งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ
นลินี วงศ์ธนะชัย การสัมมนาและประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) ให้เป็นระบบ วันที่ 29 พฤษภาคม 2550 ณ โรงแรมมารวย การ์เด้น

2 หัวข้อ การจัดระบบข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ การจัดระบบหนังสือห้องสมุด
ระบบจัดหมวดหมู่หนังสือ : DC และ LC การลงรายการหนังสือตามมาตรฐาน AACR2 และ MARC การกำหนดหัวเรื่อง หรือ คำศัพท์ควบคุม การจัดระบบข้อมูลบน Internet Dublin Core Metadata Standard ข้อมูลโครงการวิจัยที่ วช. จัดเก็บตามแบบ Dublin Core

3 การจัดระบบข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้มีปริมาณมากขึ้นทุกวัน (Information Explosion) ทำให้เกิดปัญหาด้านการจัดเก็บ การสืบค้น การใช้ประโยชน์ การอนุรักษ์ไม่ให้สูญหาย รวมทั้งการบริหารจัดการลิขสิทธิ์ จึงต้อง มีการจัดระบบข้อมูล สารสนเทศและความรู้ภายในองค์กร เพื่อประสิทธิภาพในการสืบค้นข้อมูล มีการเลือกรูปแบบสารสนเทศและความรู้ที่เหมาะสมกับองค์กร มีการใช้มาตรฐานหรือข้อตกลงที่เป็นที่ยอมรับในวงกว้าง

4 รูปแบบ 1. แบบรวมศูนย์ (Centralized)
มีศูนย์กลางทำหน้าที่ในการจัดหา รวบรวม จัดเก็บ บริหารจัดการ และเผยแพร่สารสนเทศและความรู้ ตัวอย่างเช่น ห้องสมุด 2. แบบกระจาย (Decentralized) ผู้สร้างสารสนเทศและความรู้เป็นตัวหลักในการรวบรวม จัดเก็บ บริหารจัดการ และเผยแพร่ ตัวอย่างเช่น Blog, Personal Web Site 3. แบบกระจายอย่างประสานงาน (Coordinated Distribution) เป็นแบบผสมระหว่างแบบรวมศูนย์และแบบกระจาย มีการประสานกันโดยใช้มาตรฐานหรือข้อตกลงร่วมบางอย่าง ตัวอย่างเช่น Institutional Repository

5

6

7 โครงสร้าง

8 กระบวนการ 1. การจัดการกับข้อมูลที่คัดสรรเข้ามาไว้ในระบบ หมายถึง
1. การจัดการกับข้อมูลที่คัดสรรเข้ามาไว้ในระบบ หมายถึง - การบันทึกรายการข้อมูลที่จำเป็นต่อการสืบค้น - การวิเคราะห์เนื้อหาของข้อมูล - การกำหนดคำแทนเนื้อหา เพื่อใช้เป็นจุดสืบค้นต่อไป 2. การจัดการกับคำถามที่เข้ามาในระบบ หมายถึง การวิเคราะห์และแปรรูปคำถามให้อยู่ในรูปของคำแทนสาระของคำถาม เพื่อรอการนำไปเปรียบเทียบกับข้อมูล 3. การเปรียบเทียบคำถาม กับข้อมูลที่มีอยู่ในแฟ้มข้อมูล 4. การประเมินผลลัพธ์ที่ได้ และจัดเตรียมให้อยู่ในรูปที่จะบริการแก่ผู้ใช้

9 การจัดระบบหนังสือห้องสมุด
ลงทะเบียนหนังสือที่ห้องสมุดได้รับ จัดหมวดหมู่หนังสือ ระบบ LC (Library of Congress Classification System) ระบบ DC (Dewey Decimal Classification System) ลงรายการหนังสือในบัตรรายการ / แบบบันทึกข้อมูล AACR2 (Anglo American Cataloging Rules) MARC (Machine-Readable Cataloging) กำหนดคำค้น หัวเรื่องสำหรับหนังสือภาษาไทย ของคณะทำงานกลุ่มวิเคราะห์ ทรัพยากรสารสนเทศ ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา LC Subject Headings

10 เด้น

11 การลงรายการหนังสือตามมาตรฐาน AACR2

12

13 หนังสือ ผู้แต่ง ป๋วย อึ๊งภากรณ์
ผู้แต่ง ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ชื่อหนังสือ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ประสบการณ์ชีวิตและข้อคิดสำหรับคนหนุ่ม สาว ครั้งที่พิมพ์ พิมพ์ครั้งที่ 5 สถานที่พิมพ์ กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์ มูลนิธิโกมลคีมทอง ปีพิมพ์ 2542 ป๋วย อึ๊งภากรณ์. ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ประสบการณ์ชีวิตและข้อคิดสำหรับคนหนุ่ม สาว. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2542. Salzman, Jack, David Lionel Smith, and Cornel West, eds. Encyclopedia of African-American Culture and History. 5 volumes. New York: Macmillan Library Reference, 1996.

14 บทความวารสาร ผู้เขียน ประสิทธิ์ ม้าลำพอง.
ผู้เขียน ประสิทธิ์ ม้าลำพอง. ชื่อบทความ ฐานข้อมูลบรรณานุกรมของประเทศไทย ชื่อวารสาร วารสารสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ออกวารสาร ปีที่ 6 เลขฉบับ ฉบับพิเศษ ปีที่พิมพ์ – 2540 หน้าที่ตีพิมพ์ 1 – 2 ประสิทธิ์ ม้าลำพอง. “ฐานข้อมูลบรรณานุกรมของประเทศไทย,” วารสาร สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 6 (ฉบับพิเศษ, ) : 1-2. Iso-Ahola, Seppo E., and Ellen Weissinger. "Perceptions of Boredom in Leisure: Conceptualization, Reliability and Validity of the Leisure Boredom Scale." Journal of Leisure Research. 22 (Winter 1990):

15 บทความจากหนังสือพิมพ์
ผู้เขียน วิสา คัญทัพ ชื่อบทความ คุณภาพแห่งชาติ ดร.ป๋วย ครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน ชื่อหนังสือพิมพ์ ข่าวสด วันเดือนปี 10 สิงหาคม 2542 หน้าที่ตีพิมพ์ 1 และ 10 วิสา คัญทัพ. “คุณภาพแห่งชาติ ดร.ป๋วย ครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน,” ข่าว สด, 10 สิงหาคม 2542, หน้า 1,10. Derr, Mark. "Grizzly Bears Poised to Make a Comeback: Opponents Fear Bear Attacks; Advocates Fear for the Bears." New York Times, 30 May 2000, sec. F, p. 1, 4.

16 ซีดีรอม ชื่อเรื่อง อนุรักษ์มรดกไทย ชุด ดนตรีพื้นบ้านไทย
ชื่อเรื่อง อนุรักษ์มรดกไทย ชุด ดนตรีพื้นบ้านไทย ชนิดของวัสดุ ซีดีรอม สถานที่ผลิต Bangkok (กรุงเทพฯ) ผู้ผลิต Thai Information Publishing System ปีที่ผลิต (2540) อนุรักษ์มรดกไทย ชุด ดนตรีพื้นบ้านไทย. (ซีดีรอม). Bangkok : Thai Information Publishing System Bower, D.L. Employee Assistant Programs Supervisory Refferals : Characteristics of Refferring and Nonreferring Supervisors (CD-ROM). Abstract from ProQuest File : Dissertation Abstract Item : , 1993.

17 การลงรายการหนังสือตามมาตรฐาน MARC

18

19

20

21 การบันทึกข้อมูลตามแบบ MARC
038 ^a110 041 ^aeng^bengtha 016 ^aE10000^z960708 072 ^a02 100 ^aBenjawan Thumthanaruk 245 ^aStudy on dietary fiber sources in Thailand and its applications ^cBenjawan Thumthanaruk 260 ^aBangkok^bMahidol University^c1996 300 ^a132 p 502 ^aThesis (M.Sc.)--Mahidol University, 1996 536 ^aSTDB 650 ^aFiber in human nutrition%^aAgriculture 710 ^aMahidol University^bFaculty of Graduate Studies

22 การแสดงผลข้อมูล (1) เลขทะเบียน : T E10000 ห้องสมุดที่มี : NRCT/RIC
ผู้แต่ง : Benjawan Thumthanaruk หน่วยงาน : Mahidol University. Faculty of Graduate Studies ชื่อเรื่อง : Study on dietary fiber sources in Thailand and its applications ข้อมูลการพิมพ์ : Bangkok : Mahidol University, 1996 จำนวนหน้า : 132 p วิทยานิพนธ์ : Thesis (M.Sc.)--Mahidol University, 1996 หัวเรื่อง : Fiber in human nutrition / Agriculture

23 การแสดงผลข้อมูล (2) E10000(T)
Benjawan Thumthanaruk. Study on dietary fiber sources in Thailand and its applications / Benjawan Thumthanaruk. Bangkok : Mahidol University, p.

24 ประเภทคำค้น 1. ภาษาธรรมชาติ (natural language) หรือ แบบไม่ควบคุมคำศัพท์ (uncontrolled vocabulary) เป็นการใช้คำซึ่งอยู่ในชื่อเรื่องหรือเนื้อหาของเอกสารมาทำเป็นคำค้น 2. ภาษาควบคุม หรือ คำศัพท์ควบคุม (controlled vocabulary) เป็นการวางเกณฑ์ให้คำพ้องความหมายทุกคำโยงไปสู่คำใดคำหนึ่งที่กำหนดให้ใช้เป็นคำค้น การวางแนวปฏิบัติต่อคำที่มีความหมายใกล้เคียงกัน การให้คำอธิบายคำศัพท์ที่มีความหมายไม่ชัดเจน การนำคำศัพท์ที่สัมพันธ์กันแสดงไว้ด้วยกัน และการกำหนดใช้คำที่สอดคล้องกับการใช้ของคนทั่วไป เป็นคำที่กำหนดจากเนื้อหาของสิ่งพิมพ์นั้นๆ แล้วสรุปเป็นคำ กลุ่มคำ หรือ วลีอย่างมีหลักเกณฑ์ เพื่อใช้แทนเนื้อหาของสิ่งพิมพ์นั้นๆ

25 ภาษาธรรมชาติ (natural language)
ข้อดี คำศัพท์ที่ใช้มีความใหม่ ทันพัฒนาการของเรื่องนั้นๆ อยู่เสมอ ผู้ใช้มักจดจำศัพท์ตามภาษาธรรมชาติได้ดีกว่าศัพท์ที่ถูกจัดรูปใหม่ตาม วิธีการของคำศัพท์ควบคุม สามารถใช้คอมพิวเตอร์สร้างได้ ข้อเสีย กรณีเรื่องเดียวกัน แต่ผู้แต่งใช้ศัพท์ต่างกัน ทำให้ผู้ใช้ต้องสืบค้นภายใต้คำ ที่แตกต่างกันเหล่านั้นทุกๆ คำ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ต้องการครบถ้วน คำศัพท์ที่สะกดเหมือนกัน อาจมีความหมายต่างกัน เมื่อผู้ใช้สืบค้นแต่ละ ครั้ง เรื่องที่ไม่ต้องการจึงอาจปรากฏออกมาด้วย คำศัพท์ที่มีความหมายเดียวกัน แต่สามารถสะกดได้หลายแบบ ทำให้ ผู้ใช้ต้องสืบค้นหลายครั้งเช่นกัน แนวคิดที่แฝงอยู่ในเนื้อหา จะไม่ปรากฏเป็นคำศัพท์ ทำให้ผู้ใช้พลาดโอกาส ในการเข้าถึงเรื่องนั้น ผู้ใช้ไม่เห็นความสัมพันธ์ของคำศัพท์ในบัญชีคำศัพท์รูปแบบนี้

26 คำศัพท์ควบคุม (controlled vocabulary)
ข้อดี กระบวนการเปรียบเทียบคำถามกับข้อมูลในระบบเป็นไปได้ง่าย เพราะผู้ กำหนดคำค้นและผู้สืบค้นใช้ศัพท์ตรงกัน ประหยัดเวลาในการสืบค้นเรื่องที่มีคำพ้องความหมายหลายๆ คำ คำที่มี ความหมายใกล้เคียงและคำที่สะกดต่างกัน เพราะถูกกำหนดให้ใช้ ศัพท์คำใดคำหนึ่งเพียงคำเดียวเป็นคำแทนสาระ และมีการโยง คำที่ไม่ใช้ไปสู่คำที่ใช้ไว้ด้วย สามารถขยายขอบเขตการสืบค้นไปสู่แนวคิดที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันได้ตาม ต้องการ โดยอาศัยชุดคำศัพท์ที่มีความสัมพันธ์กัน คำศัพท์ในบัญชีคำแทนสาระไม่ซ้ำซ้อน ข้อเสีย ใช้แรงงานคนมหาศาลในการวิเคราะห์ ทำให้ค่าใช้จ่ายสูง การวิเคราะห์ตีความเนื้อหาสาระขึ้นอยู่กับศักยภาพของผู้วิเคราะห์

27 การกำหนดหัวเรื่อง หรือ คำศัพท์ควบคุม

28

29

30

31

32

33

34

35 การจัดระบบข้อมูลบน Internet
ปัจจุบันสารสนเทศที่เผยแพร่ในอินเตอร์เน็ตเพิ่มมากขึ้นทุกที จึงต้องมี Metadata เพื่อจัดข้อมูลตามลักษณะเฉพาะที่แท้จริงของข้อมูลแต่ละรายการ เพื่อให้ผู้ใช้ทราบว่า รายการนี้คือชื่อเรื่องของหนังสือ หรือชื่อภาพยนตร์ที่สร้างจากหนังสือ หรือชื่อเรื่องของหนังสือที่มีผู้แปลเป็นอีกภาษาหนึ่ง ซึ่งจะนำไปสู่การสืบค้นที่มีประสิทธิภาพ Dublin Core Metadata Standard ( “a simple yet effective element set for describing a wide range of networked resources”

36

37 Dublin Core Metadata Elements (TIAC)
ประกอบด้วยรายการที่แสดงลักษณะพื้นฐานของสารสนเทศ 15 ข้อ เพื่อให้ทำดรรชนีสำหรับสืบค้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ  1. Title ชื่อเรื่อง    ชื่อของทรัพยากรสารสนเทศที่กำหนดโดยเจ้าของผลงาน หรือ สำนักพิมพ์ 2. Author / Creator ผู้แต่ง หรือ เจ้าของงาน    บุคคล หรือหน่วยงานที่รับผิดชอบเนื้อหาเชิงปัญญาของสารสนเทศ 3. Subject / Keyword หัวเรื่อง หรือ คำสำคัญ  หัวข้อ คำสำคัญ วลี รหัสวิชา เลขหมู่ ที่อธิบายเรื่องและเนื้อหา 4. Description ลักษณะ    รายละเอียดของสารสนเทศ เช่น บทคัดย่อ (กรณีที่เป็นเอกสาร) หรือ บรรยายรูปร่าง ลักษณะการใช้งาน (กรณีที่เป็นวัตถุ) 5. Publisher สำนักพิมพ์    หน่วยงานที่ผลิตสารสนเทศชิ้นที่เผยแพร่ในรูปแบบปัจจุบัน(อิเล็กทรอนิกส์) เช่น สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัย บริษัท เป็นต้น

38 6. Other Contributors ผู้ร่วมงาน  
บุคคล หรือ หน่วยงานอื่นนอกจากผู้แต่งหรือเจ้าของผลงานที่มีชื่อปรากฎในข้อผู้แต่ง หมายถึงบุคคล หรือหน่วยงานมีส่วนร่วมสร้างผลงานเชิงปัญญาในระดับรองจากผู้แต่ง 7. Date ปี   ปีที่ผลิตผลงานในรูปแบบปัจจุบัน (อิเล็กทรอนิกส์) 8. Resource Type ประเภท  ประเภทของสารสนเทศ เช่น home page นวนิยาย คำประพันธ์ ร่างบทความ บทความ รายงานวิชาการ เรียงความ พจนานุกรม 9. Format รูปแบบ    รูปแบบที่บันทึกสารสนเทศ เช่น text/html, ASCII, Postscript file, โปรแกรมที่นำไปใช้งานได้ , JPEG image (มีรายการให้เลือก เช่น registered Internet Media Types (MIME types) 10. Resource Identifier รหัส   สัญลักษณ์ หรือเลข ที่ระบุเฉพาะว่าหมายถึงสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์รายการนั้นๆ เช่น URL

39 11. Source ต้นฉบับ  ผลงานที่เป็นที่มาของสารสนเทศ ไม่ว่าจะเป็นเอกสารหรืออยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์ 12. Language ภาษา    ภาษาที่ใช้ในการเรียบเรียงสารสนเทศ 13. Relation เรื่องที่เกี่ยวข้อง   สารสนเทศเรื่องอื่นๆที่เกี่ยวข้อง (ยังไม่มีข้อยุติว่าจะกำหนดคำจำกัดความว่าอย่างไร) 14. Coverage สถานที่และเวลา    (ยังไม่มีข้อยุติว่าจะกำหนดคำจำกัดความว่าอย่างไร) 15. Right Management สิทธิ ประกาศระเบียบปฏิบัติเรื่องลิขสิทธิ์ เพื่อให้ผู้ใช้สารสนเทศรับทราบและยอมรับข้อปฏิบัติเรื่องลิขสิทธิ์ ขณะที่สารสนเทศเรื่องนั้นๆ ปรากฏบนจอภาพ

40 โครงการพัฒนาฐานข้อมูลงานวิจัยของประเทศไทย
ปี 2545 หน่วยงานวิจัย 4 แห่ง ได้แก่ วช. สวทช. สกว. สวรส. ได้ร่วมกันจัดทำ web page โครงการวิจัยของตนเองเพื่อเผยแพร่บน web site โดยแต่ละโครงการจะมีรายละเอียดตามมาตรฐาน Dublin Core Metadata ซึ่งเป็นรูปแบบการแสดงผลที่ตกลงใช้ร่วมกัน วช. ได้จัดทำ web page จากรายชื่อโครงการวิจัยที่ได้รับทุนจาก วช. ย้อนหลัง 10 ปี แต่ข้อมูลดังกล่าว (จาก กสส., กปว. และ กคก.) มีทั้งเป็นเอกสารและเป็นแฟ้มข้อมูลที่หลากหลาย จึงต้องปรับให้อยู่ในรูปแบบตามที่กำหนดไว้ก่อนจัดทำหน้า web page เพื่อนำขึ้นเผยแพร่บน web site

41 ข้อมูลโครงการวิจัยที่ วช. จัดเก็บตามแบบ Dublin Core
1. ชื่อเรื่อง ใช้ชื่อโครงการภาษาไทย และภาษาอังกฤษ (ถ้ามี) 2. ผู้วิจัย ใช้ชื่อภาษาไทย และภาษาอังกฤษ (ถ้ามี) แต่ละชื่อคั่นด้วยเครื่องหมาย / 3. หน่วยงานวิจัย ใช้ชื่อภาษาไทย และภาษาอังกฤษ (ถ้ามี) 4. ผู้ให้ทุน ใช้ชื่อภาษาไทย และภาษาอังกฤษ (ถ้ามี) 5. สถานภาพ ระบุสถานภาพของโครงการ เช่น โครงการที่สำเร็จแล้ว, กำลังดำเนินการ 6. ระยะเวลาวิจัย เขียนตามแบบแผน ISO 8601 (ปี-เดือน-วัน) ภาษาไทยใช้ พ.ศ. / ภาษาอังกฤษ ใช้ ค.ศ. 7. วันสิ้นสุด 8. บทคัดย่อ ใช้บทคัดย่อภาษาไทยตามด้วยภาษาอังกฤษ(ถ้ามี)

42 การบันทึกข้อมูล 1. พิมพ์ข้อมูลชิดซ้าย และเว้น 1 บรรทัดระหว่างหน่วยข้อมูลย่อย เช่น (พิมพ์ชิดซ้าย) ชื่อเรื่อง การเปลี่ยนแปลงของพรรณไม้ป่าและการสืบพันธุ์ตามธรรมชาติที่เกิดขึ้นในระหว่างช่องว่างของเรือนยอดในป่าดิบแล้งสะแกราช ปักธงชัย นครราชสีมา (เว้น 1 บรรทัด) ผู้วิจัย ปรีชา ธรรมานนท์ และคณะ หน่วยงานวิจัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ …… 2. save ข้อมูลโครงการวิจัย 1 โครงการเป็น 1 file และตั้งชื่อ file ตามลำดับ เช่น doc, 0002.doc, 0003.doc เป็นต้น

43

44

45

46


ดาวน์โหลด ppt การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google