งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หน่วยที่ 1 ระบบต่าง ๆ ของร่างกาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หน่วยที่ 1 ระบบต่าง ๆ ของร่างกาย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หน่วยที่ 1 ระบบต่าง ๆ ของร่างกาย
Human Body Systems

2 Human Body Systems ระบบต่าง ๆ ของร่างกาย

3 Human Body Systems ระบบต่าง ๆ ของร่างกาย

4 การจัดระบบของร่างกาย

5 ระบบย่อยอาหาร (Digestive system) YUMMY!!

6 ระบบย่อยอาหาร (Digestive system) วีดีโอyoutube-ระบบย่อยอาหาร

7 สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยเซลล์ซึ่งเป็นหน่วยของสิ่งมีชีวิตที่เล็กที่สุด อาหารที่สิ่งมีชีวิตกินเข้าไป หรืออากาศที่หายใจเข้าไปก็เพื่อนำไปเลี้ยงเซลล์ สำหรับร่างกายของเรา อาหารและอากาศถูกส่งไปยังเซลล์ต่าง ๆ ได้นั้นจะต้องมีกลไกโดยเฉพาะ

8 อวัยวะทางเดินอาหาร (alimentary canal organ)

9

10

11 หลอดอาหาร(esophagus)
ตับ (liver) กระเพาะอาหาร (stomach) ตับอ่อน (pancreas) ลำไส้เล็ก (small intestine) ถุงน้ำดี (gallbadder)

12

13 ทางเดินอาหาร

14 คาร์โบไฮเดรต น้ำตาลกลูโคส โปรตีน กรดอะมิโน ไขมัน กรดไขมัน + กลีเซอรอล
สารอาหารที่มีขนาดใหญ่จะถูกย่อยให้มีโมเลกุลเล็กที่สุดดังนี้ คาร์โบไฮเดรต น้ำตาลกลูโคส โปรตีน กรดอะมิโน ไขมัน กรดไขมัน + กลีเซอรอล วิตามิน แร่ธาตุ และน้ำไม่ต้องย่อย ร่างกาย สามารถดูดซึมไปใช้ประโยชน์ได้เลย

15 การย่อยอาหาร (digestion)
การแปรสภาพอาหารโดยการใช้เอนไซม์เข้าทำปฏิกิริยา ทำให้อนุภาคของอาหารมีขนาดเล็กลงจนแพร่ผ่าน เยื่อหุ้มเซลล์ได้

16 การย่อยอาหาร มี 2 วิธี คือ
การย่อยอาหาร มี 2 วิธี คือ 1. การย่อยเชิงกล ( mechanical digestion ) เป็นการเปลี่ยนแปลงขนาดโมเลกุลของสารอาหารให้เล็กลงโดยการ บดเคี้ยวของฟัน การบีบตัวของกล้ามเนื้อ ได้แก่ ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำไส้เล็ก

17 ภาวะที่เอนไซม์ในน้ำลายทำงานได้ดี
1.ในน้ำลายมีเอนไซม์ไทยาลิน (Ptyalin )หรืออะไมเลส (Amylase ) ทำหน้าที่ย่อยแป้งให้เป็นน้ำตาล 2.เป็นกลาง กรด หรือเบส เล็กน้อย เพราะน้ำลายมีค่า pH 6.4 – 7.2 (แต่ทำงานได้ดีเมื่ออยู่ในค่า pH 6.8 กรดเล็กน้อย) 3.อุณหภูมิประมาณ 25 – 40 0C เอนไซม์ทำงานได้ดีที่สุดที่ อุณหภูมิ C (เอนไซม์ส่วนใหญ่ถูกทำลายที่อุณหภูมิ 100 0C แต่ก็มีบางชนิดที่ถูกทำลายที่อุณหภูมิต่ำกว่า C) 4.เนื้อที่เอนไซม์สัมผัส การทำงานของเอนไซม์ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ ความเป็นกรด เป็นเบส และเนื้อที่เอนไซม์เข้าไปสัมผัส

18 การย่อยอาหารที่ส่วนต่าง ๆ ของระบบย่อยอาหารของคน

19 กรดไขมันและกลีเซอรอล (ส่งไปย่อยยังลำไส้เล็ก)
อวัยวะที่เกี่ยวข้อง อาหารที่ถูกย่อย เอนไซม์หรือสารเคมี ผลที่ได้ ปาก แป้ง อะไมเลสหรือไทยาลิน เดกซ์ตริน และมอลโทส กระเพาะอาหาร โปรตีน เปปซิน โปรตีนโมเลกุลย่อย (เปปไทด์) ลำไส้เล็ก ไขมัน มอสโทส ซูโครส แลคโทส ไลเปส เพพทิเดส อะไมเลส มอลเทส ซูเครส แลคเทส กรดไขมันและกลีเซอรอล กรดอะมิโน กลูโคส กลูโคสและฟรุคโทส กลูโคสและกาแลคโทส ตับอ่อน (ส่งไปย่อยยังลำไส้เล็ก) ทริบซิน มอลโทส ตับ น้ำดี ไขมันแตกตัวเล็กลง

20 กรดไขมันและกลีเซอรอล (ส่งไปย่อยยังลำไส้เล็ก)
อวัยวะที่เกี่ยวข้อง อาหารที่ถูกย่อย เอนไซม์หรือสารเคมี ผลที่ได้ ปาก แป้ง อะไมเลสหรือไทยาลิน เดกซ์ตริน และมอลโทส กระเพาะอาหาร โปรตีน เปปซิน โปรตีนโมเลกุลย่อย (เปปไทด์) ลำไส้เล็ก ไขมัน มอสโทส ซูโครส แลคโทส ไลเปส เพพทิเดส อะไมเลส มอลเทส ซูเครส แลคเทส กรดไขมันและกลีเซอรอล กรดอะมิโน กลูโคส กลูโคสและฟรุคโทส กลูโคสและกาแลคโทส ตับอ่อน (ส่งไปย่อยยังลำไส้เล็ก) ทริบซิน มอลโทส ตับ น้ำดี ไขมันแตกตัวเล็กลง

21 การย่อยอาหาร กรดอะมิโน กรดไขมันและกลีเซอรอล ถูกย่อยเป็น ถูกย่อยเป็น
โปรตีน กรดอะมิโน ไขมัน กรดไขมันและกลีเซอรอล ถูกย่อยครั้งแรกที่กระเพาะอาหารและย่อยต่อไปที่ลำไส้เล็ก วิตามินและเกลือแร่ ไม่มีการย่อยร่างกายนำไปใช้ได้เลย คาร์โบไฮเดรต ถูกย่อยครั้งแรกที่ปากและส่งย่อยต่อไปที่ลำไส้เล็ก น้ำตาลกลูโคส ถูกย่อยที่ลำไส้เล็กอย่างเดียว การย่อยอาหาร ถูกย่อยเป็น

22 สรุปการย่อยอาหาร 1.คาร์โบไฮเดรต ประเภทแป้ง ถูกย่อยครั้งแรกที่ปาก
1.คาร์โบไฮเดรต ประเภทแป้ง ถูกย่อยครั้งแรกที่ปาก และถูกย่อยต่อไปที่ลำไส้เล็ก เป็นน้ำตาลกลูโคส 2.โปรตีน ถูกย่อยครั้งแรกที่กระเพาะอาหารและย่อย ต่อไปที่ลำไส้เล็กเป็น กรดอะมิโน 3.ไขมัน ถูกย่อยที่ลำไส้เล็กอย่างเดียว เป็นกรดไขมัน และกลีเซอรอล 4. บริเวณที่มีการย่อยอาหารมากที่สุด คือ ลำไส้เล็ก

23 4. การย่อยอาหารในปาก กระเพาะอาหาร และลำไส้เล็กเกิดได้ดี
เมื่อ ความเป็นกรด – เบส หรือค่า pH และอุณหภูมิพอเหมาะ - เอนไซม์ในปาก ทำงานได้ดีในสภาพเป็นกรด หรือ เบสเล็กน้อย หรือเป็นกลาง แต่ดีที่สุดในสภาพที่เป็นกรดเล็กน้อย - เอนไซม์ในกระเพาะอาหาร ทำงานได้ดีในสภาพเป็นกรด - เอนไซม์ในลำไส้เล็ก ทำงานได้ดีในสภาพเป็นเบส

24 5.สารอาหารที่ย่อยแล้วจะถูกดูดซึมจากลำไส้เล็กบริเวณ อีเลียม (Ileum)
ซึ่งเป็นส่วนจุดสุดท้ายของลำไส้เล็กเข้าสู่กระแสเลือด 2 ทาง คือ 1.ระบบเลือด ได้แก่ กลูโคส กรดอะมิโน วิตามิน น้ำ เกลือแร่ จะถูกดูดซึมทางเส้นเลือดฝอยของวิวลัสของ ลำไส้เล็กโดยกระบวนการแพร่ และกระบวน การแอคทีฟทรานสปอร์ต 2.ระบบน้ำเหลือง ได้แก่ กรดไขมัน และกลีเซอรอล จะดูซึมเข้าสู่เส้นน้ำเหลืองฝอยอยู่ตรงกลางวิลลัสโดย กระบวนการแพร่ - ส่วนอาหารที่ไม่ย่อย เช่น เซลลูโลส จะถูกส่งต่อไปยังลำไส้ใหญ่

25 การย่อยอาหารในลำไส้เล็ก
เอนไซม์ต่าง ๆที่อยู่ในลำไส้เล็ก ได้มาจาก 1.ตับอ่อน 2.ตับ 3.ต่อมของลำไส้เล็ก

26 Circulatory System ระบบหมุนเวียนเลือด
This Powerpoint is hosted on Please visit for 100’s more free powerpoints

27 ระบบหมุนเวียนเลือด (circulatory system)
ประกอบด้วย (Include) 1. หัวใจ (Heart) 2. หลอดเลือด (Blood vessel) 3. เลือด (Blood)

28 หัวใจ (Heart) ประกอบด้วย
1.ห้องบนซ้าย ( Left Atrium ) หรือ L . A ทำหน้าที่รับเลือดจากปอด 2.ห้องล่างซ้าย (Left Ventricle) หรือ L . V ทำหน้าที่ส่งเลือดไป ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย มีผนังหนาสุด 3.ห้องบนขวา ( Right Atrium ) หรือ R . A ทำหน้าที่นำเลือดจาก ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเข้าสู่หัวใจ 4.ห้องล่างขวา (Right Ventricle) หรือ R .V ทำหน้าที่ส่งเลือด ไปยังปอด

29 ปอด พัลโมนารีอาร์เทอรี พัลโมนารีเวน หัวใจ ห้องบนขวา ห้องบนซ้าย ห้องล่างขวา ห้องล่างซ้าย ส่วนต่างๆของร่างกาย

30 การทำงานของหัวใจ หัวใจทำงานเปรียบเหมือนเครื่องปั้มน้ำ 3 4 บนขวา
                                                                                                                                                                                                                                                                                                                            หัวใจทำงานเปรียบเหมือนเครื่องปั้มน้ำ การทำงานของหัวใจ หลอดเลือดแดง พัลโมนารีอาร์เทอรี (pulmonary artery) หลอดเลือดดำ พัลโมนารีเวน (pulmonary vein) บนขวา ล่างขวา บนซ้าย ล่างซ้าย ส่วนต่าง ๆของร่างกาย ปอด Right Atrium Left Atrium 1 3 Left Ventricle Right Ventricle 4 2 เลือดสีดำ

31 1.หลอดเลือด pulmonary vein 2.หลอดเลือดแดงแต่มีเลือดสีดำ
3 4 1.หลอดเลือด pulmonary vein 2.หลอดเลือดแดงแต่มีเลือดสีดำ 3. หัวใจห้องที่มีเลือดเป็นสีแดงคล้ำหรือมีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์สูง 4. หัวใจห้องที่เลือดมีปริมาณ O2. มาก 2 3 A C B D

32 2.1 หลอดเลือดแดง (Arterial system) หรือระบบอาร์เทอรี (Atery system)
2. หลอดเลือด แบ่งออกเป็น 2.1 หลอดเลือดแดง (Arterial system) หรือระบบอาร์เทอรี (Atery system) - หลอดเลือดแดงที่นำเลือดออกจากหัวใจไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เลือดสีแดงสด เพราะมี O2 (แก๊สออกซิเจน)อยู่มาก ยกเว้นหลอดเลือดที่ออกจากหัวใจไปปอด เป็นหลอดเลือดที่มีเลือดสีดำ คือหลอดเลือดพัลโมนารีอาร์เทอรี (pulmonary atery)

33 หลอดเลือดแดง แบ่งออกเป็น
หลอดเลือดแดง แบ่งออกเป็น -หลอดเลือดเอออร์ตา (Aorta) มีขนาดใหญ่ที่สุด มีเส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 1 นิ้ว ออกจากหัวใจห้องล่างวาดโค้งไปทางด้านหลัง ทอดผ่านช่องอกและช่องท้อง -หลอดเลือดอาร์เทอรี (Atery) นำเลือดไปยังส่วนต่าง ๆของร่างกาย -หลอดเลือดอาร์เทอริโอล (Arteriole) ขนาดเล็กมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.2 มิลลิเมตร

34 หรือระบบหลอดเลือดเวน (Vein system) -หลอดเลือดนำเลือดเข้าสู่หัวใจ
2.2. หลอดเลือดดำ (Venous system) หรือระบบหลอดเลือดเวน (Vein system) -หลอดเลือดนำเลือดเข้าสู่หัวใจ -เลือดมีสีดำ หรือสีแดงคล้ำ เพราะมีแก๊ส CO2 สูง ยกเว้นหลอดเลือดพัลโมนารี เวน (pulmonary vein) ที่นำเลือดมาจากปอดเข้าสู่หัวใจ จะมีเลือดแดง

35 2.3.หลอดเลือดฝอย (Capillary)
-หลอดเลือดฝอย เป็นหลอดเลือดที่เชื่อมระหว่างหลอดเลือดดำ และหลอดเลือดแดงขนาดเล็กเลือดฝอยจะแทรกระหว่างเซลล์ ของร่างกาย -สารต่าง ๆ ที่เลือดได้ลำเลียงไปจะแพร่ออกจากหลอดเลือดฝอย เข้าสู่เซลล์ -การที่มีหลอดเลือดฝอยจำนวนมากเป็นการเพิ่มพื้นที่ที่ผิว ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนอาหาร แก๊สและสารต่าง ๆ ระหว่างเซลล์กับ เลือดมีประสิทธิภาพมากขึ้น

36 หลอดเลือด (Blood vessel)
1.หลอดเลือดแดง หรือหลอดเลือดอาร์เทอรี (Atery ) -นำเลือดออกจากหัวใจไปยังส่วนต่าง ๆของร่างกาย - เลือดสีแดงสด เพราะมี O2 (แก๊สออกซิเจน)อยู่มาก ยกเว้นหลอดเลือดที่ออกจากหัวใจไปปอดเลือดมีสีดำ คือหลอดเลือดพัลโมนารีอาร์เทอรี(pulmonary atery) หลอดเลือด (Blood vessel) 2.หลอดเลือดดำ หรือหลอดเลือดเวน (Vein system) -หลอดเลือดนำเลือดเข้าสู่หัวใจ -เลือดมีสีดำ หรือสีแดงคล้ำ เพราะมีแก๊ส CO2 สูง ยกเว้นหลอดเลือดพัลโมนารี เวน (pulmonary vein) ที่นำเลือดมาจากปอดเข้าสู่หัวใจ จะมีเลือดแดง 3. หลอดเลือดฝอย (Capillary) -เชื่อมระหว่างหลอดเลือด -แทรกระหว่างเซลล์ของร่างกาย -สารต่าง ๆ ที่เลือดได้ลำเลียงไปจะแพร่ออก จากหลอดเลือดฝอยเข้าสู่เซลล์ เพื่อแลกเปลี่ยนอาหาร แก๊สและสารต่าง ๆ ระหว่างเซลล์กับเลือดในหลอดเลือด

37 หลอดเลือดแดง(อาร์เทอรี)
ตารางเปรียบเทียบความแตกต่างของหลอดเลือด ความแตกต่าง หลอดเลือดแดง(อาร์เทอรี) หลอดเลือดดำ(เวน) 1.ผนัง 2.ความยืดหยุ่น 3.ช่องภายใน 4.สี (เลือด) 5.ลิ้น 6.ปริมาณ O2 7.หน้าที่ หนาแข็งแรง มาก กว้าง สีแดงสด ไม่มีลิ้นกั้น นำเลือดออกจากหัวใจ บาง น้อย แคบ สีแดงคล้ำ มีลิ้นกั้น นำเลือดเข้าสู่หัวใจ

38 ส่วนประกอบของเลือด 1. น้ำเลือดหรือพลาสมา
(plasma) มีประมาณร้อยละ 55 ของปริมาณเลือดเป็น ของเหลวค่อนข้างใส สีเหลืองอ่อน ประกอบด้วยน้ำ แร่ธาตุ กลูโคส เอนไซม์ ก๊าซ 2.ส่วนที่เป็นของแข็ง ประมาณ 45 % ของปริมาณเลือด 2.1 เซลล์เม็ดเลือดแดง (Red blood cell) ขนส่ง O2 2.2 เซลล์เม็ดเลือดขาว (White blood cell) หรือ (Leucobcyte) ทำลายเชื้อโรค 2.3 เกล็ดเลือด (Plalet) ช่วยให้เลือดแข็งตัว

39 เกล็ดเลือด หรือเพลตเลต( Platelets) - เป็นส่วนของไซโตพลาสซึมของเซลล์ที่
2.3. แผ่นเลือด (Thrombocyte) หรือเรียกว่า เกล็ดเลือด หรือเพลตเลต( Platelets) - เป็นส่วนของไซโตพลาสซึมของเซลล์ที่ มีขนาดใหญ่ที่สร้างจากไขกระดูกหลุดเข้าสู่หลอดเลือด -ไม่มีนิวเคลียส - อายุประมาณ 10 วัน มีหน้าที่เกี่ยวกับ การแข็งตัวของเลือด

40 Respiratory system (ระบบหายใจ)

41 การหายใจ (respiration) หมายถึงการเผาผลาญหรือ
การหมุนเวียนของแก๊ส การหายใจ (respiration) หมายถึงการเผาผลาญหรือ สลายโมเลกุลของสารอาหารที่อยู่ภายในเซลล์เพื่อให้ได้พลังงาน มาใช้ในการดำรงชีวิต เราเรียกกระบวนการนี้ว่า การหายใจระดับเซลล์ C6H12O6 + 6O CO2+ 6H2O + 38ATP น้ำตาลกลูโคส + แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ + น้ำ + พลังงาน

42 รูจมูก คอหอย กล่องเสียง หลอดลม ปอด

43 ช่องจมูก ถุงลม กล่องเสียง แขนงขั้วปอด ขั้วปอด (BRONCHUS) ปอด หลอดลม
Bronchioles ขั้วปอด (BRONCHUS) Pharynx คอหอย ปอด

44 กลไกการทำงานของการหายใจ
หายใจออก กระดูกซี่โครงลดตัวต่ำลง กะบังยกตัวสูงขึ้น

45

46 การหมุนเวียนของแก๊ส O2 และCO2
(NASAL CAVITY) อากาศภายนอกร่างกาย รูจมูก โพรงจมูก คอหอย หลอดลม ขั้วปอด ถุงลมปอด หัวใจ หลอดเลือด เซลล์ (NOSTRIL) (PHARYNX) (TRACHEA) (BRONCHUS) (ALVEOLUS)

47 โครงสร้างและกลไกสำหรับการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างและกลไกสำหรับการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน       ทางเดินหายใจ (RESPIRATORY TRACT) ของคน ประกอบด้วย รูจมูก (NOSTRIL) >>> ช่องจมูก (NASAL CAVITY) >>> คอหอย (PHARYNX)>>> หลอดลม (TRACHEA) ขั้วปอด (BRONCHUS) >>> แขนงขั้วปอด (BRONCHIOLE) >>> ถุงลม (ALVEOLUS) วววว

48 การเคลื่อนที่ของอากาศ
กลไกการทำงานของการหายใจ การหายใจ กระดูกซี่โครง กล้าม เนื้อ กระบังลม ปริมาตรอากาศ ความดันอากาศ ช่องอก การเคลื่อนที่ของอากาศ เข้า ยกตัวสูงขึ้น ลดตัวต่ำลง เพิ่มขึ้น ลดลง ภายนอกเข้า ถุงลมปอด ออก ออกจาก ระบบหายใจ

49 การแลกเปลี่ยนแก๊สที่ถุงลมปอด
O2 CO2

50 การหายใจเกิดขึ้นที่เซลล์ และเกิดขึ้นตลอดเวลา
การแลกเปลี่ยนแก๊สเกิดขึ้นที่ถุงลมปอด

51 Reproductive System (ระบบสืบพันธุ์)

52

53 ระบบสืบพันธุ์เพศชาย ประกอบด้วย
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย ประกอบด้วย 1.อัณฑะ (Testis) ต่อมเพศทำหน้าที่สร้างอสุจิ (Sperm) หรือสเปิร์มทำหน้าที่สร้างฮอร์โมนเพศชาย คือ testosterone ประกอบด้วย -หลอดสร้างตัวอสุจิ -ถุงอัณฑะ (Scrotum) ปรับอุณหภูมิให้เหมาะสมกับอสุจิประมาณ 34๐C

54 ระบบสืบพันธุ์เพศชาย ประกอบด้วย
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย ประกอบด้วย 2.หลอดเก็บตัวอสุจิ ที่พักตัวอสุจิ 3.หลอดนำตัวอสุจิ นำอสุจิไปที่ต่อมสร้างน้ำเลี้ยง 4.ต่อมสร้างน้ำเลี้ยงตัวอสุจิ (seminal vesicle) สร้างอาหารเลี้ยงอสุจิ ซึ่งเป็นน้ำตาลฟรุกโตส และสารประกอบอื่น ๆ

55 ระบบสืบพันธุ์เพศชาย ประกอบด้วย
5.ต่อมลูกหมาก (prostate gland) หลั่งสารที่เป็นเบสอ่อน ๆ เข้าไปในท่อปัสสาวะปน กับน้ำเลี้ยงอสุจิเพื่อปรับสภาพก่อนที่จะหลั่งอสุจิออก นอกร่างกาย 6. ต่อมคาวเปอร์ (cowper gland)อยู่ใต้ต่อมลูกหมาก ทำหน้าที่หลั่งสารไปหล่อลื่นท่อปัสสาวะเมื่อมีการกระตุ้นทางเพศ ทำให้ตัวอสุจิเคลื่อนตัวได้รวดเร็ว ตัวอสุจิจะออกสู่ภายนอก

56 ความรู้เพิ่มเติม เพศชายมีการหลั่งอสุจิครั้งละ 3 – 4 cm3 (มีตัวอสุจิประมาณ – 500 ล้านตัว ) ชายที่เป็นหมันจะมีอสุจิน้อยกว่า 30 – 50 ล้านตัว / cm3 หรือผิดปกติมากกว่าร้อยละ 25 เพศชายจะสร้างอสุจิอายุประมาณ 12 – 13 ปี จนตลอดชีวิต อสุจิอยู่ในมดลูกได้นาน 2 วัน หรือ 48 ชั่วโมง ตัวอสุจิเมื่อออกสู่ภายนอกร่างกายจะมีชีวิตอยู่ได้เพียง 2-3 ชั่วโมง

57 Male reproductive System ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ต่อมสร้างน้ำเลี้ยงตัวอสุจิ ต่อมลูกหมาก ท่อปัสสาวะ หลอดเก็บตัวอสุจิ ถุงอัณฑะ อัณฑะ Page 11

58 ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง ประกอบด้วย
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง ประกอบด้วย 1.รังไข่ (Ovary) ผลิตไข่และฮอร์โมนเพศหญิง 2.ท่อนำไข่ (ปีกมดลูก)หรือ Fallopian tube หรือ Oviduct เป็นทางผ่านของไข่ และเป็นบริเวณที่ไข่ผสมกับอสุจิ 3.มดลูก (Uterus ) เป็นที่ฝังตัวของไข่ที่ได้รับการผสมและเป็นที่ เจริญเติบโตของทารกในครรภ์ 4.ช่องคลอด (Vagina ) เป็นทางผ่านตัวอสุจิและทารก เมื่อคลอด

59 ภาพด้านหน้าของระบบสืบพันธุ์เพศหญิง

60 ภาพด้านหน้า Female reproductive System ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
Uterus Ovary Fallopian tube Cervix (Oviduct) Vagina endometrium

61 ระบบสืบพันธุ์ เพศชาย 1. อัณฑะ สร้างอสุจิ (Sperm) และฮอร์โมนเพศชาย
2. หลอดเก็บอสุจิที่พักอสุจิ 3.หลอดนำตัวอสุจิทางผ่านไป ต่อมสร้างน้ำเลี้ยงอสุจิ 4. ต่อมสร้างน้ำเลี้ยงอสุจิสร้างของเหลวเป็นน้ำเลี้ยงให้อาหารและทำให้เกิดสภาพเหมาะสมกับอสุจิ 5. ต่อมลูกหมากหลั่งสารบางชนิดเข้าไปในท่อปัสสาวะปนกับน้ำเลี้ยงอสุจิเพื่อเกิดสภาพเหมาะสมกับอสุจิ เพศหญิง 1. รังไข่ มี 2 อัน สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศหญิง หรือไข่ 2. ท่อนำไข่ หรือ ปีกมดลูก เป็นบริเวณที่มีการปฏิสนธิ 3. มดลูก เป็นอวัยวะที่รองรับไข่ที่ได้รับการผสม 4. ช่องคลอด ทางผ่านของ รอบเดือน หรือทารกก่อนคลอด ไข่อยู่ได้ 1 วัน หรือ 24 ชั่วโมง ระบบสืบพันธุ์

62 การตกไข่จะเกิดขึ้นเดือนละ 1 ใบ
การที่ไข่สุกและออกจากรังไข่เข้าท่อนำไข่ การตกไข่จะเกิดขึ้นเดือนละ 1 ใบ รังไข่แต่ละข้างจะสลับกันผลิตไข่ ประมาณวันที่ 13 – 15 ของรอบเดือน ไข่จะอยู่ได้หนึ่งวัน หรือ 24 ชั่วโมงหลังการตกไข่ Ovulation (การตกไข่ )

63 Menstrual cycleรอบเดือนหรือประจำเดือน
เยื่อบุผนังด้านในของมดลูกและหลอดเลือดที่หล่อเลี้ยงสลายตัว พร้อมกับไข่ที่ไม่ได้รับการผสมกับอสุจิ แล้วไหลออกทางช่องคลอดออกนอกร่างกาย ผู้หญิงมีรอบเดือนอายุ 12 ปีขึ้นไป จนอายุ 50 – 55 ปี Menstrual cycleรอบเดือนหรือประจำเดือน รอบประจำเดือน ประมาณ วัน โดยทั่วไป รอบประจำเดือน ประมาณ 28 วัน ในช่วงชีวิตผู้หญิงผลิตไข่ทั้งสิ้น 450 ใบ

64 Fertilization (การปฏิสนธิ)
Summarize (สรุป) Fertilization (การปฏิสนธิ) การที่นิวเคลียสของไข่ 1 ใบ รวมกับนิวเคลียสของอสุจิ 1 ตัว ที่บริเวณท่อนำไข่หรือ ปีกมดลูก Menstrual cycle (ประจำเดือน หรือ รอบเดือน) การที่ไข่ไม่ได้รับการผสมกับอสุจิก็จะสลายตัวออกมาพร้อมกับผนังด้านในของมดลูกและเส้นเลือดไหลออกมาทางช่องคลอด Ovulation (การตกไข่) การที่ไข่สุกและเคลื่อนที่เข้าสู่ท่อนำไข่ประมาณช่วงกลางเดือนของรอบเดือน คือ ประมาณวันที่ 13 – 15 ของรอบเดือน ไข่อยู่ได้ 1 วัน หลังการตกไข่

65 ความผิดปกติของการตั้งครรภ์

66 แฝดร่วมไข่ แฝดต่างไข่

67 การคุมกำเนิด แบบถาวร โดยการทำหมัน ทำได้โดย
แบบชั่วคราว 1. ป้องกันไม่ให้ไข่ผสมกับอสุจิ เช่น ใช้ถุงยางอนามัย 2. การใช้สารเคมีฆ่าอสุจิหรือหยุดการเคลื่อนไหวของอสุจิ 3. การยับยั้งการตกไข่ เช่น การกินยาคุมกำเนิด 4. ป้องกันการฝังตัวของเอ็มบริโอ เช่น การใส่ห่วงอนามัย แบบถาวร โดยการทำหมัน ทำได้โดย - เพศหญิง ตัด หรือผูกท่อนำไข่ทั้งสองข้าง เพศชาย ตัด หรือผูกหลอดนำอสุจิ ทั้งสองข้าง การคุมกำเนิด

68 ระบบขับถ่าย

69 ระบบขับถ่าย

70 Excretory Organs

71 Excretory system ต่อมหมวกไต หลอดเลือดแดงที่ไต ไต Ureter ท่อไต
กระเพาะปัสสาวะ ท่อปัสสาวะ Page 14

72 Excretory Organs There are four main excretory organs:
1.Kidneys -Urine 2.Lungs - CO2 , H2O 3.Skin -Sweat 4.Large intestine – อวัยวะขับถ่าย มี 4 ชนิด 1.ไต – ปัสสาวะ -หน่วยไต 2. ปอด - CO2 , H2O 3. ผิวหนัง – เหงื่อ - ต่อมเหงื่อ 4.ลำไส้ใหญ่ - อุจจาระ removes solid, undigested food - feces

73 การกำจัดของเสีย ของเสีย ที่ร่างกายกำจัดออก มี 3 สถานะ
ของเสีย ที่ร่างกายกำจัดออก มี 3 สถานะ 1.ของแข็ง กำจัดในรูปของอุจจาระที่ลำไส้ใหญ่ 2.ของเหลว มี2 ทาง - ไต (น้ำปัสสาวะ) โดยหน่วยไต - ผิวหนัง (เหงื่อ) โดยต่อมเหงื่อ 3.แก๊ส (CO2) ทางถุงลมปอด

74 ระบบภูมิคุ้มกัน

75 ชนิดของภูมิคุ้มกัน

76 วัคซีน (Vaccine) วัคซีน (Vaccine) เป็นเชื้อโรคที่ตายแล้วแต่ยังมีพิษอยู่ หรือเชื้อโรคที่ทำให้อ่อนกำลังลงจนเกิดโรคไม่ได้ ข้อดี คือ ไม่ทำให้ผู้ฉีดวัคซีนมีอาการแพ้เกิดขึ้น ช่วย ทำให้ร่างกายมีภูมิต้านทานโรคอยู่นาน ข้อเสีย คือ ต้องใช้เวลาในการฝักตัว นานจึงจะทำให้ร่างกายสามารถสร้างภูมิคุ้มกันโรคหลังการฉีด วัคซีน

77 วัคซีน (Vaccine) โรคที่ใช้วัคซีน ได้แก่ วัณโรค ไอกรน คอตีบ
โรคที่ใช้วัคซีน ได้แก่ วัณโรค ไอกรน คอตีบ โปลิโอ บาดทะยัก คางทูม หัด หัดเยอรมัน วัคซีนในเข็มเดียวกันสามารถป้องกันโรค ได้ถึง 3 ชนิด คือ วัคซีนดีทีพี ซึ่งแต่ละตัวใช้ป้องกัน โรคดังนี้ ดี (D) = Diphtheria = โรคคอตีบ ที (T) = Tetanus = บาดทะยัก พี (P) = Pertuassis = ไอกรน

78 เซรุ่ม (Serum) เซรุ่ม ผลิตจากการฉีดเชื้อโรคที่อ่อนกำลังเข้าในสัตว์
แล้วนำซีรัมของสัตว์ที่มีแอนติบอดีรักษาโรคในมนุษย์ ข้อดี คือ ทำให้ร่างกายมีภูมิต้านทานโรคทันทีหลัง จากฉีด โรคที่ใช้เซรุ่ม ได้แก่ พิษสุนัขบ้า พิษงู ไอกรน เซรุ่ม

79 ซีรัม (serum) หมายถึงส่วนของเหลวของเลือดที่ได้จาก
การทิ้งให้เลือดเกิดการแข็งตัวแล้วเกิดการแยกตัวของส่วนที่ เป็นเซลล์และโปรตีนการแข็งตัว ดังนั้นของเหลวนี้จึงไม่มีทั้ง ส่วนที่เป็นเซลล์เม็ดเลือดทั้งหลาย รวมทั้งสารโปรตีนที่ใช้ในการ ทำให้เลือดแข็งตัวด้วย(เพราะถูกใช้ไปหมดแล้วในกระบวนการแข็งตัว ของเลือด) ในซีรัมจะยังคงมีพวกแอนติบอดีต่างๆอยู่

80 ทอกซอยด์ (toxoid) พิษแล้วฉีดเข้าร่างกายเพื่อให้มีการสร้างแอนติบอดี
ขึ้นมา

81 ต่อต้านและทำลายแอนติเจนเพื่อป้องกันไม่ให้ร่างกายเป็นโรค
แอนติบอดี (Antibody) คือ สารที่ร่างกายสร้างขึ้นเพื่อ ต่อต้านและทำลายแอนติเจนเพื่อป้องกันไม่ให้ร่างกายเป็นโรค แอนติเจน (Antigen) คือ เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมที่ เข้าสู่ร่างกาย หรือสารที่สามารถกระตุ้นให้คนหรือสัตว์มีอาการ ตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน หรือสร้างแอนติบอดีขึ้น

82 ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน
1.โรคภูมิแพ้ (allergy) เกิดจากร่างกายสร้าง แอนติบอดีเพื่อตอบสนองต่อสารบางอย่าง เช่น ละอองเกสร ยา อาหาร ***โรคภูมิแพ้เป็นโรคทางพันธุกรรม ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน

83 ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน
2.โรคที่ร่างกายสร้างภูมิต้านทานเนื้อเยื่อของตัวเอง (autoimmune diseases) โดยร่างกายสร้างแอนติบอดีขึ้นมา ต่อต้านเซลล์เนื้อเยื่อของตัวเอง เช่น โรคเอสแอลอี 3.โรคเอดส์ (AIDS) ย่อมาจาก Acquired Immune Deficiency Syndrome เป็นโรคทำให้ภูมิคุ้มกันเสื่อมหรือ บกพร่อง เกิดจากเชื้อไวรัส HIV

84 ระบบประสาท (Nervous system)

85 A system that controls all of the activities of the body.
Nervous System A system that controls all of the activities of the body. The nervous system is made of: The brain The spinal cord The nerve cell (newron) Sensory organ

86

87 ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนยควบคุมของระบบประสาท ไดแก สมองสวนตางๆ และ ไขสันหลัง โดยมีเซลลประสาทและใยประสาทหรือ เสนประสาทเปน สวนที่เกี่ยวของกับการรับความรูสึก ทําหนาที่สงคําสั่งตางๆ จากสมองและไขสันหลัง เพื่อควบคุมการทํางานของอวัยวะตางๆใน รางกาย ภายในสมองและไขสันหลังพบหน่วยที่เล็กที่สุดของระบบประสาท คือ เซลล์ประสาท(neuron หรือ nerve cell) จำนวนมากมีหน้าที่สำคัญในการถ่ายทอดกระแสประสาทไปยังเซลล์ต่างๆ

88 สิ่งเร้า (Stimulus) สิ่งเร้า (Stimulus) คือ สิ่งที่มากระตุ้นแล้วทำให้เกิดคนหรือสัตว์แสดงพฤติกรรมออกมา แบ่งออกเป็น 1. สิ่งเร้าภายใน (Internal Stimulus) เช่น ฮอร์โมน ความหิว 2. สิ่งเร้าภายนอก (External Stimulus) เช่น แสง เสียง ความชื้น อุณหภูมิ คนและสัตว์มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอกโดยใช้อวัยวะรับความรู้สึก หรืออวัยวับสัมผัส ได้แก่ หู ตา จมูก ลิ้น และผิวหนัง เช่น หูใช้ฟังเสียง จมูกใช้ดมกลิ่น เป็นต้น

89 เซลลประสาท (neuron หรือ nerve cell)
เซลลประสาท เปนโครงสรางที่สําคัญของระบบประสาท ทําหนาที่รับและสง กระแสความรูสึกหรือ กระแสประสาท (impulse) ไปตามอวัยวะตางๆของรางกาย  เซลล์ประสาท (Neuron  หรือ Nerve Cell)  ในระบบประสาทของคนประกอบด้วยเซลล์ประสาทประมาณ 10,000 ล้านถึง 100,000 ล้านเซลล์ โดยเซลล์ประสาทส่วนใหญ่จะอยู่ในสมองจากการศึกษาพบว่าในช่วงที่อยู่ในครรภ์เซลล์ประสาทจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วมาก คือ ประมาณ 250,000 เซลล์ต่อนาที เซลล์ประสาทของคนมีขนาดและรูปร่างแตกต่างกันออกไปทั้งนี้ขึ้นอยู่กับหน้าที่และตำแหน่งที่อยู่ของ เซลล์ประสาทนั้น

90 เซลล์ประสาท( neurone )
Dendrite Cell body Axon

91  2.ใยประสาท (nerve fiber) คือสวนของเซลลประสาทที่แยกหรือแตกแขนงออกมาจากตัวเซลลโดยทั่วไปจะเปนสวนของไซโตพลาสซึม ที่แตกแขนงออกมาจาก ตัวเซลล แบ่งออกเป็น 1) เดนไดรต์ (Dentrite)         2) แอกซอน (axon)

92

93 ใยประสาท (nerve fiber)
   1) เดนไดรต์ (Dentrite) เป็นใยประสาทที่ ทำหน้าที่นำกระแสประสาทเข้าสู่ตัวเซลล์ ซึ่งเป็นส่วนของ ไซโทพลาสซึมที่ยื่นออกจากตัวเซลล์ มีความยาวไม่มาก มีการแตกแขนงเล็ก ๆ จำนวนมาก พื้นผิวมีลักษณะขรุขระ ทำให้มีพื้นที่ผิวมากขึ้นด้วย นอกจากนี้ที่บริเวณเยื่อหุ้มเซลล์มีโปรตีนที่เป็นตัวรับสารสื่อประสาทฝังอยู่

94 ใยประสาท 2) แอกซอน (axon) เป็นใยประสาทที่นำกระแสประสาทออกจากตัวเซลล์ ซึ่งเป็นส่วนที่ยื่นจากตัวเซลล์ตรงจุดที่เรียกว่า axon hillock เพียงเส้นเดียวนั้น แอกซอนมีความยาวตั้งแต่ 0.1-มากกว่า 2 เมตร การที่มีความยาวมาก จึงอาจเรียกว่า เส้นประสาท (nerve fiber) แอกซอน (Axon) ทำหน้าที่นำกระแสประสาทออกจาก ตัวเซลล์ 

95 3.เส้นประสาท (Nerve) เกิดจากใยประสาทหลาย ๆ มัดรวมกันเป็นมัดใยประสาท หลาย ๆ มัดใยประสาทรวมเป็นเส้นประสาท

96 ชนิดและหน้าที่ของเซลลประสาท
(neuron หรือ nerve cell)

97 เซลล์ประสาท แบ่งตามหน้าที่ ได้ 3 ชนิด
1.เซลล์ประสาทรับความรู้สึก (sensory neuron) ทำหน้าที่รับกระแสความรู้สึกส่งเข้าสู่สมองและไขสันหลัง แล้วถ่ายทอดกระแสประสาทไปยังเซลล์ประสาทสั่งการ อาจผ่าน เซลล์ประสานงานหรือไม่ผ่านก็ได้ เซลล์เหล่านี้มีตัวเซลล์อยู่ที่ ปมประสาทรากบนของไขสันหลัง อวัยวะที่รับความรู้สึกจากสิ่งกระตุ้นภายนอก ได้แก่ หู ตา จมูก ลิ้น และผิวหนัง ซึ่งรับความรู้สึกเกี่ยวกับ เสียง ภาพ กลิ่น รส และ ความรู้สึกร้อน เย็น ความเจ็บปวด เป็นต้น

98 2. เซลล์ประสาทสั่งการ (motor neuron) ทำหน้าที่นำกระแสประสาทออกจากไขสันหลังส่งไปยังหน่วยปฏิบัติงาน เช่น กล้ามเนื้อแขนขา ซึ่งอยู่ห่างไกลไขสันหลังมาก ดังนั้น เป็นเซลล์ประสาทที่มีใยประสาทแอกซอนยาวกว่าเดนไดรต์ อาจยาวถึง 1 เมตร เซลล์ประสาทรับคำสั่งจากสมองหรือไขสันหลังไปยังอวัยวะที่ทำหน้าที่ตอบ สนอง เรียกว่า เซลล์ประสาทสั่งการ ( motor neurone )

99 3.เซลล์ประสาทประสานงาน (association neuron, Internuerons) ทำหน้าที่รับกระแสประสาทจากเซลล์ประสาทรับความรู้สึกแล้วส่งให้เซลล์ประสาทคำสั่ง ดังนั้น ตำแหน่งของเซลล์ชนิดนี้จึงอยู่ภายในสมองและไขสันหลัง ใยประสาทของเซลล์ประสาทประสานงาน

100 การทํางานของระบบประสาทและการสื่อสารระหวางเซลลประสาท การทํางานของระบบประสาทประกอบดวย
เช่น กล้ามเนื้อ การทำงานของร่างกายที่เกิดอย่างราบรื่นและต่อเนื่อง นุ่มนวล เกิดจากการทำงานระหว่างระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ

101 ระบบประสาทของมนุษย์ เส้นประสาทสมอง เส้นประสาทไขสันหลัง

102 1. ระบบประสาทสวนกลาง (CNS : Central Nervous System) ระบบประสาทสวนกลางประกอบดวยสมอง และไขสันหลัง

103 ระบบประสาทสวนกลาง

104 ระบบประสาทสวนกลาง

105 ระบบประสาทโซมาติก ทำทำงานตามคำสั่งของสมองและไขสันหลัง เกิดกับ
หน่วยปฏิบัติงานที่บังคับได้ เช่น กล้ามเนื้อลาย

106 ระบบประสาทอัตโนวัติ ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อของอวัยวะภายในร่างกาย
เช่น กล้ามเนื้อหัวใจ กล้ามเนื้อเรียบ รวมทั้งต่อมต่าง ๆ ในร่างกาย แบ่งออกเป็น 1.ระบบประสาทซิมพาเทติก (Sympathetic Nervous System) เช่น การเต้นเร็วของหัวใจ 2.ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (Parasympathetic Nervous System) เช่น การเต้นช้าของหัวใจ

107 ระบบประสาทอัตโนวัติ ควบคุมการทำงานของอวัยวะภายใน กล้ามเนื้อเรียบ และกล้ามเนื้อหัวใจ อยู่นอกอำนาจจิตใจ แบ่งออกเป็น 2 ระบบ ♥ Sympathetic Nervous System ♥ Parasympathetic Nervous System

108 ☻ซึ่งจะทำงานตรงข้ามกัน เช่น ระบบประสาท
ซิมพาเทติก จะกระตุ้นอัตราการเต้นของหัวใจ แต่ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก จะลดอัตราการเต้นของหัวใจ ☻ ระบบประสาทซิมพาเทติกทำให้รูม่านตาขยาย แต่ระบบประสาทพาราซิมพาเทติกทำให้รูม่านตาหรี่ลง

109 ระบบประสาทของมนุษย์ สมอง เส้นประสาทสมอง เส้นประสาทไขสันหลัง
ระบบประสาทส่วนกลาง สมอง เส้นประสาทสมอง เส้นประสาทไขสันหลัง ระบบประสาทรอบนอก ไขสันหลัง

110 ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท สามารถแบ่งได้เป็นสองส่วน ตามตำแหน่งโครงสร้าง คือ 1.ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervous system - CNS) ประกอบด้วยสมองและไขสันหลัง ซึ่งเป็นศูนย์กลางควบคุม และประ สานงานของการทำงานของร่างกายทั้งหมด

111 ระบบประสาท (Nervous system)
2.ระบบประสาทรอบนอก (peripheral nervous system – PNS) ประกอบด้วย เส้นประสาท แบ่งออกเป็น 2.1 เส้นประสาทสมอง มี 12 คู่ ออกจากสมองผ่าน รูต่าง ๆ ของกะโหลกศีรษะ ส่วนใหญ่กระจายไปบริเวณศีรษะคู่ บางเส้นทำหน้าที่เป็น Sensory Nerve หรือ Motor Nerve หรือ Mixed Nerve 2.2 เส้นประสาทไขสันหลัง มี 31 คู่ ออกจาก ไขสันหลังเป็นช่วง ๆ ผ่านรูระหว่างกระดูกสันหลัง ไปสู่ร่างกายและแขนขา

112 ระบบประสาท (Nervous system) แบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ
1.ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervous system หรือ CNS) ประกอบด้วย สมองและ ไขสันหลัง 2.ระบบประสาทส่วนปลาย หรือ ระบบประสาทรอบนอก ( peripheral nervous system หรือ PNS) ประกอบด้วยเส้นประสาทสมอง (cranial nerve) และเส้นประสาทไขสันหลัง (spinal nerve)

113 ระบบประสาท (Nervous system)
1.สมอง (Brain) 2.ไขสันหลัง (spinal cord) 3.เส้นประสาท (Nerve) เกิดจากใยประสาทหลาย ๆ มัดรวมกันเป็นมัดใยประสาท หลาย ๆ มัดใยประสาทรวมเป็น เส้นประสาท

114 1.สมอง (Brain)

115 The Three Parts of the Brain
* The Brain has three main parts… 1. The Cerebrum 2. The Cerebellum 3. The Brain Stem

116 The cerebrum controls your…………
* The Cerebrum is the largest part of the brain. The cerebrum controls your………… thinking memory speaking seeing hearing smelling tasting planning

117 * The cerebellum is below and to the back of the cerebrum.
1. The cerebellum controls your balance. 2. The cerebellum controls your posture. 3. The cerebellum controls your movement.

118 The Brain Stem Or medulla oblongata
* The Brain Stem connects the brain to the spinal cord. * The nerves in the brain stem control your heartbeat, breathing, blood pressure and digestion.

119 1 Cerebrum 2 Cerebellum 3 Brain Stem

120 สัตว์ที่มีวิวัฒนาการทางสมองสูง จะพบรอยหยักมากและอัตราส่วนระหว่างน้ำหนักของสมองต่อน้ำหนักลำตัวจะมีแนวโน้มมาก เช่น สมองของมนุษย์ ซึ่งมีวิวัฒนาการสูงสุด

121 (Forebrain) Optic lobe Olfactory bulb (Hindbrain)

122

123 ซีรีบรัม (Cerebrum ) ทำหน้าที่เกี่ยวกับความคิด ความจำ เชาว์ปัญญา และเป็นศูนย์กลางควบคุมการทำงานต่างๆ เช่น การรับสัมผัส การพูด การได้ยิน การดมกลิ่น การทำงาน ของกล้ามเนื้อ

124 ก้านสมอง (Brain stem) ประกอบด้วย
-พอนส์ (Pons) -เมดุลลา ออบลองกาตา (Medulla Oblongata) -สมองส่วนกลาง ก้านสมอง (Brain stem) เปนศูนย์ควบคุมการหายใจ การหลับ การตื่นตัว ความดันเลือด อุณหภูมิภายในร่างกาย การหลั่งฮอร์โมน

125 ที่มา : http://www.vcharkarn.com/
นิสัย 10 อย่าง ที่ทำให้สมองพัง 1. ไม่ทานอาหารเช้า  หลายคนคิดว่าไม่ทานอาหารเช้า แล้วจะทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ แต่นี่จะเป็นสาเหตุให้สารอาหารไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ ทำให้สมองเสื่อม 2.  กินอาหารมากเกินไป  การกินมากเกินไปจะทำให้หลอดเลือดแดงในสมองแข็งตัว เป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคความจำสั้น 3.  การสูบบุหรี่  เป็นสาเหตุให้เกิดโรคสมองฝ่อ และโรคอัลไซเมอร์ 4.  ทานของหวานมากเกินไป  การกินของหวานมาก จะไปขัดขวางการดูดกลืนโปรตีนและสารอาหารที่เป็นประโยชน์ เป็นสาเหตุของการขาดสารอาหารและขัดขวางการพัฒนาของสมอง 5.  มลภาวะ  สมองเป็นส่วนที่ใช้พลังงานมากที่สุดในร่างกาย การสูดเอาอากาศที่เป็นมลภาวะเข้าไป จะทำให้ออกซิเจนในสมองลดปริมาณลง ส่งผลให้ประสิทธิภาพการทำงานของสมองลดลง 6.  การอดนอน  การนอนหลับจะทำให้สมองได้พักผ่อน การอดนอนเป็นเวลานาน จะทำให้เซลล์สมองตาย 7.  การนอนคลุมโปง  การนอนคลุมโปงจะเป็นการเพิ่มคาร์บอนไดออกไซด์ให้มากขึ้น และลดออกซิเจนให้น้อยลง ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของสมอง 8.  ใช้สมองในขณะที่ไม่สบาย  การทำงานหรือเรียนในขณะที่กำลังป่วย จะทำให้ประสิทธิภาพการทำงานของสมองลดลง เหมือนกับการทำร้ายสมองไปในตัว 9.  ขาดการใช้ความคิด  การคิดเป็นสิ่งที่ดีที่สุดในการฝึกสมอง การขาดการใช้ความคิดจะทำให้สมองฝ่อ 10. เป็นคนไม่ค่อยพูด  ทักษะการพูดจะเป็นตัวแสดงถึงประสิทธิภาพของสมอง ที่มา :

126 2.ไขสันหลัง (spinal cord)
    ไขสันหลัง เป็นส่วนต่อจากสมองอยู่ภายในกระดูกสันหลังข้อแรกลงไปถึงกระดูกบั้นเอว มีหน้าที่ คือ     1)  ทำหน้าที่ส่งผ่านกระแสประสาทจากหน่วยรับความรู้สึกไปสู่สมอง     2)  ทำหน้าที่ส่งผ่านกระแสประสาทจากสมองไปสู่หน่วยปฏิบัติงาน     3)  เป็นศูนย์รีเฟล็กซ์

127 ปฏิกิริยารีเฟลกซ์ (reflex action)

128 ***ปฏิกิริยารีเฟลกซ์ เป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งเร้า
โดยไขสันหลังเป็นผู้สั่งงานทันที โดยไม่ต้องส่งผ่านสมอง ภายหลังจากการเกิดปฏิกิริยารีเฟลกซ์แล้ว จะมีปฏิกิริยาตอบสนองที่ต้องผ่านสมองตามมาทำให้เกิดความรู้สึกและลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ได้แก่ การเหยียบตะปู การกระพริบตา การไอ การจาม

129 แต่บางรีเฟล็กซ์แอกชัน มีความซับซ้อนมากขึ้นเช่น การตอบสนองที่เกิดจากการเหยียบไฟที่ก้นบุหรี่ เหยียบแก้ว หรือสัมผัสกับหนามแหลมของกระบอง เพชร เมื่อหน่วยรับความรู้สึกสัมผัสกับสิ่งเร้า จะส่งผ่านกระแสความรู้สึกเข้าสู่ไขสันหลัง ผ่านเซลล์ประสานงานที่ ไขสันหลัง แล้วจึงผ่านไปยังเซลล์ประสาทสั่งการ ทำให้กระตุกขาหนี ในขณะเดียวกัน กระแสประสาทก็จะถูกส่งไปยังสมองด้วย ทำให้เกิดความรู้สึกได้ว่า เจ็บหรือร้อน สมองก็จะสั่งการลงมาทำให้เกิดพฤติกรรมร่วมอื่นๆตามมาในภายหลัง

130 อวัยวะรับความรู้สึก หรืออวัยวะรับสัมผัส

131 Sense Organs Sense organs carry messages about the environment to the central nervous system.

132 ตา (eye)      ตา ประกอบด้วย ลูกตา (eyeball) แก้วตาหรือเลนส์ตา (crystalling lens) เปลือกตา (eye lids) ต่อมน้ำตา (lacrimal gland) ส่วนประกอบสำคัญของตาคือ ลูกตาซึ่งจะมีม่านตาและรูม่านตาช่วยปรับความเข้มแสงเข้าสู่ตาและอวัยวะที่ ใช้ไนการรับแสงแล้วแปรสัญญาณส่งต่อไปยังสมองเพื่อแปรข้อมูลต่อไป ส่วนแก้วตาช่วยในการปรับภาพให้ตกลงที่เรตินาพอดีเปลือกตาและต่อมน้ำตาช่วย ให้ความชุ่มชื่นแก่ตาและป้องกันอันตรายแก่ดวงตา

133 หู (ear)     หูรับความรู้สึกเกี่ยวกับได้ยินเสียงและการทรงตัว
แบ่งออก 3 ส่วน คือ     หูชั้นนอก    มีใบหู (pinna) ช่วยรับเสียง รูหูและแก้วหู (ear drum,tympanic membrane) ช่วยนำเสียงเข้าไปและส่งต่อไปยังหูชั้นกลาง     หูชั้นกลาง    มีกระดูก 3 ชิ้น คือกระดูกค้อน (malleus) ,ทั่ง (incus) และโกลน (tapes) ช่วยส่งคลื่นเข้าไปยังหูชั้นใน     หูชั้นใน    ประกอบด้วยอวัยวะที่รับเสียงและการทรงตัว คือ โคเคลีย (cochlea) และท่อเซมิเซอร์คูลาร์ (semicircular canal)

134 ผิวหนัง เป็นอวัยวะรับสัมผัสที่มีหน่วยรับสัมผัสเกี่ยวกับแรงกดดัน รับสัมผัสความร้อน และความเย็น โดยความรู้สึกจะถูกส่งไปตามเส้นประสาทสู่สมองเพื่อรับรู้  

135 จมูก (nose)     รับความรู้สึกเกี่ยวกับกลิ่น ซึ่งจะมีเซลล์รับกลิ่นอยู่ที่ผนังด้านบนของช่องจมูกและส่งต่อไปยังสมอง ลิ้น (tongue)     เป็นอวัยวะสำหรับรับรสมีตัวรับรสอยู่ที่ปุ่มรับรส (taste bud) ฝังอยู่บนเยื่อบุของลิ้น ตรงปลายปุ่มมีรูเปิด ซึ่งอยู่ในสภาพสารละลาย สามารถเข้าไปกระตุ้นเซลรับรส (taste cell) ได้ ซึ่งเซลล์รับรสจะส่งสัญญาณไปแปรที่สมอง

136 เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้น ประจุไฟฟ้าจากภายนอกเซลล์
จะแพร่ผ่านเข้ามาในเซลล์ประสาททำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ขั้วไฟฟ้าบริเวณอื่นถัดไปด้วย ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ กระแสประสาทลักษณะเป็นระลอกต่อเนื่องกัน เซลล์ประสาทจะมีกลไกลการนำกระแสประสาทจาก เซลล์หนึ่งไปสู่อีกเซลล์หนึ่งได้อย่างไร

137 กระแสประสาท จะเคลื่อนที่ไปตามเซลล์ประสาทโดย
กระแสประสาท จะเคลื่อนที่ไปตามเซลล์ประสาทโดย อาศัยการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า ของธาตุโลหะ 2 ชนิด Na (โซเดียม) และ K (โพแทสเซียม) โดยภายในเซลล์ประสาท มี K สูงกว่า Na แต่ภายนอกเซลล์จะมี Na สูงกว่า K

138 ระบบประสาทของมนุษย์ กะโหลกศีรษะ ส่วนใหญ่กระจายไปบริเวณศีรษะ
ระบบประสาท สามารถแบ่งได้เป็นสองส่วน ตามตำแหน่งโครงสร้าง คือ 1.ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervous system - CNS) ประกอบด้วยสมองและไขสันหลัง ซึ่งเป็นศูนย์กลางควบคุม และประ สานงานของการทำงานของร่างกายทั้งหมด 2.ระบบประสาทรอบนอก (peripheral nervous system - PNS) ประกอบด้วย เส้นประสาท แบ่งออกเป็น 2.1 เส้นประสาทสมอง มี 12 คู่ ออกจากสมองผ่านรูต่าง ๆ ของ กะโหลกศีรษะ ส่วนใหญ่กระจายไปบริเวณศีรษะ 2.2 เส้นประสาทไขสันหลัง มี 31 คู่ ออกจากไขสันหลังเป็นช่วง ๆ ผ่านรูระหว่างกระดูกสันหลัง ไปสู่ร่างกายและแขนขา

139 ระบบประสาท (Nervous system)
1.อวัยวะรับความรู้สึก (Receptors) ซึ่งได้แก่ หู ตา ลิ้น จมูก ผิวหนัง เป็นอวัยวะที่ไวต่อตัวกระตุ้นมาก จะทำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานของ สิ่งเร้าให้กลายเป็นกระแสประสาท (Nreve Implus) เซลล์รับ ความรู้สึกจะตอบสนองเฉพาะตัวกระตุ้นที่เป็นมันเองเท่านั้น เช่น ตารับความรู้สึก เกี่ยวกับแสง แต่จะไม่ตอบสนองตัวกระตุ้นที่เป็นเสียง เป็นต้น  2. เส้นประสาทรับความรู้สึก (Sensory Nerve Fiber) เป็นเส้นประสาทที่นำกระแสประสาท หรือความรู้สึกต่าง ๆ  เข้าสู่สมอง หรือไขสันหลัง         3. ตัวเชื่อมโยง (Connector) คือ ระบบประสาท สมองและไขสันหลัง กระแสประสาทที่ไหลผ่านเส้นประสาทรับความรู้สึก จะเข้าสู่ตัวเชื่อมโยง ซึ่งจะประกอบด้วยเซลล์ประสาทจำนวนล้าน ๆ เซลล์กระแสประสาทจะผ่านเข้าสู่ไขสันหลังก่อนแล้วจึง  ส่งให้สมอง สมองจะมีคำสั่งออกมาในรูปกระแสประสาทเพื่อไปกระตุ้นอวัยวะให้เกิดพฤติกรรม           

140 ระบบประสาท (Nervous system)
             4. เส้นประสาทสั่งงาน (Motor Nerve Fiber) คือ เส้นประสาทที่นำคำสั่ง (ในรูปของกระแสประสาท) จากสมอง หรือไขสันหลังออกไปยังกล้ามเนื้อหรือต่อมต่าง ๆ         5.อวัยวะที่ใช้ในการตอบสนอง (Effectors) กระแสประสาทจากสมอง จะผ่านมายังเส้นประสาทสั่งงานมากระตุ้น  กล้ามเนื้อหรือต่อมให้เกิด การตอบสนอง ในรูปของพฤติกรรมต่าง ๆ เช่น ผงปลิวเข้าตา กระแสประสาท จากสมองจะกระตุ้นกล้ามเนื้อตาทำให้หนังตาปิด และขณะเดียวกัน ต่อมก็จะหลั่งน้ำตา ออกมาเพื่อล้างสิ่งแปลกปลอมนั้น

141 ระบบประสาท (Nervous system)
    การทำงานของระบบประสาทของคนเรานั้นเป็นการทำงานประสานกันระหว่างสมอง ไขสันหลัง และเซลล์ประสาท    ตัวอย่างการทำงานของระบบประสาท ได้แก่   ปลายนิ้วถูกน้ำร้อน    การทำงานของระบบประสาท  เป็นดังนี้     1.  ความร้อนจะกระตุ้นหน่วยรับความร้อนใต้ผิวหนังบริเวณปลายนิ้ว     2. กระแสความรู้สึกร้อนจะถูกส่งขึ้นไปตามเซลล์ประสาทรับความรู้สึกผ่านไขสันหลังไปสู่ศูนย์ประสาทรับความรู้สึกร้อนในสมอง     3. สมองรับรู้ว่ามีความร้อนสัมผัสที่ปลายนิ้วมือ     4.  ศูนย์ประสาทในสมองจะสั่งการลงมาตามเซลล์ประสาทสั่งการผ่านไขสันหลัง ไปยังหน่วยปฏิบัติงาน คือกล้ามเนื้อที่โคนแขน     5.  กล้ามเนื้อรับคำสั่งจะหดตัวทำให้แขนพับงอ ทำให้ปลายนิ้วหลุดจากน้ำร้อน     ดังนั้นการทำงานของระบบประสาทก็คือการตอบสนองต่อสิ่งเร้าหรือสิ่งกระตุ้น จากสิ่งแวดล้อม คือ ความร้อน ซึ่งเป็น สิ่งเร้า และอวัยวะรับสัมผัส โดยมีระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก

142 ระบบประสาท (Nervous system)
1.หน่วยรับความรู้สึก ที่อยู่ในผิวหนังรับ ความรู้สึกคันที่หลังมือ ขวา 2.หน่วยรับความรู้สึกส่งข้อมูลไปตามเซลล์ประสาทประสานงานที่ไขสันหลัง 3.ข้อมูลถูกส่งไปยังสมองเพื่อบอกว่าเกิดอะไรขึ้น (แปลความหมาย) 4.สมองรับรู้ข้อมูล เกี่ยวกับการคันที่ บริเวณหลังมือขวา 5.สมองตัดสินใจเกา มือขวาด้วยมือซ้าย และส่งคำสั่งไปตาม ไขสันหลัง 6.คำสั่งส่งไปยังกล้ามเนื้อที่มือจากระบบประสาทส่วนกลาง(ไขสันหลัง) ไปตามเซลล์ประสาทสั่งการ 7.มือซ้ายเกาหลังมือ ขวา

143

144 The Three Parts of the Brain
* The Brain has three main parts… 1. The Cerebrum 2. The Cerebellum 3. The Brain Stem

145 The cerebrum controls your…………
* The Cerebrum is the largest part of the brain. The cerebrum controls your………… thinking memory speaking seeing hearing smelling tasting planning

146 * The cerebellum is below and to the back of the cerebrum.
1. The cerebellum controls your balance. 2. The cerebellum controls your posture. 3. The cerebellum controls your movement.

147 The Brain Stem Or medulla oblongata
* The Brain Stem connects the brain to the spinal cord. * The nerves in the brain stem control your heartbeat, breathing, blood pressure and digestion.

148 1 Cerebrum 2 Cerebellum 3 Brain Stem

149 Human Body Systems 1. Digestive System 2. Circulatory System
Mouth stomach small intestine 1. Digestive System 2. Circulatory System Heart blood 3. Excretory System Lungs kidneys skin 4. Respiratory System Nose alveolus 5. Nervous System Neuron Brain Brain stem

150 แบบทดสอบทบทวน ข้อ 1. การย่อยอาหารหมายถึงข้อใด ก. การทำให้มีขนาดเล็ก ข. การแปรสภาพของอาหาร ค. การที่อาหารเคลื่อนผ่านทางเดินอาหาร ง. การทำให้อาหารที่มีอนุภาคใหญ่มีขนาดเล็กลง สามารถเข้าสู่เซลล์ได้

151 แบบทดสอบทบทวน 2. อะไมเลส จะทำหน้าที่ย่อยอาหารประเภทใด ก. โปรตีน ข. ไขมัน ค. คาร์โบไฮเดรต ง. ย่อยได้มากกว่า 1 ชนิด

152 แบบทดสอบทบทวน 3. สารอาหารชนิดใดที่สามารถย่อยสลายในลำไส้เล็กได้
ก. ไขมัน ข. โปรตีน ค. คาร์โบไฮเดรต ง. ถูกทุกข้อ

153 แบบทดสอบทบทวน 4. ข้อใดมีความสัมพันธ์กันไม่ถูกต้อง
4. ข้อใดมีความสัมพันธ์กันไม่ถูกต้อง ก. ปาก – อะไมเลส – ไขมัน ข. ลำไส้เล็ก – ไลเปส – โปรตีน ค. ลำไส้เล็ก – ทริปซิน – คาร์โบไฮเดรต ง. กระเพาะอาหาร – เพปซิน – โปรตีน

154 แบบทดสอบทบทวน 5. ข้อใดเกี่ยวข้องกับการย่อยคาร์โบไฮเดรต ก. ไลเปส
ข. เพปซิน ค. อะไมเลส ง. มีคำตอบมากกว่า 1 ข้อ

155 แบบทดสอบทบทวน 6. น้ำย่อยเพปซินทำหน้าที่ย่อยอะไร
ก. ไขมันในกระเพาะอาหาร ข. โปรตีนในกระเพาะอาหาร ค. คาร์โบไฮเดรตเป็นน้ำตาลกลูโคสในกระเพาะอาหาร ง. ถูกทุกข้อ

156 แบบทดสอบทบทวน 7. อาหารจะถูกย่อยมากที่สุดในอวัยวะใด ก. ปาก ข. ลำไส้เล็ก
ค. ลำไส้ใหญ่ ง. กระเพาะอาหาร

157 แบบทดสอบทบทวน 8. ถ้าไม่มีกระเพาะอาหารอาหารประเภทใดที่ได้รับความกระทบกระเทือนต่อกระบวนการย่อยมากที่สุด ก. ไขมัน ข. โปรตีน ค. คาร์โบไฮเดรต ง. อาหารทุกประเภท

158 แบบทดสอบทบทวน 9. การย่อยสารอาหารโดยเอนไซม์เกิดขึ้นครั้งแรกและครั้งสุดท้ายอย่างไร ก. ปาก และลำไส้เล็ก ข. ปากและหลอดอาหาร ค. หลอดอาหารและลำไส้เล็ก ง. กระเพาะอาหารและลำไส้เล็ก

159 แบบทดสอบทบทวน 10. อาหารจะถูกย่อยมากที่สุดในอวัยวะใด ก. ปาก
ข. ลำไส้เล็ก ค. ลำไส้ใหญ่ ง. กระเพาะอาหาร

160 แบบทดสอบทบทวน 11. ข้อความใดถูกต้อง
ก. การย่อยที่ลำไส้เล็กเป็นการย่อยครั้งสุดท้าย ข. เพปซินทำให้โปรตีนและกรดไขมันมีขนาดเล็กลง ค. เอนไซม์ในลำไส้เล็กทำงานได้ดีในภาวะที่เป็นกลาง ง. อะไมเลสย่อยโปรตีนจนสามารถซึมผ่านเข้าสู่เซลล์ได้

161 แบบทดสอบทบทวน 12. สารอาหารประเภทใดไม่ต้องผ่านการย่อย ร่างกายสามารถ
ดูดซึมไปใช้ได้ทันที ก. แร่ธาตุ วิตามิน ข. โปรตีน แร่ธาตุ วิตามิน ค. โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน ง. คาร์โบไฮเดรต ไขมัน แร่ธาตุ

162 แบบทดสอบทบทวน 13. เมื่อเรากินไข่ดาว ขนมปัง แยม และเนย
อาหารที่ถูกย่อยครั้งแรกที่กระเพาะอาหารคือข้อใด ก. เนย ข. แยม ค. ไข่ดาว ง. ขนมปัง

163 แบบทดสอบทบทวน 14. เมื่อเรากินไข่ดาว ขนมปัง และเนย อาหารชนิดใด
14. เมื่อเรากินไข่ดาว ขนมปัง และเนย อาหารชนิดใด ที่ถูกย่อยครั้งแรกที่ปากและกระเพาะอาหารตามลำดับ ก. เนย ไข่ดาว ข. เนย ขนมปัง ค. ขนมปัง ไข่ดาว ง. ขนมปัง เนย

164 แบบทดสอบทบทวน เครื่องปั้มน้ำ 15. ตอบคำถามจากรูปภาพ.
1.หลอดเลือด pulmonary vein 2.หลอดเลือดแดงแต่มีเลือดสีดำ 3. หัวใจห้องที่มีเลือดเป็นสีแดงคล้ำหรือมีแก๊สาร์บอนไดออกไซด์สูง 4. หัวใจห้องที่เลือดมีปริมาณ O2. มาก 2 3 A C B D 5. การทำงานของหัวใจเปรียบเหมือน เครื่องปั้มน้ำ

165 แบบทดสอบทบทวน 16. ข้อ ความใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับเกล็ดเลือด
ก. กำจัดเชื้อโรค ข. ลำเลียงออกซิเจน ค. ช่วยให้เลือดแข็งตัว ง. รักษาระดับอุณหภูมิของร่างกาย

166 แบบทดสอบทบทวน ตอบ ค 17. ข้อความใดกล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างกะบังลม
กับกระดูกซี่โครงในขณะที่เราหายใจออกได้ถูกต้อง ก. ทั้งกะบังลมและกระดูกซี่โครงเลื่อนสูงขึ้น ข. ทั้งกะบังลมและกระดูกซี่โครงเลื่อนต่ำลง ค. กะบังลมเลื่อนสูงขึ้น กระดูกซี่โครงเลื่อนต่ำลง ง. กะบังลมเลื่อนต่ำลง กระดูกซี่โครงเลื่อนสูงขึ้น ตอบ ค

167 แบบทดสอบทบทวน 18. การหายใจเขียนเป็นสมการได้ว่า
C6H12.O6 + 6Oข COข.+ 6H2.O+พลังงาน ในสมการนี้ CO2. และ O2 คืออะไรตามลำดับ ก.น้ำและแก๊สออกซิเจน ข.น้ำและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ค. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ ง. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สออกซิเจน

168 แบบทดสอบทบทวน 19. อะไรคือความแตกต่างในการทำงานของหัวใจกับปอด
ก. หัวใจมีการเต้น ปอดมีการบีบตัว ข. หัวใจมีการบีบตัว ปอดมีการคลายตัว ค. หัวใจลำเลียงอาหาร ปอดลำเลียงแก๊ส ง. หัวใจสูบฉีดเลือด ปอดแลกเปลี่ยนแก๊ส

169 แบบทดสอบทบทวน 20. อวัยวะหลักในการขับถ่ายของเสียในคนคืออะไร ก. ไต
ข. ปอด ค. ผิวหนัง ง. ลำไส้ใหญ่

170 แบบทดสอบทบทวน 21. อวัยวะที่ทำหน้าที่คล้ายเครื่องกรอง หรือเป็นอวัยวะขับถ่ายทั้งหมด คืออะไร ก. ไต ปอด ข. ปอด ผิวหนัง ค. ผิวหนัง ลำไส้ใหญ่ ง. ถูกทุกข้อ ตอบ ง

171 แบบทดสอบทบทวน 22. หญิงคนหนึ่งมีรอบเดือนวันแรกวันที่ 2 ธันวาคม
22. หญิงคนหนึ่งมีรอบเดือนวันแรกวันที่ 2 ธันวาคม โอกาสที่จะเกิดการตั้งครรภ์มากที่สุด อยู่ในช่วงใด ก ธันวาคม ข. 15 – 17 ธันวาคม ค. 22 – 24 ธันวาคม ง ธันวาคม

172 พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้ ตอบคำถามข้อ 54
แบบทดสอบทบทวน พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้ ตอบคำถามข้อ 54 เพศ จำนวน(คน) ลักษณะ หญิง ชาย 1 2 ผมหยิก ตาสีน้ำตาล ผมตรง ตาสีดำ ผมหยิก ตาสีดำ 23. หญิงคนนี้มีบุตรที่จัดเป็นฝาแฝดชนิดใด ก. ฝาแฝดร่วมไข่ 4 คน ข. ฝาแฝดต่างไข่ 4 คน ค. ฝาแฝดร่วมไข่ 1 คน ฝาแฝดต่างไข่ 3 คน ง. ฝาแฝดร่วมไข่ 2 คน ฝาแฝดต่างไข่ 2 คน

173 แบบทดสอบทบทวน 24.การผูกและตัดอวัยวะในระบบสืบพันธุ์คู่ใด
ป้องกันการตั้งครรภ์ได้ ก. หลอดนำตัวอสุจิ – ท่อนำไข่ ข. หลอดเก็บตัวอสุจิ – ปีกมดลูก ค. หลอดสร้างตัวอสุจิ – ท่อนำไข่ ง. ต่อมสร้างน้ำเลี้ยงอสุจิ – ปีกมดลูก

174 แบบทดสอบทบทวน 25. อวัยวะใดเป็นอวัยวะของระบบประสาททั้งหมด
ก. สมอง ไขสันหลัง ไขกระดูก ข. สมอง ไขกระดูก เส้นประสาท ค. สมอง ไขสันหลัง เส้นประสาท ง. ไขสันหลัง ไขกระดูก เส้นประสาท

175 26. สถานการณ์ใดต่อไปนี้เป็นปฏิกิริยาสะท้อนกลับ
แบบทดสอบทบทวน 26. สถานการณ์ใดต่อไปนี้เป็นปฏิกิริยาสะท้อนกลับ ก. โดมรู้สึกเจ็บเมื่อถูกเพื่อนปาก้อนหินถูกเขา ข. แดนเหงื่อออกมากเมื่อกลับจากเล่นฟุตบอล ค. บีมหลับตาทันทีเมื่อมีเศษหินจากเครื่องตัดหญ้ากระเด็นถูก ง. นุ๊กหยิบเสื้อกันหนาวมาสวมใส่เมื่อเพื่อนปรับอุณหภูมิของ เครื่องปรับอากาศ ตอบ ค

176 ก. แอกซอน ข. เดนไดรต์ เซลล์ประสาท ตอบ ข ตอบ ค ตอบ ก
ภาพและตัวเลือกต่อไปนี้ใช้ตอบคำถาม 27   ก. แอกซอน ข. เดนไดรต์ ค. ตัวเซลล์ ง. นิวเคลียส ตำแหน่ง A หมายถึงข้อใด ตำแหน่ง B หมายถึงข้อใด ตำแหน่ง C หมายถึงข้อใด เซลล์ประสาท ตอบ ข ตอบ ค ตอบ ก

177 แบบทดสอบทบทวน 28. จากภาพ คือข้อใด ก. เดนไดร์ ข. แอกซอน ค. ตัวเซลล์
Dendrite Cell body 28. จากภาพ คือข้อใด ก. เดนไดร์ ข. แอกซอน ค. ตัวเซลล์ ง. เซลล์ประสาท Axon

178 แบบทดสอบทบทวน 29. “เมื่อเผลอไปถูกเตารีดเข้าจึงกระตุกมือออก แล้วรู้สึกแสบร้อนภายหลัง” จากข้อความดังกล่าว ข้อใดถูกต้อง 1 ปฏิกิริยาสะท้อนกลับเกิดขึ้นช่วงที่กระตุกมือออก 2 สมองสั่งการให้กระตุกมือออก 3 การกระตุกมือออกเกิดจากการสั่งการของกล้ามเนื้อเรียบ 4 ความรู้สึกแสบร้อนเกิดจากการสั่งงานของสมองในภายหลัง ก. 1 และ 2 ข. 1 และ 4 ค. 2 และ 3 ง. 2 และ 4

179 A Mouth, stomach, nostrils, large intestine, anus
3. Which of the following consists of parts of the alimentary canal only? A Mouth, stomach, nostrils, large intestine, anus B Mouth, windpipe, stomach, liver, small intestine c Mouth, stomach, heart, liver, large intestine D Mouth, esophagus, small intestine, rectum, anus alimentary canal ทางเดินอาหาร Page 39

180 64.The breakdown of large molecules of food into
small diffusible molecules is called A absorption B digestion C diffusion D defecation 64. การสลายโมเลกุลขนาดใหญ่ของอาหารให้เป็นโมเลกุลขนาดเล็กที่แพร่ได้เรียกว่า       A การดูดซึม       B การย่อยอาหาร       C การแพร่       D การถ่ายอุจจาระ

181 72. Figure shows an organ in the human body.
Which of the following is the function of that organ? A To pump blood throughout the body B To carry oxygen C To enable the exchange of gases D To remove metabolic waste products Throughout ทั่วไป ภาพที่แสดงให้เห็นอวัยวะในร่างกายมนุษย์ ซึ่งมีหน้าที่อะไร        A  เพื่อสูบฉีดเลือดไปทั่วร่างกาย         B เพื่อดำเนินออกซิเจน         C เมื่อต้องการเปิดใช้การแลกเปลี่ยนแก๊ส     D ในการกำจัดของเสียจากการเผาผลาญ

182 c Y หลอดเลือดที่นำเลือดจากปอดเข้าหัวใจ
2. The figure shows a cross-section of the heart. Which blood vessel carries oxygenated blood from the lungs to the heart? A X B W c Y D z หลอดเลือดที่นำเลือดจากปอดเข้าหัวใจ Page 39

183 What is the function of /w? A To enlarge the opening of the airway
77. Figure shows a trachea. What is the function of /w? A To enlarge the opening of the airway B To prevent the trachea from collapsing C To produce sound D To prevent food from entering the airway ข้อใดเป็นหน้าที่ของ w   A เพื่อขยายการเปิดทางเดินลมหายใจ   B เพื่อป้องกันหลอดลมจากการยุบ C ทำให้เกิดเสียง D เพื่อป้องกันไม่ให้อาหารเข้าไปในทางเดินหายใจ w trachea. ทรีสเคีย หลอดลม

184 84. The figure shows the organ of a system in the human body.
What is the system that involved the organs above? A Reproductive system B Excretory system C Digestive system D Respiratory system Involved ที่เกี่ยวข้องกับ

185 87.The information below shows the pathway of a nerve impulse.
Which action is represented by this pathway? A Swimming B Peristalsis C Writing D Knee-jerk Represented ตัวแทนของ impulse. กระตุ้น Receptor อวัยวะรับสัมผัส (ความรู้สึก)

186 85. Figure shows a female reproductive system
CC DD W Which of the ovary ?

187

188 10. The following are statements about an animal cell.
•The biggest cell in the human body •Cannot move by itself Which of the following cells is described by the statements? A Red blood cell B White blood cell c Sperm D Ovum เซลล์ที่ใหญ่ที่สุดในร่างกายมนุษย์ •ไม่สามารถเคลื่อนย้ายด้วยตัวเอง Ovum ไข่ Described อธิบาย Statements คำสั่งที่ Itself ด้วยตัวเอง

189 13. The figure shows cell organization in humans.
Page Cell —► Tissue —* Organ X —*• System Y What are X and Y ? X A Heart B Lungs c Brain D Ovum Y Respiration Blood circulatory Nervous Reproduction

190

191 23. The figure shows the male reproductive system.
What is Q and T Testis Penis Testis Scrotum Penis Testis Meal organ T Page 43

192 88.Which of the following part in the human brain
that controls the muscular activities, learning and speech? What is the fruction of C A Controls memory and reasoning B Controls heartbeat and peristalsis C Controls writing and dancing D Maintains balance and postur

193 91.What is X ? A Bronchus B Alveolus C Trachea D Bronchiole

194 3. The figure shows the different taste areas on the human tongue.
6 Page B (a) Name the sensory receptors on the tongue that enable us to taste. 1 Bitter 2 2 Sour Sour 3 3 Salty Salty Taste buds 4 Sweet

195 93.Which of the following shows the correct path of inhalation?
A Alveolus —» trachea —> bronchiole —» nasal cavity —> bronchus B Bronchus —> nasal cavity —> alveolus —> trachea —> bronchiole C Nasal cavity —> trachea —> bronchus —> bronchiole —> alveolus D Trachea —> nasal cavity —> alveolus —» bronchiole —> bronchus Nasal cavity เนโซลคาวิตี้ bronchus บอลเคส 93.Which ต่อไปนี้แสดงให้เห็นถึงเส้นทางที่ถูกต้องจากการสูดดม? A ถุงลมปอด - »หลอดลม -> หลอดลมฝอย - »โพรงจมูก -> หลอดลม B ขั้วปอด -> โพรงจมูก -> ถุงลม -> หลอดลม -> หลอดลมฝอย C โพรงจมูก -> หลอดลม -> ขั้วปอด -> หลอดลมฝอย -> ถุงลม D หลอดลม -> โพรงจมูก -> ถุงลม - »หลอดลมฝอย -> หลอดลม

196 7. The figure shows organs in the human digestive system.
2 Page Which of the following classes of food are digested in S, T and U ? S T U A Fat Protein Carbohydrate B Protein Fat Carbohydrate C Carbohydrate Protein Fat D Carbohydrate Fat Protein

197 c Fallopian tube D Cervix
8. The figure shows a process which occurs in the female reproductive system. 2 Page In which of the following parts of the female reproductive system does the process occur? A Ovary B Uterus c Fallopian tube D Cervix Occurs เกิดขึ้น

198 THE END


ดาวน์โหลด ppt หน่วยที่ 1 ระบบต่าง ๆ ของร่างกาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google