งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การแก้ไขปัญหากระเทียมตกต่ำ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การแก้ไขปัญหากระเทียมตกต่ำ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การแก้ไขปัญหากระเทียมตกต่ำ

2 ภาวะการผลิตของประเทศ
ประเทศ/ภาค/จังหวัด เนื้อที่เพาะปลูก (ไร่) เนื้อที่เก็บเกี่ยว (ไร่) ผลผลิต (ตัน) ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรัม) 2550 2551 %+/- รวมทั้งประเทศ 76,324 82,072 7.53 81,577 74,711 82,387 10.27 979 1,004 2.55 ภาคเหนือ ภาคอีสาน 73,059 3,265 78,258 3,814 6.64 14.39 77,805 3,770 72,315 2,396 79,526 2,861 9.97 19.39 990 734 1,016 750 2.63 2.18 เชียงราย พะเยา ลำปาง ลำพูน เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ตาก 7,772 9,161 8,894 9,211 23,051 10,920 1,512 8,425 9,454 9,312 9,501 25,913 11,418 1,556 7.75 3.10 4.49 3.05 11.04 4.36 2.83 8,364 9,400 9,273 9,479 25,785 11,334 1,549 7,391 7,100 7,089 9,754 26,739 10,865 1,483 8,130 7,412 7,561 10,328 30,914 11,589 1,551 10.00 4.39 6.66 5.88 15.61 6.67 4.61 951 775 797 1,059 1,160 995 981 965 784 812 1,087 1,193 1,015 997 1.47 1.16 1.88 2.64 2.84 2.01 1.63

3 ภาวะการผลิตของประเทศ
ประเทศ/ภาค/จังหวัด เนื้อที่เพาะปลูก (ไร่) เนื้อที่เก็บเกี่ยว(ไร่) ผลผลิต (ตัน) ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรัม) 2550 2551 %+/- แพร่ น่าน อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ ศรีสะเกษ ชัยภูมิ นครราชสีมา 517 832 291 898 1,881 597 787 541 865 341 932 2,249 625 940 4.44 3.82 14.66 3.65 16.36 4.48 16.28 533 853 325 910 2,220 618 934 376 537 224 757 1,369 464 563 403 569 266 802 1,669 493 699 7.05 5.99 18.74 6.00 21.90 6.14 24.22 727 645 770 843 728 776 715 744 658 780 861 742 788 2.34 2.02 1.30 2.14 1.92 1.55 4.06

4 เปรียบเทียบพื้นที่เพาะปลูกปี 2550-2551

5 เปรียบเทียบผลผลิตปี 2550-2551

6 ภาวะการผลิตของจังหวัดเชียงใหม่
รายการ ปีเพาะปลูก 2547/48 2548/49 2549/50 2550/51 พื้นที่ปลูก (ไร่) 29,581 22,080 20,536 27,533 พื้นที่สูญหาย (ไร่) - พื้นที่เก็บเกี่ยว (ไร่) ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่) น้ำหนักสด 3,480 3,956 3,530 3,985 ผลผลิตน้ำหนักรวม (ตัน) น้ำหนักสด 102,942 87,349 72,420 109,719 ต้นทุนการผลิต (บาท/กก.) 5.46 4.03 6.08 5.44 ราคา (บาท/กก.) น้ำหนักสด 4-7 8-10 8-15

7 การชุมนุมของผู้ผลิตกระเทียม

8 คาราวานกระเทียม นายยรรยง พวงราช อธิบดีกรมการค้าภายใน นางสาวเรืองวรรณ บัวนุช และ นายไพโรจน์ แสงภู่วงษ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกันปล่อยคาราวานกระเทียมของกลุ่มภาคเหนือตอนบน ที่บริเวณหน้าศาลากลางจังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2551

9 ที่ปรึกษารองนายกฯ ร่วมประชุมแก้ไขปัญหา
นายอริสมันต์ พงศ์เรืองรอง ที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ พร้อมทั้ง นางสาวพิกุล ทักษิณวราจาร รองอธิบดีกรมการค้าภายใน และนายประสิทธิ์ วุฒินันชัย สส.เขต 3 จังหวัดเชียงใหม่ ได้เดินทางมาร่วมประชุมแก้ไขปัญหากับตัวแทนเกษตรกรที่มาชุมนุม เรียกร้อง ณ ห้องประชุมสำนักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2551

10 ณ ห้องประชุมศาลากลางจังหวัดเชียงใหม่
การประชุมซื้อขาย นางสาว พิกุล ทักษิณวราจาร รองอธิบดีกรมการค้าภายใน นำผู้ซื้อ ประกอบด้วย บริษัท บิ๊กซีซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) บริษัท เซ็นคาร์ จำกัด บริษัท เอกชัยดิสทริบิวชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัท เซ็นทรัลฟู้ดรีเทล จำกัด บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน) บริษัท เดอะมอลล์กรุ๊ป จำกัด มาตกลงทำสัญญารับซื้อกระเทียมจากสหกรณ์ผู้ปลูกกระเทียมอำเภอแม่แตง เชียงดาว ฝาง ไชยปราการ และสหกรณ์การเกษตรท่าตอน (อ.แม่อาย) ณ ห้องประชุมศาลากลางจังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2551

11 ผู้ร่วมทำข้อตกลง ผู้ซื้อ ผู้ขาย
1. บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) 2. บริษัท เซนคาร์ จำกัด 3. บริษัทเอกชัย ดิสทริบิวชั่น จำกัด (มหาชน) 4. บริษัท เซ็นทรัล ฟู้ด รีเทล จำกัด 5. บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน) 6. บริษัท เดอะมอลล์กรุ๊ป จำกัด 1. สหกรณ์ผู้ปลูกกระเทียมอำเภอแม่แตง จำกัด 2. สหกรณ์ผู้ปลูกกระเทียมอำเภอเชียงดาว จำกัด 3. สหกรณ์การเกษตรท่าตอน จำกัด 4. สหกรณ์ผู้ปลูกกระเทียมอำเภอฝาง จำกัด 5. สหกรณ์ผู้ปลูกกระเทียมและหอมแดง อำเภอไชยปราการ จำกัด

12 ข้อตกลง พฤษภาคม - สิงหาคม 2551 แยกเป็น
1. ผู้ซื้อตกลงจะรับซื้อกระเทียมเบื้องต้น จำนวน 100 ตัน/เดือน ตั้งแต่เดือน พฤษภาคม - สิงหาคม 2551 แยกเป็น กระเทียมขนาดใหญ่ ร้อยละ 30 ขนาดกลาง ร้อยละ 30 ขนาดเล็ก ร้อยละ 25 กระเทียมแกะกลีบเกรดคละ ร้อยละ 15 2. ราคารับซื้อเบื้องต้น ตามขนาดดังนี้ 1) กระเทียมแห้งมัดจุก ขนาดใหญ่ กก.ละ 25 บาท 2) กระเทียมแห้งมัดจุก ขนาดกลาง กก.ละ 23 บาท 3) กระเทียมแห้งมัดจุก ขนาดเล็ก กก.ละ 20 บาท 4) กระเทียมแห้งแกะกลีบ ขนาดคละ กก.ละ 25 บาท ทั้งนี้ ผู้ซื้อจะรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการบรรจุหีบห่อ ค่าขนส่ง ตลอดจนค่าใช้จ่ายอื่นที่อาจเกิดขึ้นโดยความต้องการของผู้ซื้อ

13 ข้อตกลง 3. การกำหนดราคาซื้อขาย จะตกลงกันสัปดาห์ละ 1 ครั้ง โดยใช้ราคาตลาดเป็นเกณฑ์ 4. คุณภาพกระเทียม ต้องได้ขนาดตามที่ตกลง และเป็น กระเทียมแห้งสนิท 100% 5. การส่งมอบ ผู้ขายจะส่งมอบกระเทียมถึงสถานีขนส่ง จังหวัดเชียงใหม่ 6. ผู้ซื้อจะชำระเงินให้แก่ผู้ขายภายใน 7 วันทำการ ภายหลังจาก รับมอบสินค้าแล้ว


ดาวน์โหลด ppt การแก้ไขปัญหากระเทียมตกต่ำ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google