งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการดำเนินงาน (Primary GMP)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการดำเนินงาน (Primary GMP)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการดำเนินงาน (Primary GMP)
อาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย (Primary GMP) เภสัชกรกนกพร ชนะค้า 6 กันยายน 2555

2 ความเป็นมา ด้านสังคม ความร่วมมือในภูมิภาคอาเซียน
ข้อตกลงของกลุ่มประเทศประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ด้านการเมืองและความมั่นคง ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ ความร่วมมือในภูมิภาคอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(ASEAN Economic Community:AEC 2558) ความสามารถในการแข่งขันกับผู้ผลิตในประเทศเพื่อนบ้าน? กำหนดให้อาหารแปรรูป ต้องปฏิบัติตาม GMP

3 ธุรกิจอาหาร Mass Production จำหน่ายแพร่หลาย
อาหารที่ผ่านการแปรรูป(อาหารทั่วไป)ที่อยู่ในภาชนะพร้อมจำหน่าย ของฝาก อาหารพื้นบ้าน OTOP ผู้ประกอบการประสงค์ขอมี เลขสารบบ

4 มาตรการทางกฎหมายอาหารแปรรูปที่บรรจุใน
ภาชนะพร้อมจำหน่าย 1. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบบที่ 342)พ.ศ เรื่องวิธีการผลิต เครื่องมือ เครื่องใช้ในการผลิตและ เก็บรักษา อาหารแปรรูปในภาชนะบรรจุพร้อมจำหน่าย 3 กระทรวงสารารณสฃ สำนักงานคณ:กรรมการอ!หาร!เละยา

5 สาระสำคัญของประกาศฯ (ฉบับที่ 342) พ.ศ.2555
กำหนดนิยาม อาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย •อาหารที่ฝานกระบวนการแปรรูป •อาหารที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง คุณลักษณะของอาหาร • อาหารที่ผ่านกระบวนการผลิตแล้ว - "บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย" ต้องปฏิบัติ Primary GMP" 4

6 โดยไม่รวมอาหารควบคุมเฉพาะ อาหารที่กำหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน
และอาหารที่ต้องมีฉลาก ที่มีกฎหมายกำหนดให้ต้องปฏิบัติตาม GMP

7 พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ.2522 สถานท/กรรมวิธการผลิต ม.6(7) พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ.2522
อาหารทั๋วไป ไม่แปรรูป แปรรูปไม่ จำหน่ายต่อ ผู้บริโภค กฎกระทรว ง ฉบับที่ 1 •อาหารพร้อมปรงและอาหารสำเร็จรูปพร้อมบริโภคทนท (นอกเหนอจาก ผลิตภัณฑ์จากเนอสัตว์ ผลิตภัณฑ์ขนมอบ และอาหารพร้อมปรุงที่เป็นชุด) •อาหารทั่วไป (นอกเหนอจาก ก๋วยเตี๋ยว เส้นหมี่ อาหารแช่เยอกแข็ง) สำนักงานคณะกรรมการอใหารแล:ยา กระทรวงสารารท!สฃ

8 อาหารที่กำหนดให้ต้องปฏิบ้ติตาม General GMP 57 ประเภท
อาหารกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน 15.น้ำแข็ง 1 6.ชา 1 7. กาแฟ 1 8.น้ำปลา 1 9.น้ำแร่ธรรมชาติ 20.น้ำส้มสายชู 21 .น้ำมนและไขมัน 2 2.นามันถั่วลิสง 23.ดุรีม 24.น้ำมันเนย 25.เนย 2 6. เนยแข็ง 27.กี 28.เนยเทียม 29.อาหารกึ่งสำเร็จรูป 30.ชุอสบางชนิด 31.น้ำมันปาล์ม 3 2 .น้ำมันมะพร้าว 33.เครื่องดมเกลือแร่ 34.นานมถั่วเหลืองในฺภาชนะบรรจุที่ปีด สนิท (ยกเว้นที่มีสถานที่ผฺลิตที่ไม่เข้าลํกษณะ เป็น‘โรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน) 3 5.ช็อกโกแลต 36.แยม เยลลื มาร์มาเลต ในภาชนะ บรรจุทีปีดสนิท 37.ไขเยียวม้า 3 8.รอยัลเยลลีและผลิ.ตภัณฑ์รอยัลเยลลื 39.ผลิตภัณฑ์ปรุงรสทีได้จากการย่อย โปร!นJองถั่วเหลอง 40.นาผง (ยกเว้นที่มีสถานที่ผลิตที่ไม่เข้า ลักษณะเป็นโรงงานตามกฎหมายว่าด้วย โรงงาน) 41.ชุ้าวเติมวิตามิน 42.น้ำเกลือ'ปรุงอาหาร 4 3.ชาสมุนไพร 44. ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร อาหารทีต้องมีฉลาก 45.อาหารทีมีวัตถุประสงด์พิเศษ 46.แป้งข้าวกล้อง 47.ซอสในภาชนะบรรจุที่ปีดสนิท 48.ขนมปัง 49.หมากฝรั่งและลูกอม 5 0 .วุ้นสำเร็จรูปและขนมเยลลี่ 51 .ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ 52.วัตถุแต่งกลิ่นรส 53.อาหารพร้อมปรุงทีได้จัดเตรียม ส่วนประกอบต่าง ๆ แยกจากกันเป็น ส่วนๆ ชัดเจน และจัดรวมเป็นชุดไว้ ในหน่วยภาชนะบรรจุ เพื่อฺนำไปปรุง เป็นอาหารชนิดใดชนิดหนึ่งโดยเฉพาะ 54.ผลิตภัณฑ์ขนมอบ (Bakery product) 55.ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ นอกเหนือจากผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ ตาม ประกาศกระทรวงสาธารฺณสุข (ฉบบที่ 243) พ.ศ.2544 เรื่อง, ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ อาหารควบคุมเฉพาะ 1.อาหารทารกและเทหารสูตรต่อเนื่อง สำหรับทารกและเด็ก 2.อาหารเสริมสำหรับทารกและเด็กเล็ก 3.นมดัดแปลงสำหรับทารกและนม ฒัๆแปลงสูตรต่อเนองสำหรับทารกและ เด็กเล็ก ™ 4.เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุทีปีดสนิท 5.อาหารในภาชนะบรรจุทีปีดสนิท 6.นมโค 7.นมเปรี้ยว 8.ไอศกรีม 9.นมปรุงแต่ง 1 0.ผลิตภัณฑ์ของนม 1 1.วัตถุเจือปนอาหาร 1 2.โซเดยมชัยคลาเมตและอาหารทีม โซเดียมชัยคลาเมต 13. อาหารสำหรับผู้ทีต้องการควบคุม นำหนัก 1 4.สตีวิโอไซด์และอุาหารุทีมีส่วนผสม ของสตีวิโอไซด์ (อยู่ระหว่างยกเลิก ปสธ 262 ) อาหารทั่วไป 56.อาหารแช่เยือกแข็งทีได้ผ่านการ เตรียม (prepared) และหรือการแปร รูป (processed)* 57.ก๋วยเตี๋ยวและเส้นหมีทีทำจากแป้ง ข้าวเจ้า

9 ระยะเวลาบังคับใช้ตามกฎหมาย
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบบที่ 342) พ.ศ เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และ การเก็บรักษา อาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย ระยะเวลาบังคับใช้ตามกฎหมาย ภายใน 3 ปีหลังจากวันที่ประกาศใช้ 7 พฤศจิกายน2555 ผู้ประกอบการรายเก่า หลังจากพ้นกำหนดวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 180 วัน 7 พฤศจิกายน 2558 ผู้ประกอบการรายใหม่

10 หลักเกณฑ์ Primary GMP 4 การสุขาภิบาล 5 2 เครื่องมือ เครื่องจักร
กระบวนการผลิต 5 การบำรุงรักษา ทำความสะอาด 2 เครื่องมือ เครื่องจักร &อุปกรณ์การผลิต & 1 สุขลักษณะของสถานทีตั้ง &อาคารผลิต บุคลากร

11 GMP : Good Manufacturing Practice
จี.เอ็ม.พี.

12 อันตราย 3 ประการ ความปลอดภัย ปลอดภัยจากอันตราย...3 ประการ 10

13 หวใจ 3 ประการ ของการผลิตอาหารทีปลอดภย
หัวใจทีj1 ลดอันตรายเบื้องต้น คัดเลือกวัตถุดิบ ส่วนผสมที่มีคุณภาพดี ใช้ภาชนะบรรจุที่ สะอาดและมีการล้างทำความ สะอาดรวมทั้งผลิตในสถานที่ที่มีสภาพแวดล้อมที่ดีและเครื่องมือ อุปกรณ์ไม่ ก่อให้เกิดการปนเปื้อน หัวใจที 2 ลด/ยับยั้ง-ทำลายเบื้อจุลินทรีย์ ใช้ความร้อนฆ่าเชื้ออย่างเพียงพอ หัวใจที 3 ป้องกันการปนเปื้อนซ้ำ โดยการปฏิบัติงานอย่างถูกสขลักษณะ CM QJ จิ แยกระหว่างของสก และของดิบ

14 หลักการของ GMP ระบบ ปฏิบัติการ โครงสร้างพื้นฐาน บุคคลากร
3 การควบคุมกระบวนการผลิต 4 การสุขาภิบาล 5 การบำรุงรักษาและการทำความสะอาด 1 สถานที่ตั้งและ อาคารผลิต 2 เครื่องมือ เครื่องจักรและอุปกรณ์การผลิต 6 บุคลากรและสุขลักษณะผู้ปฏิบัติงาน

15 สุขลักษณะของสถานทีตั้ง & อาคารผลิต
หลแกเกณฑ์สถานทีผลิต Primary GMP 4 การสุขาภิบาล กระบวนการผลิต เครื่องมือเครองจักร & อุปกรณ์ที่ใช้ในกา การบำรุงรักษา ทำความสะอาด 2 & สุขลักษณะของสถานทีตั้ง & อาคารผลิต บุคลากร คะแนนรวม = 60 คแนนะ

16 1. สถานที่ตั้งและอาคารผลิต
หมวดที่ 1 คะแนนรวม = 11 คะแนน

17 เปรียบเทียบหลักเกณฑ์และบันทึกการตรวจสถานที่ผลิตอาหาร
หลักเกณฑ์วิธการที่ดีในการผลิตอาหาร ว่าด้วยสุขลักษณะทั่วไป (GMP) หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิต อาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย (Primary GMP) 1 .สถานทีตํ๋งและอาคารผลิต 1 .สถานทีตงและอาคารผลิต 1.1 สถานทีตั้ง 1.1.1 สถานทีตั้งตัวอาคารและทีใกล้เคียงมี ลักษณะดังต่อไปนี้ 1.1 สถานที่ตั้ง ตัวอาคารและทีใกล้เคียงมีลักษณะดังต่อไปนี้ (1) ไม่มีการสะสมสิ่งของทีไม่ใช้แล้ว (2) ไม่มีการสะสมสิ่งปฏิกูล (3) ไม่มีฝุ่นควันมากผิดปกติ (4) ไม่มีวัตถุอันตราย (5) ไม่มีคอกปศุสัตว์หรอสถานเลี้ยงสัตว์ (6) ไม่มีน้ำขังแฉะและสกปรก (7) มท่อหรอทางระบายนานอกอาคารเพีอ (7) มีท่อหรอทางระบายนานอกอาคารเพื่อ ระบายนาทิ้ง ระบายน้ำทิ้ง

18 หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร ว่าด้วยสุขลักษณะทั่วไป (GMP)
หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร แปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย (Primary GMP) 1 .สถานที่ตั้งและอาคารผลิต 1.2 อาคารผลิต มีลักษณะดงต่อไปนี้ 1.2.อาคารผลิตหรือบริเวณผลิต 1.2.1 สะอาด ถูกสุขลักษณะ เป็นระเบียบ และไม่มีสิ่งของที่ไม่ใช้แล้ว 1.2.1 มีการแยกบริเวณผลิตอาหารออก เป็น ลัดส่วนจากที่พักอาศัยและผลิตภัณฑ์อื่น ๆ 1.2.2 มีการแยกบริเวณผลิตอาหารออก เป็น สัดส่วนจากที่พักอาศัยและผลิตภัณฑ์อื่น ๆ 1.2.2 มีพื้นที่เพียงพอในการผลิต 1.2.3 มีการจัดบริเวณการผลิตเป็นไปตามลำดับ สายงานการผลิต 1.2.4 แบ่งแยกพื้นที่การผลิตเป็นลัดส่วนเพื่อ ป้องลันการปนเปื้อน 25

19 26 หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร ว่าด้วยสุขลักษณะทั่วไป (GMP)
หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร แปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย (Primary GMP) 1.2.5 พื้น ผนัง และเพดานของอาคารผลิต 1.2.5 มีท่อหรือทางระบายนํ้าทิ้ง (1) พื้นคงทน เรียบ ทำความสะอาดง่าย, มี ความลาดเอียงเพียงพอ (2) ผนังคงทน เรียบ ทำความสะอาดง่าย (3) เพดานคงทน เรียบ รวมทั้งอุปกรณ์สิ่งที่ยึด ติดอยู่ด้านบน ไม่ก่อให้เกิดการปนเปื้อน 1.2.6 มีแสงสว่างเพียงพอสำหรับการปฏิบัติงาน 1.2.3 มีแสงสว่างเพียงพอสำหรับการปฏิบัติงาน 1.2.7 มีการระบายอากาศที่เหมาะสมสำหรับการ 1.2.4 มีการระบายอากาศที่เหมาะสมสำหรับ ปฏิบัติงาน การปฏิบัติงาน 1.2.8 อาคารผลิตมีมาตรการป้องกันการปนเปื้อน 1.2.6 สามารถป้องกันสัตว์และแมลงเข้าสู่ จากสัตว์และแมลง อาคารหรือบริเวณผลิต หรือ สัมผัสอาหาร 1.2.9 ไม่มีสิ่งของที่ไม่ใช้แล้วหรือไม่เกี่ยวข้องกับ การผลิตอยู่ในบริเวณผลิต 26

20 มีหน้าที่ป้องกันการปนเปีอนข้าม (Cross Contamination)
1. สถานทีตั้งและอาคารผลิต จากสิ่งแวดล้อมภายนอกเข้าสู่ ภายในบริเวณอาคารผลิต จากอาคารผลิตเข้าสู่กระบวนการ ผลิต รวมถึงจากสายงานการผลิต มีหน้าที่ป้องกันการปนเปีอนข้าม (Cross Contamination) 2

21 1.1 สถานที่ตั้ง ต้องหลีกเลี่ยงบริเวณซึ่งมีโอกาสก่อให้เกิดการปนเปื้อนสู่ภายในอาคารผลิต แหล่งสะสมของขยะ แหล่งนาเน่าเสีย หรือมีน้ำขัง บริเวณที่มีฝุ่น หรือ อากาศเป็นพิษ สัตว์ แมลง นำโรค และพาหะ

22 1.1 สถานที่ตั้ง 1.1(1)ไม่มีการสะสมของสิ่งที่ไม่ใช้แล้ว
ถ้าจำเป็น ต้องมี...มาตรการป้องกัน การปนเปื้อนที เหมาะสม ■ จัดเป็นบริเวณแยกเป็นสัดส่วน ■ ไฝวางชิดกำแพงอาคาร ■ มีการดูแลทำความสะอาดสม่ำเสมอ เป็นต้น อันตราย : การปนเปื้อนข้าม ฝุ่นละออง สิ่งสกปรก สัตว์พาหะ (ที่ซุกซ่อน) เช่น อุปกรณ์ที่ชำรุด, ภาชนะบรรจุที่ โม่ใช้วัตถุดิบที่รอส่งคืน เครื่องแต่งกายและของใช้ส่วนตัว เป็นต้น

23 1.1 สถานที่ตั้งตัวอาคารและที่ใกล้เคียง
1.1 (1) ไม่มีการสะสมสิ่งของที่ไม่ใช้แล้ว food and drug administration

24 1.1 (2) ไม่มีการสะสมสิ่งปฏิกูล
1.1สถานที่ตั้ง 1.1 (2) ไม่มีการสะสมสิ่งปฏิกูล ไม่มีการสะสมสิ่งปฏิกูล จนก่อให้เกิด กลิ่น และ/หรือเป็นแหล่งเพาะพ้นธ์สัตว์ และแมลง และเชื้อโรคต่ อันตราย สิ่งปฏิกล รวมถึงของเสียที่เน่าเปื่อยไต้ เซ่น เศษ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ วัตถุดิบหรืออาหารทั้งจากการผลิตและ แมลงและเชื้อโรคต่าง ๆ หรือกิจกรรมอื่น เปีนต้น เป็นแหล่งเพาะพันธุ์แมลงและเชื้อโรคต่างๆ ก่อให้เกิดกลิ่นอันน่ารังเกียจ

25 1.1 สถานที่ตั้ง 1.1 (2) ไม่มีการสะสมสิ่งปฏิกูล

26 1.1 (3) ไม่มีฝุ่นควันมากผิดปกติ
1.1 สถานที่ตั้ง 1.1 (3) ไม่มีฝุ่นควันมากผิดปกติ ก่อให้เกิดความไม่สะดวกในการทำงานและปนเปื้อนต่อ กระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์

27 1.1(4) ไม่มีวัตถุอันตราย 1.1. สถานที่ตั้ง
ไม่มีวัตถุอันตรายและสารเคมีอันอาจก่อให้เกิด การปนเปื้อนกับกระบวนการผลิตและเป็นอันตรายต่อ ร่างกาย ควรพิจารณากลิ่นสารเคมีที่อาจปนเปื้อนไป ในบริเวณผลิต/ ผลิตภัณฑ์

28 อันตราย 1.1 สถานที่ตั้ง 1.1 (5) ไม่มีคอกปศุสัตว์หรือสถานเลี้ยงสัตว์
หรือสัตว์เลี้ยง หากอยู่ภายในอาณาเขตแต่มีระยะห่างและมีมาตรการ เพียงพอ ที่ไม่ก่อให้เกิดการปนเปื้อนเข้าสู่อาคารผลิต ให้พิจารณาตามความ เหมาะสมและควรพิจารณาถึงกลิ่นจากคอกปศุสัตว์หรือสัตว์เลี้ยงด้วย อันตราย เป็นแหล่งเพาะพันธ์สัตว์แมลงและเชื้อโรคต่าง ๆ เป็นพาหะนำโรคและสิ่งสกปรก ปนเปีอนสู่กระบวนการผลิตและ ผลิตภัณฑ์ หากอยู่ภายในอาณาเขต • ต้อง...มีระยะห่างและมีมาตรการเพียงพอที่ไม่ก่อให้เกิด การ ปนเปื้อนเข้าสู่อาคารผลิต รวมถึงสัตว์เลี้ยงด้วย 35

29 1.1 สถานที่ตั้ง 1.1(5) ไม่มีคอกปศุสัตว์หรือสถานเลี้ยงสัตว์

30 1.1 สถานที่ตั้ง 1.1 (6) ไม่มีน้ำขังแฉะและสกปรก
ไม่มีน้ำขังแฉะและ สกปรก จนอาจก่อให้เกิดการ ปนเปื้อนกับกระบวนการผลิต และผลิตภัณฑ์ ได้ เะ

31 1.1 (6)ไม่มีน้ำขังแฉะและสกปรก
1.1 สถานทีตั้ง 1.1 (6)ไม่มีน้ำขังแฉะและสกปรก

32 1.1 สถานที่ตั้ง 1.1 (7) มีท่อหรือทางระบายน้ำนอกอาคารเพื่อระบายน้ำทิ้ง
สามารถรองรับน้ำทิ้งจากภายในอาคารและน้ำฝน อยู่ใน ลักษณะที่ดี ไม่แตกรั่ว เพื่อระบายออกทางระบายน้ำสาธารณะ ได้ • ไม่จำเป็นต้องมีตะแกรงปิดครอบ • ควรมีตะแกรงดักเศษอาหารที่ปลายท่อ เพื่อป้องกัน การอุดดัน ข้อแนะนำ : บริเวณที่ตั้งอาคารผลิตไม่อยู่ใกล้กับบ่อบำบัดนํ้าเสียซึ่งอาจทำให้เกิดการ ปนเปื้อนลงสู่กระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์หรือก่อความ ไม่สะดวกในการทำงาน

33 1.1 สถานที่ตั้ง 1.1 (7) มีท่อหรือทางระบายน้ำนอกอาคารเพื่อระบายน้ำทิ้ง

34 1.2 อาคารผลิตหรือบริเวณผลิต
♦♦♦ สะอาด ถูกสุขลักษณะ ♦♦♦ แยกบริเวณผลิตเป็นลัดส่วน ♦♦♦ ระบบแสงสว่างและการระบายอากาศ ♦♦♦ สามารถป้องกันลัตว์แมลง

35 1.2.1 สะอาด ถูกสุขลักษณะ เป็นระเบียบ และไม่มีสิ่งของทีใช้แล้ว
อาคารผลิต หรือบริเวณผลิต มีสภาพสะอาด มีการจัดการรักษาสภาพ อาคารให้มีความเป็นระเบียบ ถูกสุขลักษณะ ไม่มีสิ่งของไม่ใช้ แล้ว และไม่ เกิดการปนเปีอนสู่ผลิตภัณฑ์ สะดวกและเหมาะสมในการปฏิบตงาน

36 ■ 1.2.1 สะอาด ถูกสุขลักษณะ เป็นระเบียบ และไม่มีสิ่งของทีใช้แล้ว
food and drug administration

37 1.2.1 สะอาด ถูกสุขลักษณะ เป็นระเบียบ และไม่มีสิ่งของที่ใช้แล้ว
เช่น บริเวณบรรจุ บริเวณเก็บผลิตภัณฑ์ทีผ่าน ความร้อนแล้ว ต้องไม่มีสิ่งของหรือกิจกรรมอื่นที่ ไม่เกี่ยวข้องวางปะปน รวมถึงเศษวัตถุดิบหรือ อาหารทั้งจากการผลิต และ/หรือกิจกรรมอื่น ภายในบริเวณผลิต ควรมีมาตรการดูแลและจัดการ อย่างเหมาะสม ไม่ควรปล่อยให้มีการสะสมจน ก่อ ให้เกิดกลิ่นและ/หรือเป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ แมลง และเชื้อโรคต่าง ๆ

38 1.2.2 มีการแยกบริเวณผลิตอาหารออกเป็นสัดส่วนจากทีพักอาศัย
และผลิตภัณฑ์อื่นๆ 45 สำนักงานคณะกรรมกา รอาหารน.ละรา food and drug administration

39 1.2.2 มีการแยกบริเวณผลิตอาหารออกเป็นสัดส่วนจากทีพักอาศัย
และผลิตภัณฑ์อื่นๆ ข้อแนะนำ 1. กรณีผลิตใกล้ที่พักอาศัยให้แยกไม่ปะปนกับที่พักอาศัย สามารถป้องกันการเกิดการปนเปื้อนต่อ กระบวนการผลิตและ ผลิตภัณฑ์ อันเนื่องจากผู้ไม่เกี่ยวข้อง 2. กรณีสถานที่ผลิตขนาดเล็ก ซึ่งมีชั้นบนเป็นที่พักอาศัยและมี บันไดขึ้น-ลง อยู่ตรงบริเวณที่เป็นทางผ่านไปยังบริเวณผลิต กันก่อให้เกิดการปนเปื้อนข้ามไปสู่ผลิตภัณฑ์ได้ทั้งจากการที่มี ผู้เดินผ่านไปมาหรือจากการทำความสะอาดที่พักอาศัย ควร แนะนำ

40 1.2.2 มีการแยกบริเวณผลิตอาหารออกเป็นสัดส่วนจากทีพักอาศัย
และผลิตภัณฑ์อื่นๆ ข้อแนะนำ 2.1 จัดหาทางขึ้น-ลงที่พกอาศัยใหม่ โดยแยกเป็นสัดส่วนจาก บริเวณผลิต 2.2 หากไม่สามารถหาทางขึ้น-ลงใหม่ได้ให้กั้นบริเวณทางขึ้น ลงที่พักอาศัยเป็นสัดส่วนจากบริเวณผลิตอย่างถาวร และปิด ช่องบันไดทางขึ้นลงให้ทึบเพื่อปีองกันการปนเปื้อนในอาหาร

41 1.2.2 มีการแยกบริเวณผลิตอาหารออกเป็นสัดส่วนจากทีพักอาศัย
และผลิตภัณฑ์อื่นๆ ข้อแนะนำ 3. กรณีสถานที่ผลิตอยู่ภายในบริเวณที่พักอาศัยให้แยกเป็น สัดส่วนสามารถป้องกันการปนเปื้อนต่อกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ อันเนื่องผู้ไม่เกี่ยวข้องได้ 4. กรณีไม่สามารถปฏิบัติตามข้อ 1- 3 และจำเป็นต้องใช้ทางขึ้น ลง เดิมโดยหลีกเลี่ยงไม่ไต้จะต้องมีมาตรการอื่นที่เหมาะสม เพื่อแสดงว่าสามารถป้องกันการปนเปื้อนข้ามไต้จริง

42

43 สถานที่ผลิตแยกไม่เป็นสัดส่วนกับที่พักอาศัย
โดยใช้ชั้นบนเป็นที่พัก และต้องผ่านพื้นที่การผลิตขึ้นไป

44 1.2.3 มีแสงสว่างเพียงพอสำหรับการปฏิบ้ตงาน
- มีแสงสว่างที่เพียงพอ - โดยเฉพาะในจุดที่มีผลต่อความ ผิดพลาดในการปฏิบัติงาน และมี ผลต่อการควบคุมอันตรายใน อาหาร เช่น • บริเวณชั่งสารเคมี • บริเวณคัดเลือกวิตถุดิบ • บริเวณล้างภาชนะบรรจุ • บริเวณบรรจุ

45 1.2.4 มีการระบายอากาศที่เหมาะสมสำหรบการปฏิบัติงาน
มีการระบายอากาศที่เพียงพอ ไม่อับชื้น เพื่อให้เกิดความสะดวกใน การทำงานและป้องกันการปนเปื้อนจาก เชื้อจุลินทรีย์โดยเฉพาะเชื้อรา จากบรรยากาศต่อกระบวนการผลิตและผลิตกัณฑ์โดยต้องคำนึงถึง การไหลเวียน อากาศจากสถานที่สะอาดไปยังสถานที่ที่ไม่สะอาด

46 1.2.4 มีการระบายอากาศที่เหมาะสมสำหรับการปฏิบัติงาน
การติดตั้งอุปกรณ์ระบายอากาศ ต้องคำนึงถึงการไหลเวียนของ อากาศด้วย เพื่อไม่ให้ความร้อนไล่อากาศดีออกไป

47 1.2.5 มีท่อหรือทางระบายน้ำทิ้ง
ท่อหรือทางระบายนํ้าควรมีขนาดเหมาะสมในการรองรับ ปริมาณน้ำทิ้งจากกระบวนการผลิต เพื่อไหลลงสู่ ทางระบาย ทางสาธารณะภายอก

48 1.2.6 อาคารผลิตสามารถป้องกันการปนเปื้อนจากสัตว์และแมลง
เข้าสู่บริเวณผลิตหรือสัมผัสอาหาร FJ^ ^ (11 อาคารผลิตสามารถป้องกันการปนเปื้อนจากสัตว์ และแมลง อาจมีการติดตั้ง เซ่น มุ้งลวด ม่าน พลาสติก ตาข่าย

49 1.2.6 อาคารผลิตสามารถป้องกันการปนเปื้อนจากสัตว์และแมลง
เข้าสู่บริเวณผลิตหรือสัมผัสอาหาร ข้อแนะนำ - การปิดกั้นด้วยมุ้งลวดหรือตาข่ายรอบอาคารผลิต ต้องระบายอากาศได้และ สามารถป้องกินสัตว์และแมลงได้ ควรคำนึงถึงแสงสว่าง การระบายอากาศ และความร้อนจากการผลิต เช่นการต้ม ทอด - กรณีที่สถานที่ผลิตมีข้อจำกัด ซึ่งผู้ผลิตไม่สามารถกั้นหรือติดมุ้งลวดใน บริเวณต้ม หรือ ตากแดด หรือ ทอดได้ ต้องมีมาตรการเพื่อสามารถป้องกันสัตว์แมลง ได้ เซ่น

50 1.2.6 อาคารผลิตสามารถป้องกันการปนเปื้อนจากสัตว์และแมลง
เข้าสู่บริเวณผลิตหรือสัมผัสอาหาร 1) บริเวณต้ม-ทอด หรือ ตากแดด โดยรอบมีสภาพแวดล้อมที่ดี เช่น ไม่พบสัตว์พาหะและแมลงในขณะ ปฏิบัติงาน 2) ในการขนย้ายผลิตกัณฑ์เพื่อมาต้ม-ทอด หรือตากแดด มี มาตรการป้องกันสัตว์พาหะและแมลงสำหรับผลิต กัณฑ์นั้น เช่น มีภาชนะปกปิดมิดชิดเพื่อไม่ให้สัตว์และแมลงปนเปื้อน ในอาหาร 3) หลังการต้ม-ทอด หรือตากแดด มีมาตรการป้องกันการ ปนเปื้อน โดยต้องผึ่งเย็นในห้องผลิตที่มีการติดมุ้งลวดใน สภาพใช้งานได้อย่างมีประลิทธิภาพ food and drug administration

51 เข้าสู่บริเวณผลิตหรือสัมผัสอาหาร
1.2.6 อาคารผลิตสามารถป้องกันการปนเปื้อนจากสัตว์และแมลง เข้าสู่บริเวณผลิตหรือสัมผัสอาหาร ควรระว้งในการแนะนำใหปิดกั้นผนังมุ้งลวดรอบอาคารผลิต ต้องคำนึงถึงแสงสว่าง การระบายอากาศและความร้อนจากการผลิต เช่น การต้มหรือทอด

52 Primary GMP หมวดที่ 2 เครื่องมือ เครื่องจักรและอุปกรณ์การผลิต
หมวดที่ 2 คะแนนรวม = 6 คะแนน A

53 หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร ว่าด้วยสุขลักษณะทั่วไป (GMP)
หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหารแปรรูปที่ บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย (Primary GMP) 2.1 การออกแบบ 2.1.1 ทำด้วยวัสดุผิวเรียบ ไม่เป็นสนิม ไม่เป็นพิษ ทนต่อการกัดกร่อน 2.2 ทำด้วยวัสดุผิวเรียบ ไม่เป็นสนิม ไม่เป็นพิษ ทนต่อการกัดกร่อน สภาพสะอาด 2.1.2 รอยต่อเรียบ ไม่เป็นแหล่งสะสมของ จุลินทรีย์ 2.1.3 ง่ายแก่การทำความสะอาด 2.1 ง่ายแก่การทำความสะอาด 2.2 การติดตัง 2.2.1 ถูกต้องเหมาะสม และเป็นไปตามสาย งานการผลิต 2.2.2 อยู่ในตำแหน่งที่ทำความสะอาดได้ง่าย 2.4 ติดตั้งในตำแหน่งที่ทำความสะอาดได้ง่าย 2.3 พื้นผิวหรือโต๊ะปฏิบัติงานที่สัมผัสกับอาหาร ทำด้วยวัสดุเรียบ ไม่เป็นสนิม ไม่เป็นพิษ ทนต่อ การกัดกร่อน และสูงจากพื้นตามความเหมาะสม 2.3 พื้นผิวหรือโต๊ะปฏิบตงานทีสัมผสก้บอาหาร ทำ ด้วยวัสดุเรียบ ไม่เป็นสนิม ไม่เป็นพิษ ทนต่อการ กัดกร่อน และสูงจากพื้นตามความเหมาะสม 2.4 จำนวนเพียงพอ

54 เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์การผลิต
หมวดที่ 2 เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์การผลิต 2.1 การออกแบบง่ายต่อการทำความสะอาด 2.2 ทำจากวัสดุผิวเรียบ ทนการกัดกร่อน 2.3 พื้นผิวหรือโต๊ะ 2.4 ติดตั้งในตำแหน่ง ง่ายต่อการทำความสะอาด

55 2. เครื่องมือ เครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต
(1) เหมาะสม Q ทำหน้าที่ได้ตาม วัตถุประสงค์การใช้งาน ไม่หลุดร่อน/แข็งแรงทนทาน ล้างทำความสะอาดได้ง่าย/ เหมาะสม ป้องกันการปนเปื้อน ระหว่าง การผลิต o

56 หมวดที่ 2 เครืองมือ เครืองจักรและอุปกรณ์การผลิต
2.1 ง่ายแก่การทำความสะอาด เหมาะสมและคำนึงถึงการ,ปนเปื้อน ง่ายต่อการถอดออกทำความสะอาดและ ประกอบใหม่ หรือไม่ให้มีซอกหรือมุม ถ้าไม่สามารถถอดล้างได้ทั้งหมด ต้องมี วิธีการทำความสะอาด เช่น ใช้แรงดันลม ฉีดล้าง ใช้น้ำร้อน

57 หมวดที่ 2 เครื่องมือ เครื่องจักรและอุปกรณ์การผลิต
2.1 ง่ายแก่การทำความสะอาด

58 $$ หมวดที่ 2 เครื่องมือ เครื่องจักรและอุปกรณ์การผลิต
2.2 ทำด้วยวัสดุผิวเรียบไม่เป็นสนิมทนต่อการกัดกร่อนสภาพสะอาด • ผิวหน้าที่สัมผัสอาหารต้องไม่ปฏิกิริยากับ อาหาร • ไม่เป็นพิษ ทนการกัดกร่อน เช่น Stainless

59 ? 2.2 ทำด้วยวัสดุผิวเรียบไม่เป็น สนิม ไม่เป็นพิษ ทนต่อการ กดกร่อน
คะแนน

60 พอใช้ = เหล็กหล่อ มีการดูแลดี ไม่เป็นสนิม
2.2 ทำด้วยวสดุผิวเรียบไม่เป็นสนิมทนต่อการกัดกร่อน เครื่องสับผสม ดี = วัสดุคงทน เช่น สเตนเลส ไม่เป็นสนิม พอใช้ = เหล็กหล่อ มีการดูแลดี ไม่เป็นสนิม ปรับปรุง = เป็นสนิม

61 เขียง 2.2 ทำด้วยวสดุผิวเรียบไม่เป็นสนิมทนต่อการกัดกร่อน
ดี = เขียงพลาสติก สะอาด ดี/พอใช้ = เขียงไม้สะอาด ไม่มี เชื้อรา (ตามสภาพ) ปรับปรุง = มีร่องรู เป็นแหล่ง สะสมเศษอาหาร ไม่ สะอาด สำนักงานคณะกรรมกา รอาหารน.ละรา food and drug administration

62 ในกรณีทีใช้เขียงไม้ 2.2ทำด้วยวสดุผิวเรียบไม่เป็นสนิมทนต่อการกัดกร่อน
• ต้องทำจากไม้เนื้อแน่น • ต้องล้างทำความสะอาดอย่าง สมํ่าเสมอ ไม่ให้มีเศษอาหาร ตกค้าง • ผึ่งให้แห้งหลังการใช้งาน เพื่อปีองกันเชื้อรา

63 หมวดที่ 2 เครื่องมือ เครื่องจักรและอุปกรณ์การผลิต
2.3 พื้นผิวหรือโต๊ะปฏิบัติงานที่สัมผัสอาหารทำด้วยวัสดุเรียบ ไม่เป็นสนิม ไม่เป็นพิษทนการกัดกร่อนและสูง จากพื้น หรือมี มาตรการอื่นตามความเหมาะสม พื้นผิวบริเวณปฏิบัติงานที่สัมผัสอาหารเช่น โต๊ะหรือยกพื้น 1. ทำด้วยวัสดุผิวเรียบ ไม่เป็นสนิม ไม่เป็นพิษ ทนต่อการกัดกร่อน 2. ทำความสะอาดได้ง่าย ไม่ทำปฏิกิริยากับอาหาร 3. มีความสงในระดับที่สามารถปีองกันการปนเปื้อนสิ่งสกปรกจากพื้นขณะ ปฏิบัติงาน

64 กรณีเป็นโต๊ะ : ความสูงของโต๊ะปฏิบัติงาน
ควรสูงไม่น้อยกว่า 60 ซม. กรณียกพื้น: สูงจากพื้นไม่น้อยกว่า 20 ซม. - เพื่อป้องกันการปนเปื้อนสิ่งสกปรก จากพื้นขณะปฏิบัติงาน - ให้ส่วนล่างของเครื่องและอุปกรณ์ได้รับการทำความสะอาดอย่างทั่วถึง ไม่เป็นแหล่งสะสมหรือเพาะพันธุ์ สัตว์แมลง

65 หมวดที 2 เครื่องมือ เครื่องจักรและอุปกรณ์การผลิต

66 หมวดที่ 2 เครื่องมือ เครื่องจักรและอุปกรณ์การผลิต
2.4 อยู่ในตำแหน่งที่ทำความสะอาดง่าย เครื่องมือเครื่องจักรและอุปกรณ์การผลิต ติดตั้งในตำแหน่งที่สามารถทำความสะอาดเครื่อง และบริเวณพื้นผนังที่ติดตั้งได้ง่ายและทั่วถึง พV สำ นัก งานค ณะกรรมกา รอาห ารและ รา food and drug administration

67 15 คะแนน Primary GMP หมวดที่ 3 การควบคุมกระบวนการผลิต
15 คะแนน หมวดที่ 3 คะแนนรวม

68 เปรียบเทียบหลักเกณฑ์และบันทึกการตรวจสถานที่ผลิตอาหาร
หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร ว่าด้วยสุขลักษณะทั่วไป (GMP) หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร แปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย (Primary GMP) 3.1 วัตถุดิบ ส่วนผสมต่างๆ และภาชนะบรรจุ 3.1.1 มีการคัดเลือก 3.1.2 มีการล้างทำความสะอาดอย่าง เหมาะสมในบางประเภทที่จำเป็น 3.1.3 มีการเก็บรักษาอย่างเหมาะสม 3.1.4 มีการใช้วัตถเจือปนอาหารตามที กฎหมายกำหนด 3.2 ในระหว่างการผลิตอาหารมีการดำเนินการ ขนย้ายวัตถุดิบ ส่วนผสม ภาชนะบรรจุ และ บรรจุภัณฑ์ในลักษณะที่ไม่เกิดการปนเปื้อน 3.2 ในระหว่างการผลิตอาหารมีการดำเนินการ ขนย้ายวัตถุดิบ ส่วนผสม ภาชนะบรรจุ และ บรรจุภัณฑ์ ในลักษณะทีไม่เกิดการปนเปีอน

69 เปรียบเทียบหลักเกณฑ์และบันทึกการตรวจสถานที่ผลิตอาหาร
หลักเกณฑ์วิธการที่ดีในการผลิตอาหาร ว่าด้วยสุขลักษณะทั่วไป (GMP) หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร แปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย (Primary GMP) 3.3 น้ำแข็งที่สัมผัสกับอาหารในกระบวนการผลิต 3.5 น้ำแข็งที่สัมผัสกับอาหารในกระบวนการผลิต 3.3.1 มีคุณภาพมาตรฐานเป็นไปตาม มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข 3.5.1 มีคุณภาพมาตรฐานเป็นไปตาม 3.3.2 มีการขนย้าย การเก็บรักษา และการ นำไปใช้ในสภาพถูกสุขลักษณะ 3.5.2 มีการขนย้าย การเก็บรักษา การ นำไปใชในสภาพที่ถูกสุขสักษณะ 3.4 ไอนํ้าที่สัมผัสกับอาหารในกระบวนการผลิต 3.4.1 มีคุณภาพมาตรฐานเป็นไปตาม 3.4.2 มีการขนย้ายการเก็บรักษา และการ นำไปใชในสภาพที่ฐกสุขลักษณะ

70 เปรียบเทียบหลักเกณฑ์และบันทึกการตรวจสถานที่ผลิตอาหาร
หลักเกณฑ์วิธการที่ดีในการผลิตอาหาร ว่าด้วยสุขลักษณะทั่วไป (GMP) หลักเกณฑ์วิธการที่ดีในการผลิตอาหาร แปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย (Primary GMP) 3.5 น้ำทีสัมผัสกับอาหารในกระบวนการผลิต 3.4 นํ้าสัมผัสกับอาหารในกระบวนการผลิต 3.5.1 มีคุณภาพมาตรฐานเป็นไปตาม มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข 3.4.1 มีคุณภาพหรือมาตรฐานเป็นไปตาม มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข 3.5.2 มีการขนย้าย การเก็บรักษา และการ นำไป ใช้ในสภาพถูกสุขลักษณะ 3.4.2 มีการขนย้าย การเก็บรักษา และการ นำไปใชในสภาพถูกสุขลักษณะ 3.6 มีการควบคุมกระบวนการผลิตอย่าง เหมาะสม 3.3 มีการควบคุมกระบวนการผลิตอย่างเหมาะสม

71 เปรียบเทียบหลักเกณฑ์และบันทึกการตรวจสถานที่ผลิตอาหาร
หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร ว่าด้วยสุขลักษณะทั่วไป (GMP) หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหารแปรรูปที่ บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย (Primary GMP) 3.7 ผลิตภัณฑ์ 3.6 ผลิตภัณฑ์ 3.7.1 มีการตรวจสอบวิเคราะห์คุณภาพของผลิตภัณฑ์และเก็บ บันทึกไว้ อย่างน้อย 2ปี 3.7.2 มีการคัดแยกหรือทำลายผลิตภัณฑ์ ที่ไม่เหมาะสม 3.6.1 มีการคัดแยกหรือทำลายผลิตภัณฑ์ ที่ไม่เหมาะสม 3.7.3 มีการเก็บรักษาอย่างอย่างเหมาะสม 3.6.2 มีการเก็บรักษาอย่างเหมาะสมและ ขนส่งในลักษณะที่ป้องกันการปนเปีอน และการเสื่อมสลาย 3.7.4 มีการขนส่งในลักษณะที่ป้องกันการ ปนเปื้อนและการเสื่อมสลาย 3.8 มีบนทึกแสดงชนิดและปริมาณการผลิต ประจำวันและเก็บบันทึกไว้อย่างน้อย 2ปี

72 3. การควบคุมกระบวนการผลิต
3.1 ว้ตลุดิบ ส่วนผสมต่างๆ 3.4 นาที่ส์มผสกับอาหาร 3.5 นาแข็ง และภาชนะบรรจุ 3.2 ระหว่างกระบวนการผลิต 3.3 การควบคมกระบวนการผลิต 3.6 คัดแยก เก็บรักษา และขนส่งผลิตภัณฑ์อาหาร

73 หวใจ 3 ประการ ของการผลิตอาหารทีปลอดภย
หัวใจทีj1 ลดอันตรายเบื้องต้น คัดเลือกวัตถุดิบ ส่วนผสมที่มีคุณภาพดี ใช้ภาชนะบรรจุที่ สะอาดและมีการล้างทำความ สะอาดรวมทั้งผลิตในสถานที่ที่มีสภาพแวดล้อมที่ดีและเครื่องมือ อุปกรณ์ไม่ ก่อให้เกิดการปนเปื้อน หัวใจที 2 ลด/ยับยั้ง-ทำลายเบื้อจุลินทรีย์ ใช้ความร้อนฆ่าเชื้ออย่างเพียงพอ หัวใจที 3 ป้องกันการปนเปื้อนซ้ำ โดยการปฏิบัติงานอย่างถูกสขลักษณะ CM QJ จิ แยกระหว่างของสก และของดิบ

74 3.1 วัตถุดิบ ส่วนผสมต่างๆ และภาชนะบรรจุ
หมวดที 3 การควบคุมกระบวนการผลิต 3.1 วัตถุดิบ ส่วนผสมต่างๆ และภาชนะบรรจุ 3.1.1 มีการคัดเลือก ให้มีคุณภาพเหมาะสมสำหรับใช้ในการผลิตอาหาร อยู่ใน สภาพสะอาด 3.1.2 มีการล้างทำความสะอาดอย่างเหมาะสมใน บางประเภทที่จำเป็น เพื่อขจัดสิงสกปรกหรือสิ่งปนเปื้อน

75 3.1.3 มีการเก็บรักษาอย่างเหมาะสม
หมวดที่ 3 การควบคุมกระบวนการผลิต 3.1.3 มีการเก็บรักษาอย่างเหมาะสม - วัตถุดิบ - ภาชนะบรรจุ - ส่วนผสม - บรรจุภัณฑ์ เก็บรักษาวัตถุดิบ ในสภาวะที่ ป้องกันการปนเปื้อน และมีการ เสื่อมสลายน้อยที่สุด ดูแลหมุนเวียนสต๊อกอย่างมี ประสิทธิภาพ ( FIFO ) * เก็บรักษาในสภาวะที่ป้องกันการปนเปื้อน เช่น สภาพสะอาด ไม่ชื้นแฉะ ยกสูงจากพื้น ระบายอากาศ

76 3.1.3 มีการเก็บรักษาอย่างเหมาะสม
หมวดที่ 3 การควบคุมกระบวนการผลิต 3.1.3 มีการเก็บรักษาอย่างเหมาะสม

77 3.1 วัตถุดิบ ส่วนผสมต่างๆ และภาชนะบรรจุ
หมวดที่ 3 การควบคุมกระบวนการผลิต 3.1 วัตถุดิบ ส่วนผสมต่างๆ และภาชนะบรรจุ 3.1.3 มีการเก็บรักษาอย่างเหมาะสม

78

79 3.1.4 มีการใช้วัตถุเจือปนอาหารตามที่กฎหมายกำหนด
หากมีการใช้วัตถุเจือปนอาหารต้องใช้ตาม - ชนิดวัตถุเจือปนอาหาร - ชนิดอาหาร - ปริมาณสูงสูดที่ใช้ได้ตามเงื่อนไข 1. ตามมาตรฐานทั่วไปสำหรับการใช้วัตถุเจือปนอาหารของ Codex 2. ตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 3. ตามความเห็นชอบของคณะกรรมการอาหารและยา ข้อบกพร่องรุนแรง

80 หมวดที่ 3 การควบคุมกระบวนการผลิต
3.2 ในระหว่างการผลิตอาหารมีการขนย้ายว่ตลุดิบ ส่วนผสม ภาชนะบรรจุ และบรรจุภณฑ็ในลกษณะทีไม่ก่อให้เกิดการปนเปีอน การพิจารณาให้รวมถึงกิจกรรมที่ควรมี เช่น • การตรวจสอบ คัดแยก ว้ตลุดิบ ส่วนผสม ภาชนะบรรจุ ในระหว่างกระบวนการผลิต • พฤติกรรมการปฏิบตของพน่กงาน สำนักงานคณะกรรมกา รอาหารน.ละรา food and drug administration

81 3.2 ในระหว่างการผลิตอาหารมีการดำเนินการขนย้ายวิตถุดิบส่วนผสม ภาชนะบรรจุ และบรรจุภัณฑ็ในลักษณะที่ไม่เกิดการปน เปีอน สำนักงานคณะกรรมกา รอาหารน.ละรา FOOD AND DRUG ADMINISTRATION

82 หมวดที่ 3 การควบคุมกระบวนการผลิต
3.3 มีการควบคุมกระบวนการผลิตอย่างเหมาะสม ผู้ผลิตมีขั้นตอนและวิธีการในการควบคุมกระบวนการผลิตเป็นไปตาม ข้อกำหนดหรือตามความเหมาะสมของ กระบวนการผลิตอย่างเคร่งครัด เช่น - การควบคุมชนิดและปริมาณวัตถุเจือปนอาหาร - อุณหภูมิ/เวลาการนึ่ง/อบแห้ง - ความชื้นและค่าวอเตอร์แอคติวีตี้(A w ) เป็นต้น เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในอาหาร สามารถลด ขจัด อันตรายได้

83 3.3 มีการควบคุมกระบวนการผลิตอย่างเหมาะสม
โดยพิจารณาจาก 1. ส่วนผสม เครื่องปรุง มีการชั่งตวงวัดถูกต้อง 2. อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจสอบเหมาะสม - เครื่องชั่งวัตถุเจือปนอาหาร "เพียงพอ เที่ยงตรง" 3. มีวิธีการผสมส่วนผสมต่างๆ ให้เป็นเนื้อเดียวกัน 4. วิธีการเตรียมวัตถุเจือปนอาหารทั้งชนิดและ ปริมาณเป็นไปตามกฎหมาย 5. การควบคุมอุณหภูมิและเวลาในการฆ่าเชื้อและลดอุณหภูมิ 6. ระยะเวลาในการหมัก

84 หมวดที่ 3 การควบคุมกระบวนการผลิต
3.4 นํ้าที่ส้มผสอาหารในกระบวนการผลิต 3.5 น้ำแข็งที่สัมผัสอาหารในกระบวนการผลิต 3.4.1,3.5.1 มีคุณภาพเป็นไป ตามมาตรฐาน ของกระทรวงสาธารณสุข 3.4.2, มีการขนย้าย การเก็บรักษาและ การนำไปใช้ในสภาพที่ถูกสุขลักษณะ

85 3.6.1 มีการคัดแยกหรือทำลายผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้ตามมาตรฐานแล้ว นำไปดำเนินการอย่างเหมาะสม
เช่น • การนำไปผ่านกระบวนการผลิตใหม่ • หรือทำลายทิ้ง เป็นต้น ทำการแยกว้ตถุดิบหรือ ผลิตภัณฑ์ ที่มีปัญหา ติดป้าย กกสินค้า นำไปไว้ในบริเวณกักสินคา (Hold) พิจารณา และดำเนินการแก้ไขหรือทำการทำลาย

86 หมวดที่ 3 การควบคุมกระบวนการผลิต
3.6.2 มีการเก็บรักษาอย่างเหมาะสมและการขนส่งในลักษณะที่ ป้องกันการปนเปื้อนและการเสื่อมสลาย เก็บผลิตภัณฑ์ ในสภาวะที่ไม่ก่อให้เกิดการเจริญเติบโต หรือเพิ่ม จำนวนของจุลินทรีย์ หรือทำให้เกิดความเสียหายต่อภาชนะบรรจุ จน ก่อให้เกิดการปนเปื้อน ผลิตภัณฑ์ควบคุมอุณหภูมิ จัดเก็บในอุณหภูมิที่เหมาะสม

87 หมวดที่ 3 การควบคุมกระบวนการผลิต
3.6.2 มีการเก็บรักษาอย่างเหมาะสมและการขนส่งในลักษณะที่ ป้องกันการปนเปื้อนและการเสื่อมสลาย มีการเคลื่อนย้ายและขนส่งผลิตภัณฑ์อาหารในสภาวะที่ไม่ก่อให้เกิดการเพิ่ม จำนวนจุลินทรีย์หรือการเลื่อมสลายของอาหารและเสียหายต่อภาชนะบรรจุ

88 หมวดที่ 3 การควบคุมกระบวนการผลิต
3.6.2 มีการเก็บรักษาอย่างเหมาะสมและการขนส่งในลักษณะที่ ป้องกันการปนเปื้อนและการเสื่อมสลาย การขนส่ง ขนย้าย ควรปีองกัน • การปนเปื้อนจากคนงาน • การวางผลิตภัณฑ์กับพื้น (รวมถึงการปนเปื้อนข้ามจากการขนส่งผลิตภัณฑ์ร่วมกับสิ่งอื่นๆ) • การควบคุมอุณหภูมิ

89 3.6.2 มีการขนส่งในลักษณะที่ป้องกันการปนเปื้อนและการเสื่อมสลาย
ปรับปรุง พอใช้

90 Primary GMP หมวดที่ 4 การสุขาภิบาล หมวดท 4 คะแนนรวม = 13 คะแนน

91 เปรียบเทียบหลักเกณฑ์และบันทึกการตรวจสถานที่ผลิตอาหาร
หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร ว่าด้วยสุขลักษณะทั่วไป (GMP) หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร แปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย (primary GMP) 4.1 น้ำที่ใช้ภายในสถานที่ผลิตเป็นน้ำสะอาด 4.1 น้ำที่ใช้ภายในสถานที่ผลิตเป็นนาสะอาด 4.2 มีภาชนะสำหรับใส่ขยะพร้อมฝาปิดและ ตั้งอยู่ในที่ที่เหมาะสมและเพียงพอ 4.2 มีภาชนะสำหรับใส่ขยะพร้อมฝาปีดและตั้งอยู่ ในที่ที่เหมาะสมและเพียงพอ และมีวิธีการ กาจดขยะทเหมาะสม 4.3 มีวิธีการกำจัดขยะที่เหมาะสม 4.4 มีการจัดการระบายน้ำทิ้งและสิ่งโสโครก 4.3 มีการจัดการการระบายน้ำทิ้งและสิ่งโสโครก

92 หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร ว่าด้วยสุขลักษณะทั่วไป (G MP)
หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร แปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย (primary GMP) 4.5 ห้องส้วมและอ่างล้างมือหน้าห้องส้วม 4.4 ห้องส้วมและอ่างล้างมือหน้าห้องส้วม 4.5.1 ห้องส้วมแยกจากบริเวณผลิตหรือไม่ เปีดสู่บริเวณผลิตโดยตรง 4.4.1 ห้องส้วมแยกจากบริเวณผลิตหรือไม่ เปิดสู่บริเวณผลิตโดยตรง 4.5.2 ห้องส้วมอยู่ในสภาพที่ใช้งานได้และ สะอาด 4.4.2 ห้องส้วมอยู่ในสภาพที่ใช้งานได้และ สะอาด 4.5.3 ห้องส้วมมีจำนวนเพียงพอกับ ผู้ปฏิบัติงาน 4.4.3 ห้องส้วมมีจำนวนเพียงพอกับ ผู้ปฏิบัติงาน 4.5.4 มีอ่างล้างมือพร้อมสบู่หรือนายาฆ่าเชื้อ โรคและอุปกรณ์ทำให้มือแห้ง 4.4.4 มีอ่างล้างมือพร้อมสบู่หรือนํ้ายาฆ่า เชื้อโรคและอุปกรณ์ทำให้มือแห้ง 4.5.5 อ่างล้างมือและอุปกรณ์อยู่ในสภาพที่ใช้ งานได้และสะอาด 4.4.5 อ่างล้างมือและอุปกรณ์อยู่ในสภาพที่ ใช้งานได้และสะอาด 4.5.6 อ่างล้างมือมีจำนวนเพียงพอกับ ผู้ปฏิบัติงาน 4.4.6 อ่างล้างมือมีจำนวนเพียงพอกับ ผู้ปฏิบัติงาน

93 4.6.1 มีสบู่หรือน้ำยาฆ่าเชื้อโรค 4.5.1 มีสบู่หรือน้ำยาฆ่าเชื้อโรค
หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร ว่าด้วยสุขลักษณะทั่วไป (G MP) หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร แปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย (primary GMP) 4.6 อ่างล้างมือบริเวณผลิต 4.5 อ่างล้างมือบริเวณผลิต 4.6.1 มีสบู่หรือน้ำยาฆ่าเชื้อโรค 4.5.1 มีสบู่หรือน้ำยาฆ่าเชื้อโรค 4.6.2 อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้และสะอาด 4.5.2 อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้และสะอาด 4.6.3 มีจำนวนเพียงพอกับผู้ปฏิบัติงาน 4.5.3 มีจำนวนเพียงพอกับผู้ปฏิบัติงาน 4.6.4 อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม 4.5.4 อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม 4.7 มีมาตรการในการป้องกันมิให้สัตว์หรือ แมลงเข้าในบริเวณผลิต

94 หมวดที่ 4 การสุขาภิบาล 4.1 น้ำใช้ภายในโรงงาน
4.2 ภาชนะรองรับ และมีวิธีการ กำจัด 4.4 ห้องส้วมและ อ่างล้างมือ 4.3 การจัดการระบายน้ำทิ้ง และสิ่ง โสโครก 4.5 อ่างล้างมือ บริเวณผลิต

95 4.1น้ำที่ใช้ภายในโรงงานเป็นน้ำที่ สะอาด
หมวดที่ 4 การสุขาภิบาล 4.1น้ำที่ใช้ภายในโรงงานเป็นน้ำที่ สะอาด หมายถึง น้ำที่ใช้สัมผัสอาหาร เช่น น้ำใช้ล้างมือ ภาชนะ เครื่องมือ เครื่องจักร ควรเป็นนา สะอาดที่อาจมีการปรับคุณภาพน้ำตามความจำเป็น • น้ำที่ใช้ภายในอาคารผลิต เช่นน้ำล้างพื้น อุปกรณ์อื่นๆ • มีการปรับคุณภาพตามความจำเป็นในการใช้งาน เช่น มีการเติมคลอรีนเพื่อฆ่าเชื้อโรคในน้ำ • มีการขนส่ง/ ขนย้ายที่ไม่ก่อให้เกิดการปนเปื้อน

96 หมวดที่ 4 การสุขาภิบาล ข้อแนะนำ : นํ้าที่ใช้ล้างมือ และน้ำที่ใช้ล้างภาชนะ เครื่องมือ เครื่องจักร ที่ สัมผัสกับอาหารควรมีการฆ่าเชื้อเพื่อปีองกินการปนเปื้อนจาก จุลินทรีย์ที่ทำให้ เกิดโรค

97 หมวดที่ 4 การสุขาภิบาล II
4.2 ภาชนะสำหรับใส่ขยะ พร้อมฝาปีด ตั้งอยู่ในที่ที่เหมาะสม เพียงพอ และ มีวิธีการกำจัดที่เหมาะสม • มีภาชนะใส่ขยะพร้อมฝาปิด จำนวนเพียงพอทํ๋งภายใน และภายนอกอาคารผลิต II

98 หมวดที 4 การสุขาภิบาล ทั้งภายในและภายนอกอาคารผลิต
- ขยะภายในโรงงาน ถ้าเป็นขยะแห้งภาชนะรองรับอาจเป็นลุง หรือตะกร้า แต่ถ้าเป็นขยะที,เน่า เสียง่ายต้องมีฝาปิดหรือรีบ กำจัดไฝให้หมักหมม - ขยะภายนอกโรงงานโดยเฉพาะศูนย์รวมทิ้งขยะ รอการกำจัดควรแยกบริเวณให้ไกลจากอาคารผลิต จะต้องไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์และแมลง

99 หมวดที่ 4 การสุขาภิบาล 4.2 ภาชนะสำหรับใส่ขยะ พร้อมฝาปิด ตั้งอยู่ในทีที่เหมาะสม เพียงพอ และ มีวิธีการกำจัดที่เหมาะสม • มีวิธีการกำจัดขยะที่เหมาะสม ดำเนินการอย่างสมํ่าเสมอ เพื่อไม่ให้เกิดการสะสม จนเป็นแหล่งเพาะพันธุสัตว์และแมลง โดยเฉพาะบริเวณทิ้งขยะ ควรไกลจากอาคารผลิต 106

100 หมวดที่ 4 การสุขาภิบาล 4.2 ภาชนะสำหรับใส่ขยะ พร้อมฝาปิด ตั้งอยู่ในที่ที่เหมาะสม เพียงพอ และ มีวิธีการกำจัดที่เหมาะสม วิธีกำจัดขยะที่เหมาะสม ได้แก่ มีการรับไปกำจัด (โดยหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง) สำหรับวิธีอื่น ต้องมีวิธีการ!เองกนการปนเปื้อนเข้าสู่สถานที่ ผลิต / และกระบวนการผลิตอาหาร - ความถี่ในการกำจัดขยะที่เหมาะสม - จัดเก็บและทำความสะอาดอย่างเหมาะสม สำนักงานคณะกรรมการอาหารและรา FOOD AND DRUG administration

101 4.3 มีวิธีการจัดการระบายนํ้าทิ้งและสิ่งโสโครก
หมวดที่ 4 การสุขาภิบาล 4.3 มีวิธีการจัดการระบายนํ้าทิ้งและสิ่งโสโครก มีวิธีการจัดการระบายนาทิ้ง สิ่งโสโครกอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ก่อให้เกิดการ ปนเปื้อนเข้าสู่บริเวณผลิต ทิ้งนี้โดยให้อาคารและทาง ระบายน้ำลาดเอียง ให้ออกจากบริเวณพื้นที่การผลิตอย่างรวดเร็วลงสู่ทางระบายน้ำสาธารณะ หรือมีวิธีการอื่นๆที่เหมาะสม

102 4.3 การจัดการระบายนํ้าทิ้งและสิ่งโสโครก
หมวดที่ 4 การสุขาภิบาล 4.3 การจัดการระบายนํ้าทิ้งและสิ่งโสโครก มีตะแกรงปิดป้องกัน สัตว์พาหะจากภายนอกได้ มีการตักเศษอาหารออก อย่างสมํ่าเสมอ JIIIIIH jHiiiiikL อาจไม่จำเปีนต้องมีตะแกรงปิดครอบท่อระบายนํ้าก็ได้ (กรณีท่อเปิด) ถ้ามีตะแกรงจะต้องเปีดทำความสะอาดอย่างเสมอ 109

103 4.4 ห้องส้วม และอ่างล้างมือหน้าห้องส้วม
หมวดที่ 4 การสุขาภิบาล 4.4 ห้องส้วม และอ่างล้างมือหน้าห้องส้วม 4.4.1 ห้องส้วมแยกจากบริเวณผลิตและ ไม่เปิดสู่บริเวณผลิตโดยตรง

104 4.4 ห้องส้วม และอ่างล้างมือหน้าห้องส้วม
หมวดที่ 4 การสุขาภิบาล 4.4 ห้องส้วม และอ่างล้างมือหน้าห้องส้วม 4.4.2 ห้องส้วมอยู่ในสภาพที่ใช้งานได้และสะอาด ถูกสุขลกษณะ 4.4.3 ห้องส้วมมีจำนวนเพียงพอกับผู้ปฏิบัติงาน ตามเกณฑ ตาปีงแสดงจำนวนหองสัวม อ่างลางมือ ต่อคนปีน จำนวนคนงาน สัวม ป้สสาวะชาย อ่างล้างมือ ไม,เกิน 15 1 ไม,เกิน 40 2 ไม,เกิน 80 3 คนงาน 80 คนขึ้นไป ต้องเพิ่มส้วม ปัสสาวะชาย และอ่างล้างมืออย่างละ 1 ที่ต่อคนงานที่เพิ่มขึ้นทุก ๆ 50 คน

105 4.4 ห้องส้วม และอ่างล้างมือหน้าห้องส้วม
หมวดที่ 4 การสุขาภิบาล 4.4 ห้องส้วม และอ่างล้างมือหน้าห้องส้วม 4.4.4 มีอ่างล้างมือ พร้อมสบู่ หรือนายาฆ่าเชื้อโรค และอุปกรณ์ทำให้มือแห้ง 4.4.5 มีอ่างล้างมือและอุปกรณ์อยู่ในสภาพใช้งาน ได้ สะอาด ถกสขล้กษณะ จำนวนคน ส้วม ปัสสาวะชาย อ่างล้างมือ ไม่เกิน 15 1 ไม่เกิน 40 ไม่เกิน 80 2 3 คนงาน 80 คนขึ้นไป ต้องเพิ่มส้วม ปัสสาวะชาย และอ่างล้างหน้ามืออย่างละ 1 ที่ต่อคนงานที่เพิ่มขึ้นทุกๆ50 คน 112

106 4.4 ห้องส้วม และอ่างล้างมือหน้าห้องส้วม
หมวดที่ 4 การสุขาภิบาล 4.4 ห้องส้วม และอ่างล้างมือหน้าห้องส้วม 4.4.1 ห้องส้วมแยกจากบริเวณผลิตและ ไม่เปิดสู่บริเวณผลิต โดยตรง 4.4.4 มีอ่างล้างมือ พร้อมสบู่ หรือนายาฆ่าเชื้อโรค และอุปกรณ์ทำให้มือแห้ง

107 4.5 อ่างล้างมือบริเวณผลิต
หมวดที่ 4 การสุขาภิบาล 4.5 อ่างล้างมือบริเวณผลิต 4.5.1 มีสบู่หรือนายาฆ่าเชื้อโรคและอุปกรณ์ทำให้มือแห้ง 4.5.2 อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้และสะอาด ถูกสุขลักษณะ ข้อแนะนำ ะ การผลิตประเภทที่มือต้องแห้งก่อนเข้าปฏิบัติงาน ควรติดตั้งอุปกรณ์ทำให้มือแห้ง อุปกรณ์ทำให้มือแห้ง

108 4.5 อ่างล้างมือบริเวณมลิต
หมวดที่ 4 การสุขาภิบาล 4.5 อ่างล้างมือบริเวณมลิต จำนวนคนงาน อ่างล้างมือ ไม,เกิน 15 1 ไม,เกิน 40 2 ไม,เกิน 80 3 4.5.3 มีจำนวนเพียงพอต่อผู้ปฏิบัติงาน 4.5.4 อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม มีอ่างล้างมือด้านหน้าหรือในบริเวณผลิตและติดตั้งในตำแหน่งที่สะดวกต่อการล้างมือ ก่อนปฏิบัติงาน และไม่ปนเปื้อนกับกระบวนการผลิต และผลิตภัณฑ์ หมายเหตุ : คนงาน 80 คนขึ้นไป ต้องอ่างล้างมืออีก 1 ที่ต่อคนงานที่เพิ่มขึ้นทุก ๆ 50 คน

109 หมวดที่ 5 การบำรุงรักษาและทำความสะอาด
Primary GMP หมวดที่ 5 การบำรุงรักษาและทำความสะอาด

110 เปรียบเทียบหลักเกณฑ์และบันทึกการตรวจสถานที่ผลิตอาหาร
หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร ว่าด้วยสุขลักษณะทั่วไป (GMP) หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร แปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย (Primary GMP) 5.1 อาคารผลิตอยู่ในสภาพที่สะอาด มี วิธีการหรือมาตรการดูแลทำความ สะอาดอย่างสม่ำเสมอ 5.1 มีวิธีการหรือมาตรการดูแลทำความสะอาด อาคารผลิตอย่างสมำเสมอ 5.2 เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์การ ผลิตมีการทำความสะอาดก่อนและหลัง 5.2 เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์การผลิตมี การทำความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ และอยู่ ปฏิบัติงาน ในสภาพที่ใช้งานได้ 5.3 เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์การ ผลิตที่สัมผัสกับอาหารมีการทำความ สะอาดอย่างสม่ำเสมอ

111 หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร ว่าด้วยสุขลักษณะทั่วไป (GMP)
หลักเกณฑ์วิธการที่ดในการผลิตอาหาร แปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย (Primary GMP) 5.4 มีการเก็บอุปกรณ์ที่ทำความสะอาดแล้วให้เป็น สัดส่วน และอยู่ในสภาพที่เหมาะสม รวมถึง ไม่ปนเปื้อนจากจุลินทรีย์ ฝุ่นละออง และอื่น ๆ 5.5 การลำเลียงขนส่งภาชนะและอุปกรณ์ที่ทำ ความสะอาดแล้ว อยู่ในลักษณะที่ป้องกันการ ปนเปื้อนจากภายนอกได้ดี 5.6 เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์การผลิต มี การดูแลบำรุงรักษาให้อยู่ในสภาพใช้งานได้ อย่างมีประสิทธิภาพสม่ำเสมอ 5.7 มีการเก็บสารเคมีทำความสะอาดหรือสารเคมี อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการรักษาสุขลักษณะ และ มีป้ายแสดงชื่อ แยกให้เป็นสัดส่วนและ ปลอดภัย 5.3 มีการเก็บสารเคมีทำความสะอาด หรือสารเคมีอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ รักษาสุขลักษณะ และมีป้ายแสดงชื่อ แยกให้เป็นลัดส่วนและปลอดภัย

112 5.1 อาคารผลิตมีการดูแลทำความสะอาด
หมวดที 5 การป้ารงรักษาและการทำความสะอาด 5.1 อาคารผลิตมีการดูแลทำความสะอาด 5.2 เครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์การ ผลิตล้างสม่ำเสมอ 5.3 การจัดเก็บสารเคมี

113 หมวดที 5 การบำรุงรักษาและการทำความสะอาด
5.1 อาคารผลิตอยู่ในสภาพที่สะอาด มีวิธีการหรือ มาตรการ ทำความสะอาดสมํ่าเสมอ • ตัวอาคารทั้ง พื้น ผนัง และเพดาน และอุปกรณ์ยึดติดผนังหรือเพดาน อยู่ในลักษณะที่สะอาด • มีวิธีการ/มาตรการทำความสะอาดและฆ่าเชื้อตามความถี่ที่เหมาะสม

114 หมวดที 5 การบำรุงรักษาและทำความสะอาด
5.2 เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์การผลิต มีการทำความ สะอาดสมํ่าเสมอ • มีการทำความสะอาดตามความเหมาะสม ระหว่างกระบวนการ ผลิตโดยเฉพาะพื้นผิวที่อาจเกิดการหมักหมม เช่น สายพาน โต๊ะ • พิจารณาความถี่ในการทำความสะอาดประกอบ

115 หมวดที่ 5 การป้ารุงรักษาและทำความสะอาด
5.3 มีการเก็บสารเคมีนํ้ายาทำความสะอาดหรือ สารเคมีอื่นที่เกี่ยวข้องกับการรักษาสุขลักษณะ และ มีป้ายแสดงซื่อแยกเป็นสัดส่วน ปลอดภัย เก็บแยกจากบริเวณผลิต มีป้ายระบุชนิดและประเภทอย่างชัดเจนเป็น ภาษาไทย มีการระบุวิธีการใช้ที่ถูกต้อง มีมาตรการใน การควบคุมการนำไปใช้

116 หมวดที่ 5 การบำรุงรักษาและทำความสะอาด
5.3 มีการเก็บสารเคมีนํ้ายาทำความสะอาดหรือ สารเคมีอื่นที่เกี่ยวข้องกับการรักษาสุขลักษณะ และ มีป้าย แสดงซื่อแยกเป็นสัดส่วน ปลอดภัย สารเคมีทำความสะอาด ฆ่าเชื้อ และสารเคมีที่ใช้ในการ บำรุงรักษา แยก จากสารเคมีที่ใช้ในการกำจัด สัตว์แมลง โดยเฉพาะ แยกจากสารเคมีใช้ในการ ผลิตอาหาร เช่น วัตถุเจือปนอาหาร

117 หมวดที่ 5 การบำรุงรักษาและทำความสะอาด
มีการเก็บน้ำยาทำความ สะอาดหรือสารเคมีอื่น ๆ แยกให้เป็นสัดส่วนและ ปลอดภัยและต้องมีป้ายบ่งชัดเจน

118 หมวดที่ 6 บุคลากรและสุขลักษณะ ผู้ปฏิบัติงาน
Primary GMP หมวดที่ 6 บุคลากรและสุขลักษณะ ผู้ปฏิบัติงาน หมวดที่ 6 คะแนนรวม = 10 คะแนน

119 เปรียบเทียบหลักเกณฑ์และบันทึกการตรวจสถานที่ผลิตอาหาร
หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร ว่าด้วยสุขลักษณะทั่วไป (GMP) หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร แปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย (Primary GMP) 6.1 คนงานในบริเวณผลิตอาหารไม่มีบาดแผล ไม่เป็นโรคหรือพาหะของโรคตามที่ระบุใน 6.1 ผู้ปฏิบตงานในบริเวณผลิตอาหารไม่มี บาดแผลไม่เป็นโรคหรือพาหะของโรคตามที กฎกระทรวง ระบุในกฎกระทรวง 6.2 คนงานทีทำหน้าที่สัมผัสกับอาหาร 6.2 ผู้ปฏิบตงานทีทำหน้าที่สัมผัสกับอาหาร ขณะปฏิบัติงานต้องปฏิบัติดังนี้ 6.2.1 แต่งกายสะอาด เสื้อคลุมหรือผ้ากัน เปื้อนสะอาด 6.2.2 มีมาตรการจัดการรองเท้าที่ใชใน บริเวณผลิตอย่างเหมาะสม 6.2.3 ไม่สวมใส่เครื่องประดับ

120 หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร ว่าด้วยสุขลักษณะทั่วไป (GMP)
6.2.4 มือและเล็บต้องสะอาด 6.2.5 ล้างมือให้สะอาดทุกครั้งก่อนเริ่ม ปฏิบัติงาน 6.2.6 สวมถุงมือที่อยู่ในสภาพสมบูรณ์และ สะอาด หรือกรณีไม่สวมถุงมือต้องมี มาตรการดูแลความสะอาดและฆ่าเชื้อ มือก่อนปฏิบัติงาน 6.2.7 มีการสวมหมวกตาข่ายหรือผ้าคลุมผม อย่างใดอย่างหนึ่งตามความจำเป็น 6.3 มีการแกอบรมคนงานด้านสุขลักษณะตาม ความเหมาะสม 6.4 มีวิธีการหรือข้อปฏิบัติสำหรับผู้ไม่เกี่ยวข้องกับ การผลิตที่มีความจำเป็นต้องเข้าในบริเวณผลิต หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหารแปรรูปที่ บรรจุในภาชนะพร้อม จำหน่าย (Primary GMP) 6.2.4 มือและเล็บต้องสะอาด 6.2.5 ล้างมือให้สะอาดทุกครั้งก่อนเริ่ม ปฏิบัติงาน 6.2.5 มีการสวมหมวกตาข่ายหรือผ้าคลุมผม อย่างใดอย่างหนึ่งตามความ จำเป็น 6.3 มีการแสดงคำเตือนห้ามมิให้บุคคลใดแสดง พฤติกรรมอ้นน่ารังเกียจใน สถานที่ผลิตอาหาร 6.4 มีวิธีการหรือข้อปฏิบัติสำหรับผู้ไม่เกี่ยวข้อง กับการผลิตที่มีความจำเป็นต้องเข้าไปใน บริเวณผลิต

121 กติกามารยาท อบรม ให้ความรู้ หมวดที่ 6 บุคลากรและสุขลักษณะผู้ปฏิบัติงาน
ความสำคัญ ควบคุม + รักษาความสะอาด ของบุคคล เพื่อป้องก้นการปนเปื้อนจากบุคคลไปสู่อาหาร ทั้งทางตรง / ทางอ้อม กติกามารยาท อบรม ให้ความรู้

122 6.1 ผู้ปฏิบตงานในบริเวณผลิตอาหาร ไม่มีบาดแผล
หมวดที่ 6 บุคลากรและสุขลักษณะผู้ปฏิบัติงาน 6.1 ผู้ปฏิบตงานในบริเวณผลิตอาหาร ไม่มีบาดแผล ไม่เป็นโรคหรือพาหะของโรคตามที่ระบุในกฎกระทรวง • ไม่เป็นพาหะของโรคตามที่กำหนดในกฎกระทรวง โรควัณโรคในระยะ อันตราย

123 หมวดที่ 6 บุคลากรและสุขลักษณะผู้ปฏิบัติงาน
6.2 ผู้ปฏิบัติงานที่ทำหน้าที่สัมผัสอาหาร ขณะปฏิบัติงานควรมีการปฏิบัติดังนี้ 6.2.1 แต่งกายสะอาด เสื้อคลุมหรือผ้ากันเปื้อนสะอาด 6.2.2 มีมาตรการจัดการรองเท้าที่ใช้ในบริเวณผลิต อย่างเหมาะสม มีมาตรการ!เองกันการปนเปื้อนจากรองเท้าที่ใช้ในบริเวณ ผลิต เซ่น เปลี่ยนรองเท้า จุ่มคลอรีน ก่อนเข้าบริเวณผลิต

124 หมวดที่ 6 บุคลากรและสุขลักษณะผู้ปฏิบัติงาน
6.2 ผู้ปฏิบัติงานที่ทำหน้าที่สัมผัสอาหาร 6.2.3 ไม่สวมเครื่องประดับ เช่นแหวน นาฬิกา และไม่นำสิ่งของที่ไม่เกี่ยวข้องเข้าสู่บริเวณผลิต 6.2.4 มือและเล็บต้องสะอาด

125 หมวดที่ 6 บุคลากรและสุขลักษณะผู้ปฏิบัติงาน
6.2.5 ล้างมือให้สะอาดทุกครั้งก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ภายหลังกลับจากห้องน้ำหรือห้องส้วม หรือ หลังจากออกนอกบริเวณปฏิบัติงาน

126 หมวดที่ 6 บุคลากรและสุขลักษณะผู้ปฏิบตงาน
6.2.6 มีการสวมหมวกตาข่าย หรือผ้าคลุมผม ตามความจำเป็น สวมหมวก ตาข่าย ผ้าคลุม คลุมเส้นผมตลอดใบหู เพื่อป้องกันการปนเปื้อนจากเส้นผม รังแค สิ่งสกปรก ของศีรษะลงกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์

127 6.3 ติดป้ายคำเตือน/คำแนะนำด้านสุขลักษณะ
หมวดที่ 6 บุคลากรและสุขลักษณะผู้ปฏิบัติงาน 6.3 ติดป้ายคำเตือน/คำแนะนำด้านสุขลักษณะ เพื่อเป็นการเตือนคนงานให้ปฏิบัติถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล 6.4 มีวิธีการหรือข้อปฏิบัติสำหรับผู้ไม่เกี่ยวข้อง กับการผลิตที่มีความจำเป็นต้องเข้าในบริเวณผลิต • เช่น ผู้เยี่ยมชม เจ้าหน้าที่ผู้ตรวจของรัฐ • เมื่อเข้ามาอยู่ในบริเวณผลิตต้องปฏิบัติตามข้อ ข้อ ด้วย

128 ขอบคุณค่ะ

129 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์
เว็บไซต์ กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการดำเนินงาน (Primary GMP)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google