งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรุปผลการดำเนินงานควบคุมและป้องกัน งานวัณโรค ประจำเดือน พฤศจิกายน 2557

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรุปผลการดำเนินงานควบคุมและป้องกัน งานวัณโรค ประจำเดือน พฤศจิกายน 2557"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปผลการดำเนินงานควบคุมและป้องกัน งานวัณโรค ประจำเดือน พฤศจิกายน 2557
สรุปผลการดำเนินงานควบคุมและป้องกัน งานวัณโรค ประจำเดือน พฤศจิกายน 2557

2 จำนวนผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภท ที่ยังรักษาอยู่ถึงปัจจุบัน
65 62 จำนวนผู้ป่วย (ราย) 25 25 23 22 22 19 15 11 11 8 5 2 รวม สสจ.เลย New M+ 145 ราย NEW M- 74 ราย New EP 55 ราย Relapse 8 ราย Others 10 ราย Others M+ 1 ราย TAD 3 ราย TAF 3 ราย New not done 2 ราย Transfer in 8 ราย MDR-TB 5 ราย ***All form 314 ราย*** **หมายเหตุ case New M+ ที่ขึ้นทะเบียนที่ รพ.เลย อยู่ในเรือนจำ 1 ราย

3 จำนวนผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภท ที่ขึ้นทะเบียนเดือน ตุลาคม 2557
13 จำนวนผู้ป่วย (ราย) 11 5 5 4 4 2 2 2 2 2 1 1 N/A รวม สสจ.เลย New M+ 30 ราย NEW M- 12 ราย New EP 9 ราย Relapse 1 ราย Others 1 ราย TAF 1 ราย New not done 1 ราย ***All form 54 ราย*** **หมายเหตุ case New M+ ที่ขึ้นทะเบียนที่ รพ.เลย อยู่ในเรือนจำ 1 ราย

4 ร้อยละของผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภท ที่นอนโรงพยาบาล/Homeward (ต.ค.57)
N/A N/A N/A N/A N/A New M+ ที่ไม่ได้ admit รพ.วังสะพุง 8 ราย admit 7 ราย อีก 1 ราย รับส่งต่อจาก รพ.เลยราม รักษามาแล้ว 2 เดือน รพ.เอราวัณ 5 ราย admit 4 ราย อีก1 ราย รับต่อจาก รพ.สมุทรสาคร ประเภทอื่น ที่ไม่ใช่ New M+ ที่ไม่ได้ admit รพ.เลย 6 ราย admit 5 ราย อีก 1 ราย ผู้ป่วยอาการดี ไม่ได้admit รพ.ท่าลี่ 1 ราย ไม่ได้admit ผู้ป่วยอาการดี ไม่ได้admit (ส่งต่อจาก รพ.เลย) รพ.ปากชม 2 ราย admit 1 ราย อีก 1 ราย รับส่งต่อจาก จ.ขอนแก่น รพ.นาด้วง 1 ราย รับส่งต่อจาก จ.อุดรธานี รพ.วังสะพุง 5 ราย admit 4 ราย อีก1 ราย ผู้ป่วยอาการดี ไม่ได้admit รพ.เอราวัณ 1 ราย รับส่งต่อจาก รพ.เลย รพ.หนองหิน 1 ราย ผู้ป่วยอาการดี ไม่ได้admit

5 ร้อยละของผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียน เดือน ตุลาคม 2557 ที่ได้รับการให้การปรึกษา (VCT) ตรวจเอชไอวี และรับยา ARV ร้อยละ การให้คำปรึกษา (VCT) รพร.ด่านซ้าย มีผู้ป่วยขึ้นทะเบียน 5 ราย VCT 4 ราย อีก 1 ราย นัด ธ.ค.57 (ผลงาน80%) รพ.วังสะพุง มีผู้ป่วยขึ้นทะเบียน 13 ราย VCT 11 ราย อีก 2 ราย เสียชีวิตก่อน (เป็นผู้ป่วยประเภทNew M+)เป็นผู้สูงอายุ/DM/HT กินยาได้3สัปดาห์ (ผลงาน85%) รพ.เอราวัณ มีผู้ป่วยขึ้นทะเบียน 5 ราย VCT 4 ราย อีก 1 ราย นัด ธ.ค.57 (ส่งต่อจากรพ.เลย) (ผลงาน80%) พบผู้ป่วย HIV  รพ.เลย 1 ราย รับยา ARV แล้ว  รพ.ท่าลี่ 1 ราย ได้รับ ARV แล้ว  รพ.นาด้วง 1 ราย ยังไม่ได้รับ ARV ผู้ป่วยไม่ยินยอมรักษาทั้งTBและHIV รพ.นาด้วงกำลังติดตามผู้ป่วย  รพ.วังสะพุง 1 ราย ยังไม่ได้รับ ARV ผู้ป่วยยังไม่พร้อม Adherace ไม่ดี  รพ.หนองหิน 1 ราย ได้รับ ARV แล้ว

6 การเยี่ยมบ้านตามเกณฑ์คุณภาพ 8-12 ครั้ง (ผู้ป่วยขึ้นทะเบียนเดือนสิงหาคม 2557)
หมายเหตุ 1. อ.นาด้วง มีผู้ป่วยประเภทอื่นที่ไม่ New M+ 2 ราย ติดตามเยี่ยมในระยะเข้มข้น 1 ราย อีก 1 ราย ติดตามเยี่ยมไม่ครบ เนื่องจากรักษาจากที่อื่น 1 เดือน(ผลงาน 50%) 2. อ.ภูกระดึง มีผู้ป่วยประเภทอื่นที่ไม่ New M+ 5 ราย ติดตามเยี่ยมในระยะเข้มข้น 3 ราย อีก 2 ราย ติดตามเยี่ยมไม่ครบ เนื่องจากรักษาจากที่อื่นในช่วงระยะเข้มข้น (ผลงาน 60%)

7 CONVERSION RATE (ผู้ป่วยขึ้นทะเบียนเดือนสิงหาคม 2557)
1.รพ.ปากชม มีผู้ป่วย New M+ 2 ราย ผลเสมหะเดือนที่ 2และ3 ยังพบเชื้ออยู่ (1+) ส่งc/sที่ สคร.6 แล้ว(ผลงาน 50%) 2. รพ.ผาขาว มีผู้ป่วย New M+ 3 ราย ผลเสมหะเดือนที่ 2 เปลี่ยนจากบวกเป็นลบ 2 ราย อีก 1 ราย ยังพบเชื้ออยู่ในเดือนที่ 2 (เดือนที่ 3 ไม่ได้ตรวจ) ส่งc/s ที่ สคร.6 แล้ว (ผลงาน 66.67%)

8 SUCCESS RATE (ผู้ป่วยขึ้นทะเบียนเดือนเมษายน 2557)
รพ.เชียงคาน New M+ 2 ราย cure 1 ราย อีก 1 ราย เสียชีวิต (CA Lung เสียชีวิตที่บ้าน) กินยา 56 วัน (ผลงาน 50%) รพ.วังสะพุง New M+ 3 ราย cure 2 ราย อีก 1 ราย เสียชีวิต (สูงอายุ/DM/HT เหนื่อย หอบ) กินยา 1 สัปดาห์ (ผลงาน 67%) รพ.หนองหิน New M+ 2 ราย cure 1 ราย อีก 1 ราย กินยา 4 เดือน และขาดยา กลับมาขึ้น ทะเบียนใหม่ ตรวจAFB ผลลบ ขึ้นทะเบียนเป็น Other (ผลงาน 50%)

9 สถานการณ์ MDR-TB จังหวัดเลย
อำเภอวังสะพุง 2 ราย อำเภอเชียงคาน 1 ราย อำเภอภูเรือ 1 ราย อำเภอภูกระดึง 1 ราย

10 MDR-TB จ.เลย นางกฤษณา แก้วมาลา อายุ 38 ปี
นางกฤษณา แก้วมาลา อายุ 38 ปี ที่อยู่ 33 ม.1 ต.ศรีสงคราม อ.วังสะพุง เริ่มรักษา 14 ตุลาคม 2556 รับยา เดือนที่ 17 ยาที่ได้รับ Ethionamide (250) 1*2 pc Cycloserine (250) 1*2 pc PAS (1000) 4*2 pc Ethambutol (400) 2*hs  น้ำหนักตัวเมื่อเริ่มรักษา 43 Kg. น้ำหนักตัวปัจจุบัน 40 Kg. มีโรคร่วมคือเบาหวาน อาการทั่วไปปกติ กินยาต่อเนื่อง ไม่มีภาวะแทรกซ้อน DOT โดย จนท. รพ.สต.โนนสว่าง

11 MDR-TB จ.เลย ที่อยู่ 1/1 ม.4 ต.ปากตม อ.เชียงคาน
นายลานทอง ถมนา อายุ 45 ปี ที่อยู่ 1/1 ม.4 ต.ปากตม อ.เชียงคาน ผู้ป่วยอาศัยที่สวนยาง คนเดียว เริ่มรักษา 28 เมษายน 2557 รับยา เดือนที่ 7 ยาที่ได้รับ Ofloxacin (100) 4*hs Cycloserine (250) 2*2 pc PAS (1000) 6*2 pc Ethambutol (400) 2*hs Ethionamide (250) 2*2 pc  น้ำหนักตัวเมื่อเริ่มรักษา 60 Kg. น้ำหนักตัวปัจจุบัน 60 Kg. มีโรคร่วมคือไวรัสตับอักเสบบี อาการทั่วไปปกติ กินยาต่อเนื่อง DOT โดย จนท.รพ.สต.ท่าดีหมี ช่วงเช้า และ อสม. ช่วงเย็น

12 MDR-TB จ.เลย นายพนม โทลา อายุ 35 ปี
นายพนม โทลา อายุ 35 ปี ที่อยู่ ศูนย์โยคะ บ้านร่องจิก ต.ร่องจิก อ.ภูเรือ เริ่มยา 2 มิถุนายน 2557 รับยาเดือนที่ 6 ยาที่ได้รับ Ofloxacin (100) 4*hs PAS (1000) 6*2 pc Ethambutol (400) 3*hs Streptomycin (500 mg.) ฉีดทุกวัน เว้นเสาร์-อาทิตย์  น้ำหนักตัวเมื่อเริ่มรักษา 55 Kg. น้ำหนักตัวปัจจุบัน 56 Kg. ไม่มีโรคร่วม อาการทั่วไปปกติดี ถูกคุมขังในห้องแยก เรือนจำ จ.เลย วันที่ 28 พฤศจิกายน (ระยะเวลาคุมขัง 10เดือน) 1 ธันวาคม กลุ่มงานควบคุมโรคเข้าไปเยี่ยมที่เรือนจำ

13 MDR-TB นางหนู ทินราช อายุ 67 ปี (สัมผัส XDR-TB)
ที่อยู่ 112 ม.9 ต.ห้วยส้ม อ.ภูกระดึง จ.เลย เริ่มรักษา 26 มิถุนายน 2557 รับยาเดือนที่ 5 ยาที่ได้รับ Ofloxacin (100) 3*2 pc Ethionamide (250) 1*3 pc Cycloserine (250) 1*3 pc PAS (1000) 6*2 pc Kanamycin (500) ฉีดทุกวัน เว้นเสาร์-อาทิตย์  น้ำหนักตัวเมื่อเริ่มรักษา 55 Kg. น้ำหนักตัวปัจจุบัน 50 Kg. มีโรคร่วมคือเบาหวาน ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อย อ่อนเพลีย รับประทานอาหารไม่ได้ ขณะนี้ admit ที่ รพ.ภูกระดึง 27 พ.ย 57

14 MDR-TB นายสายชล จันทะนาม อายุ 44 ปี
นายสายชล จันทะนาม อายุ 44 ปี ที่อยู่ 76 ม.19 ต.ผาน้อย อ.วังสะพุง จ.เลย ได้รับแจ้งจากสำนักวัณโรคในวันที่ 27 ต.ค. 57 ว่าเชื้อที่ส่งตรวจมีปริมาณน้อยไม่สามารถทดสอบความไวต่อยาด้วยวิธี solid DST ได้ ประสาน สคร.6 แล้ว แจ้งให้เก็บ sputum ส่งตรวจใหม่อีกครั้ง ขณะนี้แพทย์ให้ยา Ofloxacin(200) 2*2 pc Ethambutal(500) 2*1 hs อาการทั่วไปดีขึ้น น้ำหนักตัวเมื่อเริ่มรักษา 41 Kg. น้ำหนักตัวปัจจุบัน 50 Kg. DOT โดย จนท. รพ.สต.โนนวังแท่น

15 กรณีผู้ป่วยมีปัญหา นายมาลอน ใจซื่อ อายุ 47 ปี
นายมาลอน ใจซื่อ อายุ 47 ปี ที่อยู่ 57 ม.5 บ้านน้ำใส ต.หนองหิน อ.หนองหิน จ.เลย กลุ่มงานควบคุมโรคได้รับแจ้งว่าผู้ป่วยมีปัญหาในช่วงadmit ที่ รพ.เลยและรพ.ภูกระดึง และปฏิเสธ การเยี่ยมจาก จนท. ผู้ป่วยมีปัญหาไม่มีญาติ จึงได้ออกติดตามผู้ป่วย ในวันที่ 24 พ.ย. 57 หลังจากD/C ผู้ป่วยกลับมาอยู่บ้าน มีผู้ดูแลคือพ่อบุญธรรม (เจ้าของร้านนุ๊กนิดตัดผมชาย) ผู้ป่วยรับประทานยาเอง จึงขอความร่วมมือจากพื้นที่ 1. กำกับ ติดตาม และทำDOT อย่างเคร่งครัด 2. ให้ความรู้ผู้ป่วย ผู้ดูแล และเพื่อนบ้าน เกี่ยวกับโรควัณโรคปอด/IC 3. ให้ความรู้เรื่องการดูแลสภาวะแวดล้อมที่อยู่อาศัยของผู้ป่วย

16 กรณีผู้ป่วยมีปัญหา 2. นางสัมพันธ์ ชำนาญ อายุ 52 ปี ที่อยู่ตามบัตร 82 ม.9 บ้านนาฝาย ต.ภูหอ อ.ภูหลวง จ.เลย กลุ่มงานควบคุมโรคได้รับแจ้งจาก TB Clinic รพ.ภูหลวง ว่ามีผู้ป่วย New M- รักษาที่ รพ.ภูหลวง ผู้ป่วย กินยาได้ 7 วัน ขาดนัด และออกนอกพื้นที่ไปรับจ้างเผาถ่านที่บ้านกกเกลือ ต.ปากปวน อ.วังสะพุง ทีมงาน ควบคุมโรค อ.วังสะพุง/รพ.สต.ปากปวน จึงได้ออกติดตามผู้ป่วยพบว่าปฏิเสธการรักษา กลุ่มงานควบคุมโรค จึงได้ออกติดตามผู้ป่วย ในวันที่ 24 พ.ย. 57 ที่บ้านกกเกลือ ต.ปากปวน แต่ไม่พบผู้ป่วย ผู้ป่วยไปเกี่ยวข้าว ที่บ้านนาฝาย อ.ภูหลวง จึงได้แจ้งให้ ทีม รพ.ภูหลวง ดำเนินการติดตามผู้ป่วย ผู้ป่วยยินยอมและกลับมา ตรวจอีกครั้ง แพทย์เปลี่ยนการวินิจฉัยว่าไม่ใช่วัณโรค (Chronic bronchiectasis)

17 กรณีผู้ป่วยมีปัญหา 3. นายอภิสิทธิ์ สีสุขโข อายุ 29 ปี ที่อยู่ 52 ม.5 บ้านแก้วเมธี ต.นาด้วง อ.นาด้วง จ.เลย กลุ่มงานควบคุมโรคได้รับแจ้งจาก TB Clinic รพ.นาด้วง ว่ามีผู้ป่วย New M+ กินยา 1 เดือน ขาดนัด และปฏิเสธการรักษา ผู้ป่วยไปรับจ้างขุดมัน/เกี่ยวข้าว TB Clinic รพ.นาด้วง ได้ออกติดตามผู้ป่วยแล้ว แต่ไม่พบ ผู้ป่วย ทีม รพ.นาด้วง จะออกติดตามผู้ป่วยอีกครั้งในวันที่ 1-2 ธันวาคม 2557

18 สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดเลยปี2557
จำนวนผู้ป่วย ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. – 30 พ.ย.57 มีรายงานผู้ป่วยจำนวน 102 ราย อัตราป่วยเท่ากับ 16.17/แสน. อัตราป่วยสูง 5 อำเภอแรกได้แก่ ปากชม เชียงคาน นาแห้ว ด่านซ้าย ภูเรือ เท่ากับ 41.99,36.49, 35.12,33.28 และ 32.38/แสน. พื้นที่ที่มีผู้ป่วยต่อเนื่อง 2 สัปดาห์บ้านหินแลบ ม.4 ต.อิปุ่ม อ.ด่านซ้าย พบ 3 ราย(สัปดาห์ ) ข้อมูลสำนักระบาดวิทยา ณ วันที่ 24 พ.ย.57 จ.เลยมีอัตราป่วยอยู่ในลำดับที่ 72 ของประเทศ ลำดับ 17 ของภาค และลำดับ 4 ของเขต ในช่วง 4 สัปดาห์ที่ผ่านมาพบผู้ป่วย 11 ราย ค่า HI ,CI อ.เมือง บ.นาบอน ม.5 HI = 20 อ.ด่านซ้าย บ.หินแลบ ม.4 HI = 7.02 CI = 1.15 บ.นาหว้า ม.4 HI,CI =0

19 พื้นที่มีผู้ป่วยไข้เลือดออกในช่วง 4 สัปดาห์ ข้อมูลผู้ป่วยสะสมตั้งแต่ต้นปี วันที่ 1 มกราคม - 30 พฤศจิกายน 2557 อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน จำนวนผู้ป่วย สัปดาห์ที่ป่วย วันเริ่มป่วย ประเภท สะสมแต่ต้นปี รายแรก รายสุดท้าย พื้นที่เกิดโรค เมือง นาอาน ติดต่อ ม.1 1 44 6 พ.ย.57 ใหม่ ติดต่อ ม.9 45 9 พ.ย.57 ชัยพฤกษ์ นาบอน ม.5 2 43,43 29 ต.ค.57 2 พ.ย.57 ด่านซ้าย อิปุ่ม หินแลบ ม.4 4 16,44,44,45 24 เม.ย.57 11 พ.ย.57 ต่อเนื่อง นาหว้า ม.4 นาแห้ว เหมืองแพร่ ม.3 วังสะพุง หนองหญ้าปล้อง บึงสวรรค์ ม.7 ภูหลวง เลยวังไสย์ เลยตาวตาด ม.2 5 พ.ย.57 หนองหิน ปวนพุ จอมทอง ม.13 46 19 พ.ย.57

20 สถานการณ์โรคมือ เท้า ปากจังหวัดเลยปี2557
จำนวนผู้ป่วย ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. – 30 พ.ย.57 มีรายงานผู้ป่วยจำนวน 855 ราย อัตราป่วยเท่ากับ /แสน. อำเภอที่มีอัตราป่วยสูง 5 ลำดับแรกได้แก่ - ผาขาว เท่ากับ /แสน. - ภูกระดึง เท่ากับ /แสน. - ด่านซ้าย เท่ากับ /แสน. - ภูหลวง เท่ากับ /แสน. - นาด้วง เท่ากับ /แสน. ข้อมูลสำนักระบาดวิทยา ณ วันที่ 24 พ.ย.57 จ.เลยมีอัตราป่วยอยู่ในลำดับที่ 15 ของประเทศ ลำดับ 1 ของภาค

21 ผลงานการรณรงค์ให้วัคซีน dT แก่ประชาชนกลุ่มอายุ ปี จังหวัดเลยจำแนกรายอำเภอ ระหว่างเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน 2557 ร้อยละ หมายเหตุ 1.แหล่งข้อมูล จากแบบรายงาน dTC3 ที่อำเภอส่งให้จังหวัด 2.ข้อมูล ณ วันที่ 1 ธันวาคม 2557

22 ผลงานความครอบคลุมการรณรงค์ให้วัคซีน dT แก่ประชาชนกลุ่มอายุ ปี จังหวัดเลย จำแนกรายสถานบริการฯ ที่ความครอบคลุมวัคซีน ≥ 85 % และ ≤ 85 % อำเภอ รพ.สต. รพ จำนวนรพ.สต.ที่ความครอบคลุม ≥ 85 % จำนวนรพ.สต.ที่ความครอบคลุม ≤ 85 % จำนวนรพ. ที่ความครอบคลุม ≥ 85 % จำนวนรพ..ที่ความครอบคลุม ≤ 85 % เมือง 19 - 1 % นาด้วง 4 ห้วยปลาดุก(84.34 %) เชียงคาน 14 ปากชม 10 ด่านซ้าย 12 ปากหมัน (84.91 %) นาแห้ว 5 ภูเรือ 6 ท่าลี่ 9 วังสะพุง 17 ภูกระดึง 63.81 % ภูหลวง 3 2 ห้วยสีเสียด (31.88 %) ใหม่พัฒนา (73.70 %) 80.77 % ผาขาว 84.50 % เอราวัณ นาอ่างคำ (66.36 %) หนองใหญ่ (81.49 %) ห้วยป่าน (76.23 %) โนนสวรรค์ (63.32 %) หนองหิน

23 * วัคซีนที่เบิกทั้งจังหวัด 121,930 โด๊ส 49,769 โด๊ส
ประเด็นเพิ่มเติม 1. ดำเนินการเก็บตกประชาชนในพื้นที่ และประชาชนที่กลับเข้ามาในพื้นที่ รวมทั้งบันทึกข้อมูลในฐาน 43 แฟ้ม ภายใน 25 ธันวาคม 2557 2. ส่งรายงานผลการฉีดวัคซีนเพิ่มเติมให้จังหวัดทุกวันจันทร์ 3. สถานบริการฯ ทุกแห่ง - สำรวจจำนวนวัคซีน dT คงคลัง - ให้กันวัคซีนส่วนที่จะดำเนินการเก็บตกไว้ ส่วนที่เหลือส่งคืนให้ PCU ของรพ. ภายในวันที่ 12 ธันวาคม 2557 - สสจ.ออกไปรับวัคซีนที่เหลือ จาก PCU ของ รพ.ในวันที่ 15 ธ.ค 2557 และส่งคืน สคร.6 ขอนแก่น ในวันที่ 16 ธ.ค 2557 * วัคซีนที่เบิกทั้งจังหวัด 121,930 โด๊ส ผลงานการฉีดวัคซีน ,161 โด๊ส (ผลงาน ปี 71,485 ราย +นอกกลุ่ม 676 ราย) 49,769 โด๊ส

24 โครงการรณรงค์ให้วัคซีน dT แก่ประชากรกลุ่มอายุ 20 - 50 ปี
ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

25 บาดทะยัก ในเด็กแรกเกิด
อัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็กอายุ 1 ปี และโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ประเทศไทย: ปี ที่มา: กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน, สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข บาดทะยัก ในเด็กแรกเกิด ไอกรน อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน (%) อัตราป่วยต่อเด็กเกิดมีชีพแสนคน หัด 2556 คอตีบ โปลิโอ 2556 25

26 ปัญหาที่ต้องรีบแก้ไข วัคซีนครอบคลุมไม่ทั่วถึง โดยเฉพาะประชาชน
อัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็กอายุ 1 ปี และโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ประเทศไทย: ปี ที่มา: กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน, สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน (%) หัดเยอรมัน ไข้สมองอักเสบ Start JE vaccine in 1991 (17 provinces) ปัญหาที่ต้องรีบแก้ไข วัคซีนครอบคลุมไม่ทั่วถึง โดยเฉพาะประชาชน ในถิ่นทุรกันดาร ชุมชนแออัดและชายแดนใต้ เสี่ยงที่โรคจะระบาด โรคคอตีบเริ่มกลับมาระบาด โรคหัดยังระบาดเป็นระยะ ส่วนใหญ่พบในเด็กเล็ก 0-7 ปี (44%) 2556 คางทูม 26

27 อัตราป่วยโรคคอตีบและความครอบคลุมของ การได้รับวัคซีนคอตีบครบ 3 ครั้ง
ในเด็กอายุครบ 1 ปี : ประเทศไทย พ.ศ อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ร้อยละ แหล่งที่มา : สำนักระบาดวิทยาและสำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค อัตราป่วย ความครอบคลุม

28 จำนวนและร้อยละของผู้ป่วยยืนยันและเข้าข่ายโรคคอตีบ ในพื้นที่ที่มีการระบาด จำแนกตามกลุ่มอายุ ปี 2555
กลุ่มอายุ (ปี) จำนวน ( N=48) ร้อยละ 0-5 5 10.4 6-15 16 33.3 16-25 26 ปีขึ้นไป 22 45.8 รวม 48 100 ที่มา : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

29 ผู้ป่วยยืนยันโรคคอตีบปี 2556
จังหวัด ป่วย เสียชีวิต อายุ เดือนที่ป่วย ปัตตานี 3 2 < 15 ปี ม.ค.-ส.ค. สงขลา 4 ม.ค.-ก.ค. นราธิวาส 1 ก.พ.-พ.ค. ตาก มิ.ย. ยโสธร > 15 ปี มิ.ย.-ก.ย. อุดรธานี ก.ค.-ส.ค. กทม. ส.ค. , ธ.ค. สตูล ก.ย. เชียงใหม่ ยะลา ต.ค. รวม 21 7 ข้อมูล ณ วันที่ 21 ม.ค. 57

30 ความเสี่ยงในการระบาดของโรคคอตีบในประเทศไทย
ผู้ป่วยโรคคอตีบชาวลาวข้ามฝั่งมารักษา ที่ประเทศไทยหลายราย เช่นที่เชียงของ (จังหวัดเชียงราย) ท่าลี่ (จังหวัดเลย) การระบาดในลาวยังมีอยู่ต่อเนื่อง สปป.ลาว สหภาพพม่า ขอรับการสนับสนุน DAT จากไทย ช่องว่างภูมิต้านทานโรค กลุ่มผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนหรือ เกิดในช่วงต้นของ EPI เด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนหรือได้รับไม่ครบ พื้นที่ต่างๆที่เสี่ยง Herd immunity ของ Diphtheria = 85 %

31 มาตรการตามระดับพื้นที่
รณรงค์ ให้วัคซีน สอบสวนให้ยา อื่นๆ ระบาด รณรงค์ในเด็กและผู้ใหญ่ เก็บตกในเด็ก ผู้ป่วย & ผู้สัมผัส (พาหะ) สุขศึกษา NPI เสี่ยง รณรงค์ในเด็ก - พื้นที่เสี่ยง พื้นที่อื่นๆ

32 มาตรการดำเนินการในพื้นที่
1.พื้นที่ระบาด: War room, Early Diagnosis & treatment Contact case management, Mop-Up vaccination ทุกคน, Active surveillance 2.พื้นที่สงสัย: War room, Diagnosis & treatment Contact case management, Mop-Up vaccination เด็กต่ำกว่า 15 ปี และกลุ่มเสี่ยง เช่น ชาวเขา ต่างด้าว 3.พื้นที่เสี่ยง: War room, Diagnosis&treatment, Mop-Up vaccination เด็กต่ำกว่า 15 ปี และกลุ่มเสี่ยง เช่น ชาวเขา ต่างด้าว 4.พื้นที่อื่นๆ: ติดตามสถานการณ์ใกล้ชิด, Diagnosis & treatment, Catch-Up vaccination เด็กต่ำกว่า 12 ปี

33 ต่อโรคคอตีบในประชากรกลุ่มอายุต่าง ๆ
สภาวะระดับภูมิคุ้มกัน ต่อโรคคอตีบในประชากรกลุ่มอายุต่าง ๆ

34 ร้อยละของระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคคอตีบ ในประชากร อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น ปี 2554
รวม กลุ่มอายุ (ปี)

35 Phitsanulok Chonburi Chiang Mai Ratchaburi Songkhla
Nakhon Si Thammarat Songkhla

36 36

37 ร้อยละของระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคคอตีบ ในกลุ่มอายุ 20 - 60 ปี ประเทศไทย ปี 2556
Seroconversion IU/mL

38 คณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ผลการประชุม คณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เมื่อ 28 มกราคม 2556 มีมติ...... กำหนดให้รณรงค์ใช้วัคซีน dT จำนวน 1 ครั้ง ผู้ใหญ่กลุ่มอายุ ปี การรณรงค์ฯ ให้เน้นในพื้นที่ที่เสี่ยง ต่อการเกิดโรคคอตีบก่อน 38 38

39 มาตรการด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
แจ้งเตือนสสจ. ทั่วประเทศเร่งรัดตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนคอตีบแก่เด็กก่อนวัยเรียนและนักเรียน รวมทั้งติดตาม เด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีนหรือได้รับไม่ครบ ให้ได้รับวัคซีนครบถ้วนตามเกณฑ์ 2. กำหนดให้วัคซีน dT ทดแทน T ในทุกกรณี เช่น หญิงมีครรภ์ กลุ่มผู้มีบาดแผล  หน่วยบริการทุกแห่งทั้งภาครัฐและเอกชน  ราชวิทยาลัยและสมาคมแพทย์ที่เกี่ยวข้อง  ประกันสังคม  บริษัทนำเข้าวัคซีน เพื่อปรับแผนการจัดจำหน่ายวัคซีน ในอนาคต

40 มาตรการด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (ต่อ)
3. รณรงค์ให้ dT แก่ผู้ใหญ่อายุ ปี 1 ครั้ง เพื่อเร่งให้ภูมิคุ้มกันโรคในชุมชนมีระดับสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว 4. บรรจุการให้ dT กระตุ้นแก่ผู้ใหญ่ทุก 10 ปี ไว้ในตาราง EPI เพื่อกระตุ้นให้ภูมิคุ้มกันคงอยู่ในระดับที่ป้องกันโรค ได้อย่างต่อเนื่อง

41 โครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ในโอกาสเจริญพระชนมายุ ครบ ๖๐ พรรษา เพื่อคุ้มครองคนไทยจากโรคร้ายด้วยวัคซีน เป้าหมายของโครงการ 1. ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน dT ในประชากรอายุ ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 2. ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MR ในประชากรเด็กอายุ – 7 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95

42 โครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ในโอกาสเจริญพระชนมายุ ครบ ๖๐ พรรษา เพื่อคุ้มครองคนไทยจากโรคร้ายด้วยวัคซีน มี.ค – เม.ย. 57 ต.ค. – พ.ย. 57 มี.ค. – เม.ย 58 พ.ค. – ก.ย. 58 โครงการนำร่องรณรงค์ dT จ.มุกดาหาร (1.6 แสนโด๊ส) ขยายการรณรงค์ dT ภาคอีสาน 19 จังหวัด (~10 ล้านโด๊ส) ขยายการรณรงค์ dT ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ รวม 57จังหวัด (~ 18 ล้านโด๊ส) ให้วัคซีน MR ปี ทั่วประเทศ


ดาวน์โหลด ppt สรุปผลการดำเนินงานควบคุมและป้องกัน งานวัณโรค ประจำเดือน พฤศจิกายน 2557

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google