งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประชุมคณะทำงานบริหารจัดการ เชิงยุทธศาสตร์ ครั้งที่ 1 / 2552

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประชุมคณะทำงานบริหารจัดการ เชิงยุทธศาสตร์ ครั้งที่ 1 / 2552"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประชุมคณะทำงานบริหารจัดการ เชิงยุทธศาสตร์ ครั้งที่ 1 / 2552
(เฉพาะสำนักและกองบริหารในส่วนกลาง) เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการอำนวยการและคณะทำงานบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค ครั้งที่ 1 (เฉพาะสำนัก / กองบริหารในส่วนกลาง) วันอังคารที่ 9 มิถุนายน 2552 ณ ห้องประชุมสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง อาคาร 4 ชั้น 4 กรมควบคุมโรค

2 วัตถุประสงค์ รับทราบ 1.1 บทบาทหน้าที่ของคณะทำงานบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ (คำสั่งที่ 251/2552) 1.2 การจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การเสริมสร้างสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพระหว่างกรมควบคุมโรคและกรมอนามัย 1.3 การเตรียมข้อมูลประกอบคำชี้แจงต่อสภาผู้แทนราษฎรและคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ (15 มิย.52) 2. มอบหมาย 2.1 การจัดทำทิศทางการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคในส่วนที่เกี่ยวข้องให้สมบูรณ์ในลักษณะ National Direction โดยพิจารณาจากทิศทางหลักขององค์กรและความคาดหวังของผู้รับบริการ กรมฯ รวมถึงกำหนดตัวชี้วัดผลสำเร็จ (Achieve Indicators) และโครงการหลักที่รองรับตัวชี้วัด (ส่งกองแผนงาน 26 มิย.52) 2.2 การจัดทำแผนยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา ประจำปี 2553 - ทิศทางแผนยาฯ (ส่งกองแผนงาน 15 มิย.52) - แผนจัดซื้อยาฯ (ส่งกองแผนงาน 30 มิย.52) 2.3 การจัดทำข้อมูลเงินนอกงบประมาณทุกแหล่งทุน และวิธีการบริหารเงินนอกงบประมาณที่ได้รับใน ปี 2552 และ 2553 (ส่งกองแผนงาน 30 มิย.52) 2.4 การจัดทำแผนปฏิบัติราชการและงบประมาณรองรับแผนปฏิบัติการลดความเสี่ยง จากภัยพิบัติแห่งชาติในเชิงยุทธศาสตร์ พ.ศ – 2562 (ส่งกองแผนงาน 10 กค.52)

3 1.1 บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการอำนวยการฯ
กำหนดนโยบาย ทิศทางการดำเนินงานของกรมควบคุมโรค เห็นชอบแผนงบประมาณ กลั่นกรองและลำดับความสำคัญโครงการ รวมถึงเงินนอกงบประมาณ เช่น เงินช่วยเหลือ จากต่างประเทศ ให้มีเอกภาพ สอดคล้อง เชื่อมโยง เกื้อกูล บูรณาการผลผลิต สนับสนุนกันระหว่างแหล่งงบประมาณและแผนงาน กำหนดระบบการกำกับ ติดตามและประเมินผลบุคคลและหน่วยงานให้บรรลุเป้าหมายผลผลิต และการให้บริการของกรมควบคุมโรค แต่งตั้งคณะกรรมการเพิ่มเติมได้ตามความจำเป็น

4 1.1 บทบาทหน้าที่ของคณะทำงานฯ
พิจารณาทบทวนประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและคุณค่าผลผลิตจากโครงการที่ผ่านมาของหน่วยงาน เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีให้มีความสอดคล้องกับนโยบายเป้าหมายการให้บริการและทิศทางหลักแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ของกรมควบคุมโรค กำหนดแนวทางการบริหารงบประมาณให้เกิดการ บูรณาการกิจกรรมและติดตามประเมินผลการใช้จ่ายงบประมาณ ผลการดำเนินงานของหน่วยงานที่รับผิดชอบให้บรรลุตามเป้าหมายตัวชี้วัด

5 1.1 บทบาทหน้าที่ของคณะทำงานฯ (ต่อ)
จัดทำเอกสารงบประมาณ รายงานผลการดำเนินงาน ร่วมชี้แจงต่อกระทรวงสาธารณสุข สำนักงบประมาณและกรรมาธิการงบประมาณตามปฏิทินกำหนดการที่ สำนักงบประมาณและกระทรวงกำหนด รวมทั้งจัดทำข้อเสนอแนวทางการพัฒนากลยุทธ์ และแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ของกรมฯ การกำกับ ติดตาม ประเมินผล ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงต่อการไม่บรรลุเป้าหมายการให้บริการของกรมฯ แต่งตั้งคณะทำงานเพิ่มเติมได้ตามความจำเป็น

6 วาระที่ 1.2 การเตรียมข้อมูลประกอบคำชี้แจงต่อ สภาผู้แทนราษฎรและคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

7 การจัดทำเอกสารประกอบการชี้แจงของคณะกรรมาธิการฯ
1. กองคลัง ดำเนินการ ข้อ 1.1 สรุปการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ (แบบ ก.2) 1.2 สรุปการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ (แบบ ก.3) 1.3 สรุปรายการภาระผูกพันงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ (แบบ ก.5) โดยให้ประสานกับ - สำนักงานเลขานุการกรม (ค่าเช่ารถยนต์) - สถาบันบำราศนราดูร (ค่าก่อสร้างอาคารแม่แบบฯ) 1.4 สรุปข้อมูลการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ (แบบ ก.8) 1.5 สรุปข้อมูลการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ (แบบ ก.9) 7

8 การจัดทำเอกสารประกอบการชี้แจงของคณะกรรมาธิการฯ (ต่อ)
2. กองแผนงาน รวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานและจัดทำ 2.1 ข้อมูลภาพรวมนำเสนอด้วย Power Point 2.2 แผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ (แบบ ก.4) 2.3 ข้อมูลแหล่งที่มาของเงินกู้ ระยะเวลาการดำเนินงาน วัตถุประสงค์ เป้าหมายของโครงการ ตลอดจนค่าใช้จ่ายและแผนการดำเนินงานจำแนกเป็นเงินกู้และเงินบาทสมทบ ปี 2553 (แบบ ก.6) 2.4 สรุปสัมมนาและฝึกอบรมทั้งในประเทศและนอกประเทศตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ (แบบ ก.12) (รวบรวมจากรายงานในระบบบริหารจัดการงบประมาณ) 8

9 การจัดทำเอกสารประกอบการชี้แจงของคณะกรรมาธิการฯ (ต่อ)
3. กองการเจ้าหน้าที่ จัดทำโครงสร้างของส่วนราชการ 4. สำนักจัดการความรู้ สรุปรายชื่อโครงการวิจัยตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ (รวมทั้งที่ใช้เงินนอกงบประมาณ) พร้อมทั้งรายงานความก้าวหน้าและประโยชน์ที่ คาดว่าจะได้รับ (แบบ ก.11) 5. สำนักงานเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ สรุปค่าใช้จ่ายในการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ ปีงบประมาณ พ.ศ ให้แสดงรายละเอียดและวิธีการดำเนินงาน (แบบ ก.13) 9

10 การจัดทำเอกสารประกอบการชี้แจงของคณะกรรมาธิการฯ (ต่อ)
6. สำนักวิชาการ จัดทำข้อมูลและ Power Point ประกอบการนำเสนอภาพรวมของท่านอธิบดีต่อคณะกรรมาธิการฯ ในส่วนที่เป็นนโยบายสำคัญ ประกอบด้วย 6.1 สรุปสถานการณ์และผลการดำเนินงานที่สำคัญในปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน (31พฤษภาคม 2552) 6.2 สรุปปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานและแนวทางแก้ไข 6.3 แผนการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ จำแนกตามจุดเน้นที่สำคัญและผลที่ คาดว่าจะได้รับ (จำแนกเป็นนโยบายต่อเนื่อง และนโยบายใหม่) สำหรับ Power Point ในสาระสำคัญ 3 ส่วนดังกล่าว ให้จัดทำแบบสรุปไม่ควรเกิน 5 Slide 6.4 ประเด็นคำถาม – คำตอบ 5 ข้อ 10

11 การจัดทำเอกสารประกอบการชี้แจงของคณะกรรมาธิการฯ (ต่อ)
7. ทุกหน่วยงานที่ได้รับสนับสนุนเงินนอกงบประมาณ จัดทำสรุปรายละเอียดแหล่งที่มาแผนการดำเนินงาน และประมาณการ และแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ปี (แบบ ก.7) โดยจัดส่งให้กองแผนงานพร้อม File หรือทาง ภายในวันที่ 15 มิถุนายน 2552 รายละเอียดตามบันทึกด่วนที่สุด ที่ สธ /ว 160 ลงวันที่ 8 มิถุนายน 2552 11

12 กระบวนการทบทวนทิศทางหลักขององค์กร
วาระที่ 2.1 กระบวนการทบทวนทิศทางหลักขององค์กร เพื่อการเตรียมจัดทำแผนปฏิบัติราชการและคำรับรองการปฏิบัติราชการ / หน่วยงาน / บุคคล ปีงบประมาณ 2553 22 พ.ค. 2552 พ.ค. - มิ.ย. 2552 มิ.ย. - ต.ค. 2552 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมองค์กร (SMART PLUS) นโยบาย OG ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ (เป้าหมายการให้บริการกรมฯ) ตัวชี้วัดและเป้าหมาย กลยุทธ์ ผลผลิต กิจกรรมหลัก การสื่อสารถ่ายทอดทิศทาง - บุคลากรภายในกรมฯ - ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย กรอบการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ปรับปรุง P1 – P8 คำรับรองการ ปฏิบัติราชการ ประจำปี 2553 แผนปฏิบัติราชการ ประจำปี 2553 ผลการดำเนินงาน ที่คาดหวัง ผ่านความเห็นชอบโดยคณะกรรมการอำนวยการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค (คำสั่งที่ 251/2552) ดำเนินการคู่ขนานกันไปกับการทบทวนวิสัยทัศน์ ทิศทางองค์กรปี 12 12

13 กระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติราชการปี 2553
เวลา กิจกรรม/ผลผลิต ผู้รับผิดชอบ ก.พ. - มี.ค. 52 จัดทำกรอบแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี 53 (VDO Conference 5 มี.ค.52) Download file ทาง web board ใน estimates_new กองแผนงาน/ สำนัก /สถาบัน 22 พ.ค. 52 ประชุมและเสนอกรมฯ เห็นชอบกระบวนการฯ มอบสำนัก / สถาบัน ทบทวนกรอบการดำเนินงานปี 53 คณะกรรมการฯ จัดการเชิงยุทธศาสตร์ 12, 28, 29 พ.ค. 52 กำกับ ติดตาม เสนอแนะการดำเนินงาน/ ตัวชี้วัด ปี 52-53 กองแผนงาน / ก.พ.ร. มิ.ย. 52 ทบทวนกรอบการดำเนินงาน ปี 53 ยุทธศาสตร์ กรม ปี ผู้ทรงฯ / สำนัก /สถาบัน / กองแผนงาน / ก.พ.ร. ก.ค. 52 กำหนดตัวชี้วัด ปี 53 ส.ค. 52 จัดทำแผนฯ ให้สอดคล้องกับกรอบการดำเนินงานและตัวชี้วัด ทุกหน่วยงาน ก.ย. 52 พิจารณาแผนฯ ของหน่วยงาน คณะทำงาน ต.ค. 52 เห็นชอบแผนการจัดสรรงบประมาณ 53 13 13

14 มติที่ประชุมคณะกรรมการอำนวยการฯ 22 พฤษภาคม 2552
มติที่ประชุมคณะกรรมการอำนวยการฯ 22 พฤษภาคม 2552 กรกฎาคม สำนักฯ จัดทำทิศทางในลักษณะ National Direction (ไม่ใช่โครงการของสำนัก) โดยให้พิจารณา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายการให้บริการกรมฯ ความต้องการ / ความคาดหวังของผู้รับบริการ รวมถึงกำหนดตัวชี้วัดผลสำเร็จ (Achieve Indicators) และโครงการหลัก ๆ ที่รองรับตัวชี้วัด สิงหาคม สื่อสารให้หน่วยงานนำไปเตรียมจัดทำแผนปฏิบัติราชการและคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานปี 2553 14 14

15 มติที่ประชุมคณะกรรมการอำนวยการฯ 22 พฤษภาคม 2552 (ต่อ)
มติที่ประชุมคณะกรรมการอำนวยการฯ 22 พฤษภาคม 2552 (ต่อ) เดือนสิงหาคม 2552 ทุกหน่วยงานจัดทำและกลั่นกรองโครงการภายใต้แผนปฏิบัติราชการปี 2553 ให้อยู่ในทิศทางและกรอบวงเงินที่ได้รับจัดสรรและทุกแหล่งเงิน เดือนกันยายน 2552 *กรมฯ พิจารณาความสอดคล้องของโครงการกับทิศทางและกรอบวงเงินที่กำหนดเท่านั้น *กองแผนงานจะดูความครบถ้วนและความสอดคล้องของหัวข้อในแผนปฏิบัติราชการ เพื่อให้สามารถกำกับ ติดตามผลได้และไม่พิจารณาตัดสินว่า โครงการใดควรทำหรือไม่ 15 15

16 (ดำเนินการเดือนมิถุนายน - กรกฎาคม 2552)
วาระที่ 2.2 เกณฑ์การจัดทำแผนการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์มิใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์ และสารเคมี ปีงบประมาณ 2553 (ใช้เกณฑ์เดิมจากปี 2552) (ดำเนินการเดือนมิถุนายน - กรกฎาคม 2552)

17 เกณฑ์การจัดทำแผนการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์ และสารเคมี ปีงบประมาณ 2553
1. หลักและวิธีการคิดในการกำหนดเป้าหมายและวงเงิน ควรมีหลักเกณฑ์และเหตุผลการใช้งานที่ชัดเจน และในส่วนของสำนักควรระบุว่า รายการใดที่จะจัดสรรให้แก่ สคร. รายการใดที่ให้ สคร. จัดซื้อเอง ***2. สำนักวิชาการสรุปข้อมูลรายการยาฯ ที่สำนักจะจัดซื้อในปี 2553 (สำหรับรายการที่ยังจำเป็นต้องจัดซื้อส่วนกลาง) โดยให้สำรวจแผนความจำเป็นของสำนักงานป้องกันควบคุมโรค (ปริมาณ / ช่วงเวลา) จัดทำหลักเกณฑ์การกระจายยาให้สำนักงานป้องกัน ควบคุมโรคที่ ปริมาณและระยะเวลาที่จะจัดส่งให้ (ส่งกองแผนงาน 15 มิย.52) 3. ประมาณการความจำเป็นต้องใช้ในปี 2553 และสำรองไม่เกิน เดือน หรือ 25% ของปริมาณที่ใช้

18 เกณฑ์การจัดทำแผนการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์ และสารเคมี ปีงบประมาณ 2553
4. จัดทำแผนการจัดซื้อ โดยระบุรายละเอียดที่ชัดเจน แสดงถึงข้อมูลปริมาณความต้องการ Stock ที่มีอยู่ปัจจุบัน ยอดคงคลังคงเหลือ ฯลฯ (ตามแบบฟอร์มแผนจัดซื้อยาฯ ที่กำหนด) 5. จัดทำแผนจัดซื้อยาฯ แยกออกจากโครงการ เพื่อไม่ให้เกิดความซ้ำซ้อน แต่ถ้าอยู่ในโครงการ ให้ระบุรายการยาฯ พร้อมยอดเงิน ส่วนตัวแผนจัดซื้อยาฯ ให้ระบุชื่อโครงการมาให้ชัดเจนด้วย 6. ถ้ามีรายการยาในแต่ละกลุ่มโรค ให้ระบุชื่อกลุ่มโรคให้ชัดเจน เช่น กลุ่มโรคเอดส์ กลุ่มแมลง กลุ่มศูนย์สาธิต ฯลฯ เพื่อไม่ให้เกิดรายการซ้ำซ้อนกันระหว่างกลุ่มโรค 7. รายการใดที่มิได้เป็นยา เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา เช่น ค่าถ่ายเอกสาร ค่าจัดทำรูปเล่ม ค่าอะไหล่เครื่องพ่น ไส้กรอง ค่าซ่อมบำรุง แบบรายงาน ฯลฯ ให้ตัดออกจากแผนจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา และค่าขนส่ง ค่าเช่าโกดัง และค่าบริหารจัดการด้วยระบบ VMI ให้แยกออกจากแผนจัดซื้อยาฯ ไปอยู่ในโครงการ (งบดำเนินงาน)

19 เกณฑ์การจัดทำแผนการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์ และสารเคมี ปีงบประมาณ 2553
8. ยาที่ใช้กับสัตว์ ให้จัดเป็นเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา และขอให้ทุกหน่วยงานถือปฏิบัติเหมือนกัน 9. เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ( ถุงมือ ไซริงค์ ) และรวมถึงรายการดังนี้ - วัสดุวิทย์ฯ - สารเคมีกำจัดแมลง - วัสดุการแพทย์ - วัสดุเภสัช (สารเคมีทำยา) - วัสดุทันตกรรม - รายการใดที่มิใช่ยาแต่มีการนำมาใช้กับคนไข้ 10. จัดส่งข้อมูลแผนจัดซื้อยาฯ ของ สคร. ให้สำนักฯ เพื่อตรวจสอบความซ้ำซ้อน 11. รายการจัดซื้อจากเงินนอกงบประมาณที่ได้รับสนับสนุนจากแหล่งอื่น และเงินบำรุง (ควรแยกคนละตารางกับเงินงบประมาณ) 12. ค่าใช้จ่ายจริงเกี่ยวกับการจัดซื้อเวชภัณฑ์ยาฯ ปี 2552 แยกแหล่งเงิน

20 เกณฑ์การจัดทำแผนการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์ และสารเคมี ปีงบประมาณ 2553
ขอเพิ่ม หมายเหตุ : โครงการวิจัยที่มีการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยาให้ดำเนินการ ดังนี้ ไม่ต้องทำแผนจัดซื้อยาตามแบบฟอร์ม จัดทำรายละเอียดแนบท้ายโครงการวิจัย ประกอบด้วย *แผนใช้จ่ายเงินรายเดือนเหมือนทุกโครงการ *ข้อมูลระบุรายการที่จัดซื้อ โดยแยกเป็นยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยาจำนวนวงเงิน และเหตุผลในการจัดซื้อเพื่อทำสนับสนุนกิจกรรมใดในโครงการ

21 การจัดทำข้อมูลเงินนอกงบประมาณทุกแหล่งทุน
วาระที่ 2.3 การจัดทำข้อมูลเงินนอกงบประมาณทุกแหล่งทุน

22 แหล่งเงินที่ใช้ในการบริหารโครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของกรมควบคุมโรค ปี 2552
GF กองทุนโลก (GF) - ยาต้านไวรัส ล้านบาท - HIV-NAT ARV Program ล้านบาท สปสช. - วัคซีนป้องกันตับอักเสบบี สำหรับข้าราชการ 4.339 ล้านบาท - การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี ล้านบาท ปี ล้านบาท ปี ล้านบาท - การนำร่องขยายการให้วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ปี ล้านบาท ปี ล้านบาท รวมเงินนอกงบประมาณผ่านกองคลัง 2 แหล่งทุน จำนวน ล้านบาท (ข้อมูลคลาดเคลื่อนกับกองแผนงานที่ได้จากการอนุมัติโครงการจาก 20 แหล่งทุน จำนวน ล้านบาท) สปสช. เงินงบประมาณ ที่มา : ข้อมูลเงินนอกงบประมาณจากกองคลัง ณ วันที่ 20 พฤษภาคม 2552 หมายเหตุ : ข้อมูลเงินนอกงบประมาณไม่ครบถ้วน ไม่ตรงกับโครงการที่เสนอกรมฯอนุมัติ

23 แหล่งเงินที่ใช้ในการบริหารโครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของ กรมควบคุมโรค ปี 2552 (ข้อมูลกองแผนงาน ล้านบาท จาก 20 แหล่งทุน) TUC CDC สปสช. GF WHO ที่มา : ได้จากโครงการหน่วยงานส่งมาที่กองแผนงานเพื่อเสนอกรมฯ อนุมัติประจำปีงบประมาณ พ.ศ สรุป ณ วันที่ 21 พฤษภาคม 2552 หมายเหตุ : ขาดข้อมูล สปสช. ส่วนที่สนับสนุนสำนักโรคติดต่อทั่วไป / ขาดข้อมูลของสำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่

24 สรุปการสนับสนุนเงินนอกงบประมาณ ปี 2552 จำแนกรายโรค
หน่วยนับ : ล้านบาท หมายเหตุ : ไม่มีข้อมูลของสำนักโรคติดต่อทั่วไป และสำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ ที่มา : ได้จากโครงการหน่วยงานส่งมาที่กองแผนงานเพื่อเสนอกรมฯ อนุมัติประจำปีงบประมาณ พ.ศ สรุป ณ วันที่ 21 พฤษภาคม 2552

25 ข้อเสนอการทบทวน ระบบการบริหารจัดการเงินนอกงบประมาณ
นิยาม : เงินนอกงบประมาณ เงินรายได้ของส่วนราชการ (เงินที่ส่วนราชการได้รับโดยไม่ต้องนำส่งคลัง ตามมาตรา 24 ของพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ) เงินและทรัพย์สินช่วยราชการ (เงินหรือทรัพย์สินที่บุคคล บริษัท ห้างร้าน หรือสถาบัน บริจาคช่วยเหลือแก่ส่วนราชการตามวัตถุประสงค์ต่าง ๆ) เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ (เงินที่รัฐบาลและองค์การ หรือสถาบันระหว่างประเทศมอบให้รัฐบาลหรือส่วนราชการ เพื่อดำเนินงานตามโครงการใด ๆ) เงินโอนจากส่วนราชการอื่น ๆ (เงินนอกงบประมาณ)/ เงินสนับสนุนจากสปสช. / สสส. เงินกู้ ที่มา : คู่มือปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ สำนักงบประมาณ

26 การทบทวนระบบการบริหารจัดการ เงินนอกงบประมาณ (ต่อ)
สภาพปัญหา ผลกระทบ กรมฯ ไม่มีระบบควบคุม กำกับ ติดตาม การรับเงินนอกงบประมาณ หน่วยงานที่รับเงินนอกงบประมาณ ละเลย กฎ ระเบียบต่าง ๆ ไม่ถือปฏิบัติตามที่ได้กำหนดไว้ เช่น *ไม่ได้จัดทำบัญชีเป็นรายโครงการ *ไม่มีทะเบียนคุม *ไม่มีการจัดทำรายงาน รับ - จ่าย * นำเข้าบัญชีเงินฝากของหน่วยงานโดยตรง โดยที่ไม่ได้ผ่านกรมฯ -อาจถูกท้วงติงจากสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) -ไม่สามารถบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดได้ -ไม่สามารถควบคุม กำกับ ดูแลให้เป็นไปตามระเบียบเงินที่ได้รับความช่วยเหลือหรือร่วมมือจากต่างประเทศ ที่มา : รายงานการตรวจสอบภายใน 6 เดือนแรก ปี 2552 กลุ่มตรวจสอบภายใน, กรมควบคุมโรค

27 การทบทวน ระบบการบริหารจัดการเงินนอกงบประมาณ (ต่อ)
กรมฯ ควรมีคณะทำงานทบทวนการบริหารจัดการเงินนอกงบประมาณ และเงื่อนไข / ระเบียบในการใช้จ่ายของแหล่งทุน เห็นควรมอบหมายกองคลังเป็นเลขานุการ โดยมีสาระสำคัญที่ต้องทบทวน ดังนี้ รายการหรือโครงการที่ได้รับการสนับสนุนพร้อมแหล่งทุน ทบทวนคำสั่ง ระเบียบ ข้อตกลง และเงื่อนไขต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด เช่น * ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. 2551 * ระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการรับ - จ่าย และการเก็บรักษาเงินที่ ได้รับความช่วยเหลือหรือร่วมมือจากต่างประเทศ พ.ศ. 2527 * ระเบียบการจ่ายค่าตอบแทนให้บุคลากรที่ทำงานเงินนอกงบประมาณ (Full Time / Part Time) * คำสั่งที่ 169/2546 ลว. 26 ก.พ.2546 เรื่องมอบอำนาจการก่อหนี้ผูกพันและ การจ่ายเงินช่วยเหลือ

28 การทบทวน ระบบการบริหารจัดการเงินนอกงบประมาณ (ต่อ)
2) ทบทวนคำสั่ง ระเบียบ ข้อตกลง และเงื่อนไขต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด เช่น * กองทุนโลก - ประกาศคณะกรรมการกลไกความร่วมมือในประเทศที่ 1/2550 ณ วันที่ ม.ค.2550 เรื่องหลักเกณฑ์ค่าใช้จ่ายโครงการภายใต้การสนับสนุนกองทุนโลก * ศูนย์ความร่วมมือไทย - สหรัฐฯ ด้านสาธารณสุข - ข้อเสนอแนะแนวทางการกำหนดอัตราเงินเดือน ค่าล่วงเวลา และเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย (ใช้บังคับตั้งแต่ 1 ต.ค.2549) 3) ทบทวนระบบการบริหารเงินนอกงบประมาณ * การโอนเงินเข้าระบบ GFMIS หรือเข้าบัญชีธนาคาร (กรมฯ / หน่วยงาน / กลุ่มงาน) * ระบบการวางแผนที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์กรมฯ * ระบบการติดตาม กำกับ ประเมินผลงาน / เงิน 4) วิเคราะห์ความแตกต่างของการบริหารจัดการเงินนอกงบประมาณของแต่ละหน่วยงาน 5) จัดทำเกณฑ์กลางของกรมฯ สำหรับใช้ในการบริหารจัดการเงินนอกงบประมาณ

29 มติที่ประชุมคณะกรรมการอำนวยการฯ
เดือนกรกฎาคม 2552 -สำนักฯ จัดทำข้อมูลเงินนอกงบประมาณทุกแหล่งทุน และวิธีการบริหารเงินนอกงบประมาณที่ได้รับในปี และ 2553 -มอบหมายกองคลังและกองแผนงานพิจารณาทบทวนกระบวนการบริหารจัดการ การติดตามและรายงานผลการดำเนินงานและการใช้จ่ายเงินนอกงบประมาณ

30 รายการเงินนอกงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 – 2553
"ร่าง" รายการเงินนอกงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ – 2553 ส่วนราชการ สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์...... (ใช้แบบฟอร์มเดียวกันแยกโครงการละ 1 ชุด) 1. เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ TUC GF WHO อื่นๆ (ระบุ) 2. เงินจากองค์กรภายในประเทศ สปสช อื่นๆ (ระบุ) สสส. 3. เงินบำรุง เงินบำรุง อื่น ๆ (ระบุ).... รายการ : คำอธิบาย รายละเอียด (ตัวอย่าง) 1 ชื่อโครงการ : ชื่อโครงการร่มใหญ่ และชื่อโครงการย่อยที่มีการดำเนินงานภายใต้งบประมาณของร่มใหญ่ โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเยาวชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ (โครงการร่มใหญ่) 1.1 โครงการขับเคลื่อนงานด้านการป้องกันเอดส์ในสถานศึกษา 1.2 โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อการดำเนินงานป้องกันเอดส์ในชุมชน 2 สนับสนุนจากแหล่งทุน : ระบุชื่อแหล่งทุนที่ได้รับเงินสนับสนุนจากองค์กรใด กองทุนโลก 3 การอนุมัติแผน : ให้ระบุว่ามีการเสนอแผนหรือภายหลังได้รับการสนับสนุนโครงการให้กรมฯ อนุมัติหรือไม่ โครงการได้รับอนุมัติจากกรมควบคุมโรค ตามบันทึกที่ ลงวันที่

31 รายละเอียด (ตัวอย่าง)
รายการ : คำอธิบาย รายละเอียด (ตัวอย่าง) 4 รับเงินโดย : การโอนเงินจากองค์กรที่สนับสนุนมายังหน่วยงานในรูปแบบใด เช่น โอนเข้าบัญชีเงินฝากของกรมหรือหน่วยงาน ในชื่อบัญชี เลขที่บัญชี มีการนำเข้าระบบ GFMIS หรือไม่ เข้าบัญชีเงินฝากของ (ระบุเป็นกรมฯ หรือหน่วยงาน) ชื่อบัญชี เลขที่บัญชี 5 ลักษณะการเบิก-จ่ายเงิน : ระบุลักษณะการเบิกจ่าย เช่น เบิก-จ่ายเงินโครงการภายในครั้งเดียว หรือ เบิก-จ่ายเงินโครงการเป็นรายงวด หรือเป็นการผ่านเงินให้หน่วยงานอื่นเบิกแทน ผู้มีอำนาจในการลงนามในใบสำคัญเบิกเงินหรือใบถอนเงินจากธนาคาร มีการจัดระบบบันทึกรายการทางบัญชี การจัดทำทะเบียนคุมหรือไม่อย่างไร เบิก-จ่ายเงินโครงการเป็นรายงวด โดยอำนาจของผู้อำนวยการสำนัก 6 ติดตามประเมินผลงาน : การรายงานผลการดำเนินงานโดยใช้แบบรายงานใดบ้าง ส่งให้ใคร ระยะเวลาที่ส่งรายงาน - จัดทำรายงานผลการดำเนินงานเพื่อส่งให้ GF ตามแบบฟอร์มที่ GF กำหนด ส่งให้กองทุนโลกทุก...เดือน - รายงานผลการดำเนินงานในเมนูความก้าวหน้าของโครงการระบบบริหารจัดการงบประมาณ กรมควบคุมโรค (Estimates) ทุก 1 เดือน 7 ติดตามประเมินผลการใช้เงิน : การรายงานผลการใช้จ่ายเงิน ใช้แบบรายงานใดบ้าง ส่งให้ใคร ระยะเวลาที่ส่งรายงาน จัดทำรายงานผลการใช้จ่ายเงินตามแบบฟอร์ม ส่งให้ กองคลังเพื่อเป็นหลักฐานในการเบิก-จ่ายเงินทุก เดือน 8 ข้อตกลง / เงื่อนไข : ข้อสัญญา ข้อตกลง หรือเงื่อนไขต่างๆ ในการดำเนินการโครงการ สำหรับอ้างอิงในการเบิกจ่ายเงิน ตามสัญญาการดำเนินการโครงการ Program Grant Agreement AIDS Round 1 RCC Wave 2

32 รายละเอียด (ตัวอย่าง)
รายการ : คำอธิบาย รายละเอียด (ตัวอย่าง) 9 ระยะเวลาเริ่มต้น-สิ้นสุด : ระบุวัน เดือน ปี ตั้งแต่เริ่มดำเนินโครงการ จนถึงสิ้นสุดโครงการตามที่กำหนดไว้ในข้อตกลง 1 ตุลาคม 2551 ถึง 30 กันยายน 2552 10 วงเงินที่ได้รับทั้งโครงการ (บาท) : วงเงินที่ได้รับสนับสนุนในโครงการร่มใหญ่ 14,552,947.58 11 เบิกจ่ายไปแล้ว (บาท) : ระบุจำนวนเงินที่เบิกจ่ายทั้งหมด (เฉพาะเบิกจ่ายโดยหน่วยงานไม่รวมโอนให้หน่วยงานอื่นเบิกจ่ายแทน) 3,500,000 (ตัวเลขสมมติ) 12 โอนให้หน่วยงานอื่น : ระบุชื่อหน่วยงานและจำนวนเงินที่โอนให้เบิกจ่ายแทน กรณีที่ในโครงการมีการโอนเงินให้หน่วยงานอื่นดำเนินการ และเบิกจ่ายแทน เช่น สคร. กระทรวง มหาวิทยาลัย หน่วยงานเอกชนอื่น ฯลฯ สคร. 1 จำนวน 1,000,000 บาท สสจ.นนทบุรี จำนวน 500,000 บาท รวม 1,500,000 บาท (ตัวเลขสมมติ) 13 คงเหลืองบประมาณ (บาท) : ระบุจำนวนงบประมาณของโครงการร่มใหญ่ภายหลังจากหักจากงบประมาณที่เบิกจ่ายไปแล้ว และโอนให้หน่วยงานอื่นเบิกแทนแล้ว 9,522, บาท ณ วันที่ 30 พฤษภาคม (ตัวเลขสมมติ) 14 ผู้รับผิดชอบโครงการ : ชื่อผู้ที่รับผิดชอบโครงการ พร้อมทั้ง กลุ่มงาน และเบอร์โทรศัพท์ ระบุชื่อบุคคลและเบอร์โทรศัพท์ หมายเหตุ : รวบรวมทุกโครงการที่ยังไม่ปิดโครงการ

33 วาระที่ 2.4 การจัดทำแผนปฏิบัติราชการและงบประมาณรองรับแผนปฏิบัติการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติแห่งชาติในเชิงยุทธศาสตร์ พ.ศ


ดาวน์โหลด ppt การประชุมคณะทำงานบริหารจัดการ เชิงยุทธศาสตร์ ครั้งที่ 1 / 2552

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google