งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการศึกษาสถานการณ์คุณภาพน้ำสระว่ายน้ำใน เขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการศึกษาสถานการณ์คุณภาพน้ำสระว่ายน้ำใน เขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการศึกษาสถานการณ์คุณภาพน้ำสระว่ายน้ำใน เขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล
ประเภทของสระว่ายน้ำ 8 ประเภท จำนวน 40 สระ จำนวนตัวอย่าง 476 ตัวอย่าง ระยะเวลาศึกษา ก.ค – พ.ค. 2548 3 ฤดูกาล จำนวนข้อมูลที่ศึกษา 20 ข้อมูล

2 สถานการณ์คุณภาพน้ำสระว่ายน้ำใน เขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล
สระสโมสร และสมาคม สระโรงแรม สระโรงเรียน สระมหาวิทยาลัย สถานการณ์คุณภาพน้ำสระว่ายน้ำใน เขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ตั้งแต่ กรกฎาคม 2547 – พฤษภาคม 2548 สระหน่วย งานราชการ สระห้างสรรพสินค้า สระสวนสนุก สระคอนโด

3 ประเภทสระว่ายน้ำ

4 ข้อมูลที่ศูนย์ห้องปฏิบัติการกรมอนามัยศึกษาวิจัย พ.ร.บ. วัตถุอันตราย
พ.ศ. 2535 ข้อบังคับกรุงเทพมหานครว่าด้วยหลักเกณฑ์การประกอบการค้าซึ่งเป็นที่รังเกียจหรืออาจเป็นอันตรายแก่สุขภาพ (การจัดตั้งสระว่ายน้ำ) พ.ศ. 2530 1. ความเป็นกรด-ด่าง pH 2. คลอรีนอิสระคงเหลือ Free residual chlorine ppm 3. คอมไบน์คลอรีน Combined chlorine ppm 4. ความขุ่น Turbidity 10 ppm 5. ความกระด้าง Calcium Hardness 600 ppm 6. ความเป็นกรด (Acidity) 100 ppm 7. ความเป็นด่าง (Alkalinity) 8. ซัลเฟต (Sulfate) 200 ppm 9. คลอไรด์ (Chloride) 10. แอมโมเนีย (Ammonia) 20 ppm 11. ไนเตรท (Nitrate) 50 ppm 12. ฟลูออไรด์ (Fluoride) 0.7 ppm 13. ไตรฮาโลมีเทน (Trihalomethane as tribromoacetic acid) 0.08 ppm 14.ไซยานูริกเอซิด ( Cyanuric acid) 60 ppm 15 โคลิฟอร์มแบคทีเรีย (Coliform bacteria) ต้องไม่พบ < 10 MPN/100 ml 16. ฟีคัลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (Faecal coliform bacteria) 17. อีโคไล (E. coli) ไม่พบแบคทีเรียชนิด อีโคไล 18. โททอลเพตเคานท์ (Total plate count) >500 CFU 19. สแตฟฟีโลคอคคัส ออเรียส (Staphylococcus aureus) ไม่พบ จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค 20. ซูโดโมแนส ออโรจิโนซ่า (Pseudomonas aeroginosa)

5 กราฟแสดงคุณภาพน้ำสระว่ายน้ำในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล
ในช่วงฤดูฝน ฤดูหนาว ฤดูร้อน ฤดูฝน ฤดูหนาว ฤดูร้อน

6 ไม่ได้มาตรฐาน ได้มาตรฐาน
กราฟแสดงคุณภาพน้ำสระว่ายน้ำในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ในช่วง ฤดูฝน (ก.ค.-ส.ค.47) จำนวน 160 ต.ย. จำนวน ตัวอย่าง ไม่ได้มาตรฐาน ได้มาตรฐาน

7 ไม่ได้มาตรฐาน ได้มาตรฐาน
กราฟแสดงคุณภาพน้ำสระว่ายน้ำในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ในช่วง ฤดูหนาว (ม.ค.-มี.ค.48) จำนวน 160 ต.ย. จำนวน ตัวอย่าง ไม่ได้มาตรฐาน ได้มาตรฐาน

8 ไม่ได้มาตรฐาน ได้มาตรฐาน
กราฟแสดงคุณภาพน้ำสระว่ายน้ำในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ในช่วง ฤดูร้อน (เม.ย.-พ.ค.48) จำนวน 156 ต.ย. จำนวน ตัวอย่าง ไม่ได้มาตรฐาน ได้มาตรฐาน

9 ภาพแสดงคุณภาพน้ำสระว่ายน้ำในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล
ในช่วงฤดูฝน ฤดูหนาว ฤดูร้อน (ไม่ได้มาตรฐาน) ฤดูฝน (ก.ค.-ส.ค.47) ฤดูหนาว (ม.ค.-มี.ค.48) ฤดูร้อน (เม.ย. - พ.ค.48)

10 การศึกษาประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อโรคของคลอรีน

11 การศึกษาประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อโรคของกรดไซยานูริก

12 การศึกษาประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อโรคของกรดไซยานูริกและคลอรีน

13 สรุป 3. พบข้อมูลทางเคมี และเชื้อโรคเกินความ
1. ผู้ดูแลระบบขาดความรู้/ความเข้าใจในการใช้สารเคมี ที่เหมาะสมในการปรับปรุงคุณภาพน้ำ 2. สารเคมีที่ใช้เพื่อการฆ่าเชื้อโรคเกินมาตรฐาน Chlorine lock : ไม่มีประสิทธิภาพในการ ฆ่าเชื้อโรค 3. พบข้อมูลทางเคมี และเชื้อโรคเกินความ ปลอดภัยต่อผู้ใช้บริการสระว่ายน้ำ 4. ความเป็นกรด-ด่าง มีค่าต่ำกว่ามาตรฐาน (3-6) 5. ผู้ใช้บริการไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับ เจ้าของสระและ ผู้ดูแลสระไม่เคร่งครัดในการใช้ข้อบังคับ


ดาวน์โหลด ppt โครงการศึกษาสถานการณ์คุณภาพน้ำสระว่ายน้ำใน เขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google