จริง และเจ้าหน้าที่ สตง. วัดค่าพิกัดที่มุมแปลง เพียง 4 มุม และวัดค่าพิกัดเพียงครั้งเดียว 6. เกษตรกรแจ้งพื้นที่ปลูกตามค่าเช่านา ค่ารถไถ ค่ารถเกี่ยว ไม่เคย มีการวัดพื้นที่จริง

10 สรุปการดำเนินการต่อไป
1.เชิญ สตง. ในวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา น. ห้อง 134 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อหารือในประเด็น ปัญหา 2. ให้กรมส่งเสริมการเกษตร จัดเตรียมข้อมูลที่ใช้ชี้แจง สตง. เช่น หาค่าคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการใช้เครื่องGPS วัดค่าพื้นที่ 3. ข้อมูลระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี เกี่ยวกับมาตรการวัดพื้นที่

11 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt ผลการติดตามของสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google