งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1 คณะที่ 4 ระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพและด้านสิ่งแวดล้อม

2 ติดตามประสิทธิภาพในการตรวจราชการ รอบ 2
เป้าหมายที่ 1 มีคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพระดับเขต ดำเนินการตามอำนาจ หน้าที่ที่กำหนด - เขตจัดทำคำสั่งฯ แล้ว เป้าหมายที่ 2 มีคณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานเพื่อพัฒนาระบบงานคุ้มครองผู้บริโภคสุขภาพระดับจังหวัด - อยู่ระหว่างดำเนินการ ติดตามประสิทธิภาพในการตรวจราชการ รอบ 2

3 เป้าหมายที่ 3 ร้อยละของเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน ณ สถานที่ผลิตผ่านมาตรฐานตามประกาศฯ กำหนด (20 – 40 ppm) (ร้อยละ 100) - 1 แห่ง ผ่าน 100%

4 สถานที่ผลิตเกลือ แห่งที่ 1 ผ่าน
สถานที่ผลิตเกลือ แห่งที่ 2 ไม่ผ่าน

5 เป้าหมายที่ 4 ร้อยละของการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหารเสริมและสถานพยาบาลผิดกฎหมายได้รับการจัดการ (ร้อยละ 100) ด้านผลิตภัณฑ์ - ทำบันทึกข้อตกลงระหว่างผู้ประกอบการสื่อ กับ สสจ. - อยู่ระหว่างดำเนินการเฝ้าระวัง (ด้านผลิตภัณฑ์)

6 วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน
การโฆษณาสถานพยาบาล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมุกดาหารมีการดำเนินการ ตรวจสอบการโฆษณาของสถานพยาบาลร่วมกับการตรวจ มาตรฐานสถานพยาบาล รวมทั้งจากข้อมูลข้อร้องเรียนการ โฆษณา ผลการดำเนินงานในรอบที่ 1 คลินิกทันตกรรมซึ่งไม่ได้มีทันต แพทย์ที่รับวุฒิบัตรหรือผ่านการอบรมทางวิชาทันตกรรมจัดฟันมี การโฆษณาว่าจัดฟัน ที่อาจก่อให้เกินความเข้าใจผิดใน สาระสำคัญเกี่ยวกับการประกอบกิจการของคลินิกทันตกรรม จำนวน 2 เรื่อง ได้ดำเนินการแจ้งให้คลินิกทันตกรรมที่โฆษณา ไม่ถูกต้องดำเนินการแก้ไขข้อความในการโฆษณา ซึ่งคลินิกทัน ตกรรมทั้ง 2 แห่ง ได้มีการแก้ไขการโฆษณาเรียบร้อยแล้ว

7 ข้อเสนอแนะ ควรมีการเฝ้าระวังการโฆษณาให้ครอบคลุมผลิตภัณฑ์ สุขภาพอาหารเสริม และสถานพยาบาลผิดกฎหมาย รวมทั้ง เฝ้าระวังทุกช่องทางสื่อสารสาธารณะที่มีในพื้นที่ ได้แก่ หนังสือพิมพ์ ท้องถิ่น วิทยุท้องถิ่น/ชุมชน และเคเบิ้ลทีวี

8 เป้าหมายที่ 5 คลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงาม
และคลินิกที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล ได้รับการเฝ้าระวังและให้ดำเนินการตามกฎหมาย (ร้อยละ 98) ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ 5.1 ร้อยละของคลินิกเวชกรรมที่ให้บริการ ด้านเสริมความงาม ได้รับการตรวจมาตรฐาน (ร้อยละ 98) 5 100 5.2 ร้อยละของเรื่องร้องเรียนคลินิกที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลได้รับดำเนินการตามกฎหมาย ไม่มีข้อร้องเรียน

9 วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน
1. จังหวัดมุกดาหารมีฐานข้อมูลสถานพยาบาลเอกชน ทุกประเภท จำนวน 51 แห่ง โดยจำแนกเป็นคลินิก เวชกรรม 34 แห่ง (มีคลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้าน เสริมความงาม 5 แห่ง) คลินิกทันตกรรม 5 แห่ง คลินิกเทคนิคการแพทย์ 1 แห่ง และโรงพยาบาล เอกชน 1 แห่ง 2. มีการจัดทําโครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ สุขภาพ จังหวัดมุกดาหาร งบประมาณ 2558

10 วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน (ต่อ)
วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน (ต่อ) 3. มีการดำเนินการตรวจสอบสถานพยาบาลเอกชนทุกแห่ง (51 แห่ง) เรียบร้อยแล้วในระหว่างเดือนตุลาคม 2557 – มกราคม มีการดําเนินงานตรวจสอบและเฝ้าระวังคลินิกเวชกรรมและ สถานพยาบาลในพื้นที่ให้มีคุณภาพได้มาตรฐานเพื่อรองรับ พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ มีช่องทางการรับข้อร้องเรียน 7 ช่องทาง คือ (1) ศูนย์ ONE STOP SERVICE (2) โทรศัพท์ (3) จดหมาย (4) มาด้วยตนเอง (5) สถานบริการสุขภาพ (6) หน่วยงานอื่น ๆ และ (7) สื่อมวลชน

11 ข้อเสนอแนะ ต่อสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมุกดาหาร ต่อส่วนกลางและผู้บริหาร
1. ควรมีการจัดทำกระบวนงานการจัดการข้อร้องเรียนที่ชัดเจน และจัดทำ เป็นคู่มือปฏิบัติงานจัดการข้อร้องเรียนเพื่อเป็นมาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) 2. ควรมีการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับรู้ถึงช่องทางการรับเรื่องร้องเรียน และขั้นตอนการรับเรื่องร้องเรียน เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการ ได้อย่างสะดวก ต่อส่วนกลางและผู้บริหาร 1. ควรมีนโยบายและกำหนดรูปแบบการจัดการข้อร้องเรียนที่ชัดเจน เพื่อให้พื้นทีสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างเป็นระบบและเป็นทิศทาง เดียวกัน 2. จัดทำคู่มือ/แนวทางการเฝ้าระวังสถานพยาบาลและการจัดการข้อ ร้องเรียน เพื่อเป็นแนวปฏิบัติสำหรับพื้นที่ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน

12 ด้านสิ่งแวดล้อมสุขภาพ

13 - มีโครงการ งบประมาณ และแผนการดำเนินงาน(ประชุม 6 ครั้ง)
คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด(อสธจ)ทุกจังหวัด ดำเนินงาน ตามอำนาจหน้าที่และแนวทางที่กำหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลการดำเนินงาน - มีโครงการ งบประมาณ และแผนการดำเนินงาน(ประชุม 6 ครั้ง) ดำเนินงานตามแผนการดำเนินงาน - กำหนดผู้รับผิดชอบงานที่ชัดเจน(ผู้ช่วยเลขานุการฯ) - ประชุมคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัดมุกดาหารครั้งที่ 1/2558 (29 ธ.ค.57) - สำรวจสถานการณ์อนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่(ม.ค.58) - พัฒนาศักยภาพเจ้าพนักงานตามกฎหมายสาธารณสุข(2 ก.พ.58)

14 จุดเด่นในการดำเนินงาน
คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด(อสธจ)ทุกจังหวัด ดำเนินงาน ตามอำนาจหน้าที่และแนวทางที่กำหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ จุดเด่นในการดำเนินงาน - มีกลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อมและมีผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง มีการขับเคลื่อนในรูปแบบของภาคีเครือข่าย(ท้องถิ่น) มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งในและนอกพื้นที่ ผลักดัน/กระตุ้นให้ท้องถิ่นปฏิบัติตาม พรบ.การสาธารณสุข 2535 ในเรื่องระบบบำบัดสิ่งปฏิกูล ข้อเสนอแนะ จัดทำฐานข้อมูล(สถานการณ์การออกข้อบัญญัติท้องถิ่น/ ทำเนียบเจ้าพนักงานท้องถิ่น) เร่งรัดการออกบัตรเจ้าพนักงานตาม พรบ.การสาธารณสุข 2535


ดาวน์โหลด ppt ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google