งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบูรณาการพัฒนาการเกษตร ภายใต้พื้นที่โครงการพัฒนาระบบบริหาร จัดการน้ำเพื่อการเกษตร จังหวัดพิษณุโลก Key word “ บูรณาการพัฒนาการเกษตร ” “ โยนิโสนมะสิการ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบูรณาการพัฒนาการเกษตร ภายใต้พื้นที่โครงการพัฒนาระบบบริหาร จัดการน้ำเพื่อการเกษตร จังหวัดพิษณุโลก Key word “ บูรณาการพัฒนาการเกษตร ” “ โยนิโสนมะสิการ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 การบูรณาการพัฒนาการเกษตร ภายใต้พื้นที่โครงการพัฒนาระบบบริหาร จัดการน้ำเพื่อการเกษตร จังหวัดพิษณุโลก Key word “ บูรณาการพัฒนาการเกษตร ” “ โยนิโสนมะสิการ เหตุแห่งปัจจัย”

3 วิเคราะห์แนวโน้มเชิงตรรกะ

4 ผล การ บูร ณา การ พื้นที่รับประโยชน์ จากแหล่งน้ำ สังกัด กษ. วิเคราะห์แนวโน้มเชิงตรรกะ

5 1.สินค้าเกษตร 2.การบริการ สังกัด กษ. วิเคราะห์แนวโน้มเชิงตรรกะ พื้นที่รับประโยชน์ จากแหล่งน้ำ

6 สังกัด กษ. 1.สินค้าเกษตร 2.การบริการ วิเคราะห์แนวโน้มเชิงตรรกะ พื้นที่รับประโยชน์ จากแหล่งน้ำ

7 สังกัด กษ. 1.สินค้าเกษตร 2.การบริการ วิเคราะห์แนวโน้มเชิงตรรกะ พื้นที่รับประโยชน์ จากแหล่งน้ำ

8 Input Output Process วิเคราะห์แนวโน้มเชิงตรรกะ

9 เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา วิเคราะห์แนวโน้มเชิงตรรกะ

10 เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา วิเคราะห์แนวโน้มเชิงตรรกะ เหตุผลในปัจจุบัน การกระทำในอดีต

11 เหตุผลในปัจจุบัน Simple and linear Complex System อดีตปัจจุบัน ความแตกต่าง เหตุแห่งปัญหา เศรษฐกิจ สังคม การเมือง สิ่งแวดล้อม

12 นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด องค์กรท้องถิ่น ประชาชน ชุมชน TOP DOWN BOTTOM UP Function บูรณาการ Area เหตุผลในปัจจุบัน

13 วัดผลสัมฤทธิ์ งานตาม นโยบาย รัฐบาล งานตาม ยุทธศาสตร์ กระทรวงฯ งานตาม แผนจังหวัด และกลุ่มจังหวัด งานการ แก้ไขปํญหา ในพื้นที่ องค์กรท้องถิ่น ประชาชน ชุมชน

14 เหตุผลในปัจจุบัน บูรณาการ งานตาม นโยบาย รัฐบาล งานตาม ยุทธศาสตร์ กระทรวงฯ งานตาม แผนจังหวัด และกลุ่มจังหวัด งานการ แก้ไขปํญหา ในพื้นที่ องค์กรท้องถิ่น ประชาชน ชุมชน

15 การกระทำในอดีต พื้นที่ ท้องถิ่น ชุมชน พื้นที่ ท้องถิ่น ชุมชน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จังหวัด กรม การบูรณาการเปลี่ยนแปลง การกระทำ จากเชิงกิจกรรม สู่ เชิงยุทธศาสตร์

16 การกระทำในอดีต พื้นที่ ท้องถิ่น ชุมชน พื้นที่ ท้องถิ่น ชุมชน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ผู้เข้าร่วมโครงการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้เสนอแผนแม่บทต่อรัฐบาล สถาน ภาพ ของ เกษตร กร

17 บทบาทสภาเกษตรกรแห่งชาติ นโยบาย รัฐบาล แผนแม่บท เสนอ คณะรัฐมนตรี ยุทธศาสตร์ กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ แผนงาน/โครงการ/งบประมาณ ด้านการเกษตรและสหกรณ์ สภาเกษตรกร แห่งชาติ สภาเกษตรกร จังหวัด การบูรณาการ แผนงาน/โครงการ ด้านการเกษตร สู่การปฏิบัติ หน่วยงาน ภาครัฐ/ ท้องถิ่น แผนงาน/โครงการงบประมาณ บริหารจัดการบุคลากร ภาคเอกชนและ สถาบันเกษตรกร หน่วยงาน ก.เกษตรและ สหกรณ์จังหวัด หน่วยงาน สังกัด กษ. งบประมาณ ?

18 เข้าใจ วิเคราะห์แนวโน้มเชิงตรรกะ เหตุผลในปัจจุบัน การกระทำในอดีต ดวงตา เห็นธรรม

19 วิเคราะห์แนวโน้มเชิงตรรกะ ดวงตา เห็นธรรม งาน คน เงิน

20 เปลี่ยน ไป เปลี่ยน ผ่าน เปลี่ยน แปลง 1.2.3. สั่งสม มอง “ดวงดาว” “ ดวง ” เดียวกัน สร้างสรร

21 เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา วิเคราะห์แนวโน้มเชิงตรรกะ เป้าหมาย การมีส่วนร่วม

22 2. พื้นที่ขยาย 13 หมู่บ้าน4 ตำบล 2 อำเภอ 13 หมู่บ้าน 4 ตำบล 2 อำเภอ พื้นที่ พื้นที่ 13,696 ไร่ พื้นที่ 3. พื้นที่เครือข่าย 14 ตำบล 4 อำเภอ พื้นที่ 139,940 ไร่ พื้นที่ชลประทาน จำนวน 155,166 ไร่ รวม 15 ตำบล 4 อำเภอ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน 1. พื้นที่หลัก พื้นที่จัดรูปที่ดิน 2 หมู่บ้าน 1 ตำบล 1 อำเภอ 1,530 ไร่ 216 ครัวเรือน

23 พื้นที่ชลประทาน จำนวน 155,166 ไร่ รวม 15 ตำบล 4 อำเภอ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน 1. พื้นที่หลัก พื้นที่จัดรูปที่ดิน 2 หมู่บ้าน 1 ตำบล 1 อำเภอ 1,530 ไร่ 216 ครัวเรือน พื้นที่หลัก ในการบูรณาการ ปีงบประมาณ 2554 บริเวณพื้นที่ชลประทาน (ฝั่งขวา) โครงการเขื่อนแควน้อยบำรุงแดน พื้นที่จัดรูปที่ดิน หมู่ 1 และ 2 ต.ท่างาม อ.วัดโบสถ์

24 ฒนาการเก ด้านอาชีพการเกษตรเพิ่มเติมในอนาคต พืช เกษตรอินทรีย์ การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ปลูกพืชหลังนา เช่น ทำ นาปรัง ปลูกผัก ปลูกข้าวโพดรุ่น 2 หลังนา การปลูกอ้อย ปลูกกล้วย ปศุสัตว์ การเลี้ยงไก่ ไก่ไข่ เลี้ยงวัว ประมง เลี้ยงปลาในนาข้าว เลี้ยงปลาในบ่อดิน เช่น ปลานิล ปลาดุก ปลาตะเพียน อื่นๆ ต้องการมีอาชีพเสริมหรือปลูกพืชเสริมเพื่อเพิ่มรายได้ ต้องการมี อาชีพเสริมในช่วงฤดูแล้ง การทำหัตถกรรม เช่น ไม้กวาด ความสนใจประกอบอาชีพการเกษตรเพิ่มเติมในอนาคต ประชาคมการพัฒนาการเกษตร ปี 54

25 องค์กร ท้องถิ่น บูรณาการ พัฒนาการเกษตร พื้นที่บริหารจัดการน้ำ เกษตรกร 216 คร. พื้นที่ 1,530 ไร่ เป้าหมาย องค์ กร เกษตร กร ภาครัฐในสังกัดกษ. สร้างการมีส่วนร่วม

26 มิติด้านงบประมาณ จำนวน (โครงการ/ กิจกรรม) งบประมาณ (บาท) ร้อยละ 1) งบปกติของหน่วยงาน (Function) 9376,1006.85 2) งบจังหวัด (Area)92,663,57248.51 3) งบกลุ่มจังหวัด (Area)11,906,40034.72 4) งบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Local) 3545,0009.93 รวม 225,491,072 100 ฒนาการเก แผนบูรณาการพัฒนาการเกษตร ปี 54

27 มิติด้านการพัฒนา จำนวน (โครงการ/ กิจกรรม) งบประมาณ (บาท) 1. ด้านการบริหารจัดการน้ำ252,600 2. ด้านการปรับปรุงบำรุงดิน2260,000 3. ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตด้านพืช4820,000 4. ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตด้านประมง1105,000 5. ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตด้านปศุสัตว์181,100 6. ด้านการพัฒนาเกษตรกร และองค์กรเกษตรกร5738,500 7. ด้านการบริหารจัดการ53,433,872 รวม205,491,072 ฒนาการเก แผนบูรณาการพัฒนาการเกษตร ปี 54

28 ฒนาการเก แผนบูรณาการพัฒนาการเกษตร ปี 54 เกษตรกร เป้าหมาย 216 คร. เดิม ปลูกข้าว 1 ครั้ง ต่อปี ปรับปรุง ดิน+ปลูก ข้าว2ครั้ง ปรับปรุง ดิน+ผลิต เมล็ด พันธุ์ข้าว ปรับปรุง ดิน+ปลูก ข้าว+พืช ไร่หลังนา ปลูก ข้าว2ครั้ง +พืชผัก

29 ฒนาการเก แผนบูรณาการพัฒนาการเกษตร ปี 54 เดิม ปลูกข้าว 1 ครั้ง ต่อปี ปศุสัตว์ เสริม ประมง เสริม หัตถกรรม เสริม แปรรูป เสริม

30 ฒนาการเก แผนบูรณาการพัฒนาการเกษตร ปี 54 เดิม ปลูกข้าว 1 ครั้ง ต่อปี ปศุสัตว์ เสริม ประมง เสริม หัตถกรรม เสริม แปรรูป เสริม บริหารจัดการน้ำ แบบมีส่วนร่วม พัฒนาภูมิปัญญา ทางบัญชี พัฒนาวิสาหกิจชุมชน และทักษะการตลาด 1. 2. 3.

31 พื้นที่ขยาย 13 หมู่บ้าน 4 ตำบล 2 อำเภอพื้นที่ 2 อำเภอ พื้นที่ 13,696 ไร่ พื้นที่ พื้นที่เครือข่าย 14 ตำบล 4 อำเภอ พื้นที่ 139,940 ไร่ พื้นที่ชลประทาน จำนวน 155,166 ไร่ รวม 15ตำบล 4อำเภอ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ฒนาการเก แผนบูรณาการต่อเนื่อง ปี 2555 - 2557

32 เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา วิเคราะห์แนวโน้มเชิงตรรกะ วิเคราะห์ข้อมูล ครัวเรือนเกษตรกร ปฏิทินบูรณาการเชิงพื้นที่

33 ก.พ. เม.ย. พ.ค. ก.ค.ก.ย. หน่วย งาน กิจ กรรม 1 2 ระยะเวลาดำเนินงานพื้นที่เป้าหมาย 34 โครงการพัฒนาระบบบริหาร จัดการน้ำเพื่อการเกษตร จังหวัดพิษณุโลก

34 ก.พ. เม.ย. พ.ค. ก.ค.ก.ย. 1. แปลงเรียนรู้ การปลูกพืช ปลอดภัย 1.เกษตร จังหวัด ระยะเวลาดำเนินงาน 2. การสร้างภูมิ ปัญญาทางบัญชี 2. ตรวจ บัญชี 3. ส่งเสริมการใช้ อินทรีย์แทน สารเคมี 3.สถานี พัฒนาที่ดิน 4.ศูนย์วิจัย ข้าว ฯ พื้นที่เป้าหมาย 1 2 34 4. ส่งเสริมต้นแบบ การผลิตเมล็ด พันธุ์ข้าวพันธุ์ดี หลัก สนับสนุน ส่งเสริม ร่วมบูรณาการ

35 โครงการพัฒนาระบบบริหาร จัดการน้ำเพื่อการเกษตร จังหวัดพิษณุโลก ก.พ. เม.ย. พ.ค. ก.ค.ก.ย. 1. แปลงเรียนรู้ การปลูกพืช ปลอดภัย 1.เกษตร จังหวัด ระยะเวลาดำเนินงาน 2. การสร้างภูมิ ปัญญาทางบัญชี 2. ตรวจ บัญชี 3. ส่งเสริมการใช้ อินทรีย์แทน สารเคมี 3.สถานี พัฒนาที่ดิน 4.ศูนย์วิจัย ข้าว ฯ พื้นที่เป้าหมาย 1 2 34 4. ส่งเสริมต้นแบบ การผลิตเมล็ด พันธุ์ข้าวพันธุ์ดี หลัก สนับสนุน ส่งเสริม ร่วมบูรณาการ 1020 1020 1020

36 โครงการพัฒนาระบบบริหาร จัดการน้ำเพื่อการเกษตร จังหวัดพิษณุโลก ก.พ. เม.ย. พ.ค. ก.ค.ก.ย. 1. แปลงเรียนรู้ การปลูกพืช ปลอดภัย 1.เกษตร จังหวัด ระยะเวลาดำเนินงาน 2. การสร้างภูมิ ปัญญาทางบัญชี 2. ตรวจ บัญชี 3. ส่งเสริมการใช้ อินทรีย์แทน สารเคมี 3.สถานี พัฒนาที่ดิน 4.ศูนย์วิจัย ข้าว ฯ พื้นที่เป้าหมาย 1 2 34 4. ส่งเสริมต้นแบบ การผลิตเมล็ด พันธุ์ข้าวพันธุ์ดี หลัก สนับสนุน ส่งเสริม ร่วมบูรณาการ 1020 1020 1020

37 2. ประสานการดำเนินงานตามปฏิทิน โดยยึด “ พื้นที่และเกษตรกร ” เป็นศูนย์กลางบูรณาการ 1. นำแผนบูรณาการและกำหนดการทำงาน ตามปฏิทินแจ้งหน่วยงานเป็น “ ลาย ลักษณ์อักษร ” เพื่อความร่วมมือและถือปฏิบัติ 3. หัวหน้าหน่วยงาน “ สั่งการเป็นลายลักษณ์ อักษร ” ให้ถือปฏิบัติตามแผนบูรณาการและ ตามปฏิทินที่ร่วมกันกำหนดอย่างเคร่งครัด 4. “ ติดตามผล ” การทำงานเชิง บูรณาการตามปฏิทินที่กำหนด เป็นระยะ เพื่อการรายงาน ผตร. และเพื่อการแก้ไขปัญหา 4. “ ติดตามผล ” การทำงานเชิง บูรณาการตามปฏิทินที่กำหนด เป็นระยะ เพื่อการรายงาน ผตร. และเพื่อการแก้ไขปัญหา ปฏิทิน บูรณาการ

38 2. ประสานการดำเนินงานตามปฏิทิน โดยยึด “ พื้นที่และเกษตรกร ” เป็นศูนย์กลางบูรณาการ 1. นำแผนบูรณาการและกำหนดการทำงาน ตามปฏิทิน แจ้งหน่วยงานเป็น “ ลาย ลักษณ์อักษร ” เพื่อความร่วมมือและถือปฏิบัติ 3. หัวหน้าหน่วยงาน “ สั่งการเป็นลายลักษณ์ อักษร ” ให้ถือปฏิบัติตามแผนบูรณาการและ ตามปฏิทินที่ร่วมกันกำหนดอย่างเคร่งครัด 5. ”การปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติงาน” บูรณาการในสาระสำคัญ ให้แจ้ง เกษตรและสหกรณ์จังหวัดเพื่อประ สานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ปฏิทิน บูรณาการ

39 2. ประสานการดำเนินงานตามปฏิทิน โดยยึด “ พื้นที่และเกษตรกร ” เป็นศูนย์กลางบูรณาการ 1. นำแผนบูรณาการและกำหนดการทำงาน ตามปฏิทิน แจ้งหน่วยงานเป็น “ ลาย ลักษณ์อักษร ” เพื่อความร่วมมือและถือปฏิบัติ 3. หัวหน้าหน่วยงาน “ สั่งการเป็นลายลักษณ์ อักษร ” ให้ถือปฏิบัติตามแผนบูรณาการและ ตามปฏิทินที่ร่วมกันกำหนดอย่างเคร่งครัด 6. แจ้ง”ยืนยันแผนปฏิบัติงาน” เป็นรายเดือนเพื่อการเตือนความจำ เวียนทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 6. แจ้ง”ยืนยันแผนปฏิบัติงาน” เป็นรายเดือนเพื่อการเตือนความจำ เวียนทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ปฏิทิน บูรณาการ

40 เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา วิเคราะห์แนวโน้มเชิงตรรกะ วิเคราะห์ข้อมูล ครัวเรือนเกษตร ปฏิทินบูรณาการเชิงพื้นที่

41 จ. พิษณุโลก แม่น้ำน่าน โครงการเขื่อนแควน้อย พื้นที่ที่ได้รับผลประโยชน์ 155,166 ไร่

42

43

44

45

46

47 ข้อมูลรายได้ครัวเรือน รายได้เฉลี่ย 2903.41 บาท / ไร่ ข้อมูลการผลิตการเกษตร พื้นที่การผลิต 3 ไร่ 52 ตารางวา พื้นที่ปลูกข้าว 3 ไร่ 16 คารางวา ข้อมูลครัวเรือน หมายเลขแปลง 200 นาง สน ยิ้มดี ที่อยู่ 15 / 1 ม. 4 ต. ท่างาม อ. วัดโบสถ์ จ. พิษณุโลก สมาชิกครัวเรือน ชาย 1 คน หญิง 2 คน เป็นสมาชิกเกษตรกร

48 ข้อมูลรายได้ครัวเรือน รายได้เฉลี่ย 3,487.51 บาท / ไร่ ข้อมูลการผลิตการเกษตร พื้นที่การผลิต 3 ไร่ 1 งาน 39 ตารางวา พื้นที่ปลูกข้าว 3 ไร่ 1 งาน 9 ตารางวา ข้อมูลครัวเรือน หมายเลขแปลง 182 นาง สาลี เงินฉลาด ที่อยู่ 103 / 3 ม. 6 ต. ท่างาม อ. วัดโบสถ์ จ. พิษณุโลก สมาชิกครัวเรือน ชาย 3 คน หญิง 2 คน เป็นสมาชิกเกษตรกร

49 ข้อมูลรายได้ครัวเรือน รายได้เฉลี่ย 3,648.51 บาท / ไร่ ข้อมูลการผลิตการเกษตร พื้นที่การผลิต 3 ไร่ 1 งาน 36 ตารางวา พื้นที่ปลูกข้าว 3 ไร่ 1 งาน 20 ตารางวา ข้อมูลครัวเรือน หมายเลขแปลง 184 นาง วงเดือน จันทรากุล ที่อยู่ 15 / 1 ม. 4 ต. ท่างาม อ. วัดโบสถ์ จ. พิษณุโลก สมาชิกครัวเรือน ชาย 4 คน หญิง 2 คน เป็นสมาชิกเกษตรกร

50 แผนยุทธศาสตร์ ที่ชัดเจน เป็นที่ยอมรับ กลยุทธ์ การปฏิบัติตามแผน อย่างเป็นระบบ การปฏิบัติตามแผน อย่างเป็นระบบ การติดตาม /องค์ความรู้ การติดตาม /องค์ความรู้ การบริหารจัดการ มีความพร้อมมีส่วนร่วมมีความร่วมมือ พื้นที่ / หน่วยปฏิบัติ ให้ความสำคัญ / มอบอำนาจ สนับสนุนทรัพยากร ส่วนกลาง / ภูมิภาค เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ โครงสร้าง กระบวนงาน บูรณาการ

51 Shinkansen ต่ำสุด 300 สูงสุด 581 ก.ม./ชม. รฟท. สูงสุด 90 ก.ม./ชม.

52 Shinkansen ต่ำสุด 300 สูงสุด 581 ก.ม./ชม. รฟท. สูงสุด 90 ก.ม./ชม. ผลลัพธ์..คือความเชื่อมั่นและความพึงพอใจ ของเกษตรกรในความเป็นกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

53 1.อยู่แล้วสาปแช่งความมืดมิด 2.อยู่แต่มาร่วมกันจุดแสงเทียน


ดาวน์โหลด ppt การบูรณาการพัฒนาการเกษตร ภายใต้พื้นที่โครงการพัฒนาระบบบริหาร จัดการน้ำเพื่อการเกษตร จังหวัดพิษณุโลก Key word “ บูรณาการพัฒนาการเกษตร ” “ โยนิโสนมะสิการ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google