งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

องค์ประกอบสังคมอยุธยา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "องค์ประกอบสังคมอยุธยา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 องค์ประกอบสังคมอยุธยา

2 ศูนย์กลางความรู้ ทาส ไพร่ แผนผัง พระสงฆ์ ขุนนาง กษัตริย์ เจ้านาย
ผู้จัดทำ

3

4 ทาส ทาส หมายถึง บุคคลซึ่งถูกนับสิทธิเสมือนสิ่งของของผู้อื่น ไม่มีอิสระในการดำรงชีวิต และมีหน้าที่รับใช้ผู้อื่นโดยมิได้รับการตอบแทนจาก นายทาส เช่น การรับใช้ทางด้านแรงงาน และหากไม่เชื่อฟังคำสั่ง อาจถูกลงโทษได้ตามแต่นายทาสจะกำหนด ยกเว้นเป็นการกระทำอันทำให้ถึงแก่ความตาย แบ่งได้ 5 ประเภท 1.ทาสชั้นต่ำสุดของสังคม 2.ทาสสินไถ่ 3.ทาสในเรือนเบี้ย 4.ทาสมีผู้ให้ 5.ทาสเชลย

5 พระสงฆ์ พระสงฆ์ หมายถึง สาวกของพระพุทธเจ้า ผู้ซึ่งฟังคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าแล้วเลื่อมใส สละเรือนออกบวช ถือวัตร ปฏิบัติตามพระธรรวินัย  ที่พระบรมศาสดา สั่งสอนและกำหนดไว้และเป็นศูนย์รวมจิตใจแก่ประชาชนในเมืองทุกคน

6 ไพร่ ไพร่ หมายถึง สามัญชนทั่วไปที่ไม่ได้อยู่ในฐานะทาส หรือเจ้าขุนมูลนาย มีอิสระในการประกอบอาชีพ การตั้งบ้านเรือน มีครอบครัว มีศักดินา ไร่ และต้องสังกัดมูลนาย จะโยกย้ายสังกัดไม่ได้ ไพร่ที่ขึ้นสังกัดหรือสักเลกแล้ว จะปรากฏเครื่องหมายสังกัดที่ข้อมือ หากสามัญชนผู้ใดไม่ได้สังกัดมูลนายจะไม่ได้รับการคุ้มครองจากกฎหมาย ไพร่มีหน้าที่ในการถูกเกณฑ์แรงงาน หรือเสีย "ส่วย" และถูกเกณฑ์ทหารในยามที่มีศึกสงคราม มีสองประเภทคือ ไพร่หลวง และ ไพร่สม แบ่งได้ 4ประเภท 1.ไพร่หลวง 2.ไพร่สม 3.ไพร่ส่วย 4.ราษฎรทั่วไป

7 เจ้านาย เจ้านาย หมายถึง นายจ้างของงานต่างๆ ลูกจ้างทุกคนต้องเชื่อฟังคำสั่ง แต่นายจ้างไม่มีสิทธิในการทำร้ายหรือทรมานลูกจ้างแม้แต่ใดๆ แบ่งมาจากการเป็นเชื้อพระวงศ์ของพระมหากษัตริย์ และ ยศถาบรรดาศักดิ์ (อิสริยยศ,สกุลยศ)

8 ขุนนาง ขุนนาง คือข้าราชการที่ได้รับพระราชทานยศถาบรรดาศักดิ์
ขุนนาง คือข้าราชการที่ได้รับพระราชทานยศถาบรรดาศักดิ์ ราชทินนามและศักดินาตั้งแต่ 400 ขึ้นไป โดยขุนนางเป็นผู้ที่กำเนิดจากสามัญชน อาจจะมาจากครอบครัวชั้นสูงหรือชั้นต่ำในสังคมก็ได้ ฉะนั้นขุนนางเกิดจากการใช้พระราชอำนาจของกษัตริย์ สามัญชนที่มีโอกาสถวายตัวรับราชการกับกษัตริย์และได้รับศักดินา 400 ขึ้นไป หรืออาจมีข้อยกเว้นหากมีศักดินาต่ำกว่า 400 แต่รับราชการในกรมมหาดเล็กก็จัดเป็นขุนนาง ทั้งนี้ขุนนางในกรมมหาดเล็กจะได้รับการเลือกสรรโดยตรงจากพระมหากษัตริย์

9 พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ หมายถึง ประมุขหรือผู้ปกครองสูงสุดของรัฐ แคว้น หรือแม้กระทั่ง อาณาจักร เป็นจุดยึดเหนี่ยวจิตใจและความมั่นคงของอาณาจักรของตนเอง การสืบสันตติวงศ์ของพระมหากษัตริย์จะสืบทอดต่อกันมาโดยเชื้อพระวงศ์ เรียกว่าพระราชวงศ์ เมื่อสิ้นสุดการสืบทอดโดยเชื้อพระวงศ์ด้วยเหตุใดเหตุหนึ่ง พระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่จะเป็นตันพระราชวงศ์ใหม่ หรือเป็นผู้สถาปนาพระราชวงศ์ พระมหากษัตริย์อาจมีคำเรียกแตกต่างกัน เช่น พระราชาธิบดี พระจักรพรรดิ พระราชา เจ้ามหาชีวิต เป็นต้น

10 เด็กชาย กันตชาติ เหล่ากอ มัธยมศึกษาปีที่ 2/3 เลขที่ 1 เสนอ
ผู้จัดทำ เด็กชาย กันตชาติ เหล่ากอ มัธยมศึกษาปีที่ 2/3 เลขที่ 1 เสนอ อาจารย์ ภาวนา พลอินทร์ อาจารย์ จริญญา ม่วงจีน สื่อในเสนอนี้เป็นส่วนหนึ่งในรายวิชา ประวัติศาสตร์ และ วิชาคอมพิวเตอร์(สื่อนำเสนอ power point)

11 ขอบคุณที่รับชม Thank you


ดาวน์โหลด ppt องค์ประกอบสังคมอยุธยา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google