งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สารปรุงแต่งอาหาร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สารปรุงแต่งอาหาร."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สารปรุงแต่งอาหาร

2 * จัดทำโดย * 1. นางสาวพิณใจ ทองเจริญ รหัส 4802071
1. นางสาวพิณใจ ทองเจริญ รหัส 2. นายฤทธิรณ กันทะคำ รหัส 3. นายศิริวัฒน์ หนองคำ รหัส 4. นางสาวณัฐณี นุตโส รหัส

3 1. แหล่ง / ประเภท / ชนิดของอาหาร
ประเภทสารเจือปนและสารปนเปื้อน สารเจือปน คือ สารที่ถูกใส่ลงในอาหาร เช่น สารชูรส สารกันบูด เป็นต้น สารปนเปื้อน คือ สารที่ปะปนอาหารอย่างไม่เจตนา แปดเปื้อนโดยธรรมชาติ เช่น สารพิษ โลหะหนัก เป็นต้น

4 ชนิดของสารปรุงแต่งอาหาร
สารเจือปน เช่น สารแต่งสี สารกันบูด สารให้ความหวาน สารชูรส สารกันหืน สารบอแรกซ์ สารฟอกสี สารที่ทำให้เนื้อเปื่อยนุ่ม ดินประสิว เป็นต้น แหล่งที่มาของสารปรุงแต่งอาหาร สารปรุงแต่งสี สีอินทรีย์ ได้จากผงถ่านที่ได้จากการเผากาบมะพร้าว สีที่ได้จากธรรมชาติ อาจมาจากพืชหรือสัตว์

5 สารแต่งรสหวาน น้ำตาลเทียม เป็นสารอินทรีย์ที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นมา มีความหวานมากกว่าน้ำตาลทรายหลายเท่า
ตัวอย่างสารที่ให้ความหวาน เช่น แซ็กคาริน (Saccharin) หรือขันฑสกร  มีความหวานมากกว่าน้ำตาลซูโครส เท่า   อะซีซัลเฟม เค  (Acesulfame  K) หรือ Acesulfame Potassium มีความหวานมากกว่าน้ำตาลซูโครสประมาณ 200 เท่า แอสปาร์เทม (Aspartame)   มีความหวานมากกว่าน้ำตาลซูโครสประมาณ 200 เท่า  จัดเป็นสารประเภทโปรตีน ที่ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรีต่อกรัม

6 ผงชูรส >> ผงชูรส ผงโมโนโซเดียมลูตาเมต ทำจากแบคทีเรีย ที่หมักแป้งสำปะหลังเป็นสิ่งที่ช่วยเสริมรสชาติของอาหารอย่างมีประสิทธิภาพมานานเกือบศตวรรษ องค์ประกอบหลักของผงชูรส คือ กรดอะมิโน ที่มีชื่อว่า "กรดกลูตามิก" หรือ "กลูตาเมต" ซึ่งเป็นส่วนประกอบตามธรรม-ชาติที่พบได้ในอาหารแทบทุกชนิด ปริมาณของผงชูรสที่อณุญาตให้ใส่ในอาหาร การเติมผงชูรสลงในอาหาร ก็คล้ายกับ การเติมเครื่องปรุงรสทั่วๆ ไป เช่น เกลือ น้ำตาล และพริกไทย โดยปริมาณ การใช้ผงชูรสอย่างเหมาะสมจะอยู่ในระดับ เดียวกับปริมาณกลูตาเมตในอาหารธรรมชาติ คือ % ของอาหาร หรืออาจกล่าวได้ ว่าประมาณผงชูรส 1 ช้อนชาเหมาะที่จะใช้ใน การปรุงอาหารที่เป็นเนื้อสัตว์ 1 กิโลกรัม หรือ ปรุงอาหารจำพวกผักและซุปหรือแกงจืด 1 หม้อ สำหรับเสิร์ฟ ที่

7 2.อันตราย / ความเสี่ยงต่อผู้บริโภค
- สารปรุงแต่งอาหารนั้น ได้ใช้เพื่อเพิ่มความน่ารับประทาน ทั้งในรูปสี กลิ่น หรือต่างๆกันไป แต่ก็ไม่ได้มีคุณค่าทางอาหารแต่อย่างใด ดังนั้นหากได้รับมากไปอาจจะมีโทษต่อร่างกายเช่นกัน เช่น.... - สารบอแรกซ์ จะเป็นอันตรายต่อเซลล์ โดยจะไปรวมกับโปรตีนหรือไขมัน ทำให้เซลล์ไม่ทำงานและตายไปในที่สุด - สารเลนดอล เป็นยาที่มักให้สัตว์กิน เพื่อเร่งให้โตเร็วและนุ่ม รวมทั้งยังส่งผลที่เป็นพิษต่อผู้บริโภค - ผงชูรส หากได้รับปริมาณมากจะเป็นอันตรายโดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อไต หญิงมีครรภ์ และทารก

8 - สารกันบูด สารที่นิยมใช้เป็นสารกันบูด  ได้แก่ กรดซาลิวาลิก  กรดบอริก และโซเดียมเบนโซเอตมีกรดเป็นอันตรายต่างๆ มากมายทำให้ผู้ที่รับประทานเข้าไปมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน หานใจขัด ท้องเสีย เม็ดเลือดแดงหมดสภาพ และอาจตายได้ - ไนไตร์ท อาหารดองเค็ม อาหารปิ้ง ย่าง และอาหารที่ถนอมด้วยเกลือ ไนเตรท-ไนไตรต์ หรือที่รู้จักกันในนาม "ดินประสิว" หากรับประทานเข้าไปจะทำให้เสี่ยงต่อเกิดมะเร็งหลอดอาหารและมะเร็งกระเพราะอาหาร - สารให้ความหวาน หากรับประทานในปริมาณที่มากเกินไปจะทำให้เกิดโรคสมองอักเสบและต่อมไร้ท่อผลิตปกติ

9 อันตรายของสีสังเคราะห์ผสมอาหาร !!
• ตะกั่ว ทำให้ร่างกายอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดศีรษะ และโลหิตจาง อาการต่อมาคือเป็นอัมพาตตามแขนขา สมองไม่ปกติ ชักกระตุก เพ้อคลั่ง และหมดสติ • สารหนู ทำอันตรายต่อระบบส่วนกลาง ระบบทางเดินอาหาร ทำให้ตับอักเสบ และมีอันตรายต่อวงจรโลหิตที่ไปเลี้ยงหัวใจ อาจทำให้หัวใจวายได้

10 3. แนวทางป้องกัน / แก้ไข • ไม่ควรทานอาหารซ้ำซากจำเจ ควรปรับเปลี่ยนรสชาติของอาหารบ้างเพื่อให้ได้สารอาหารที่ครบถ้วน • เราควรเลือกรับประทานอาหารและหลีกเลี่ยงอาหารที่มีสีสรรจัดจนเกินไป • หลีกเลี่ยงอาหารที่มีผงชูรสมาก หากจำเป็นต้องบริโภคอาหารที่มีสารกันบูด ก็ควรคำนึงถึงผลิตภัณฑ์ และองค์ประกอบเป็นสำคัญ ไม่ควรทานลูกชิ้นที่กรอบเพราะอาจมีสารบอแรกซ์เป็นส่วนผสม ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสหวานจัด เพราะจะเป็นอันตรายต่อร่างกาย อาหารที่ใส่สารกันหืน ควรเก็บไว้ในที่อุณหภูมิปกติเพื่อให้เก็บได้นาน

11 The end


ดาวน์โหลด ppt สารปรุงแต่งอาหาร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google