งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
ศูนย์ประสานงานโครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ

2 โครงการกำจัดโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ
2

3 X

4

5 พ.ศ. 2553 กระทรวงสาธารณสุขตกลงเห็นด้วยกับข้อเสนอการ กำจัดโรคหัด ซึ่งเป็นหัวข้อปรึกษาหารือร่วมกับ ประเทศอื่นในภูมิภาคในการประชุม World Health Assembly 2009 กระทรวงสาธารณสุข อนุมัติแผนดำเนินโครงการกวาด ล้างโปลิโอและโรคหัด พ.ศ และให้ กรมควบคุมโรคเป็นหน่วยงานประสานงาน มีกรมต่างๆ ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมการแพทย์ และสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

6 ฉีดวัคซีน MMR 9 เดือน และนักเรียน ป.1
หัด (Measles) สาเหตุ Measles Virus การติดต่อ ทางการหายใจ (air borne) ระยะฟักตัว วัน เฉลี่ยจากวันที่สัมผัสถึงออกผื่น 14 วัน ไข้ (ก่อน) น้ำมูกไหล ไอแห้งๆ ตลอดเวลา ตาแดงแฉะและกลัวแสง ที่กระพุ้งแก้มพบจุดขาวๆ ขอบแดง (Koplik,s spots) 1-2 วัน ก่อนออกผื่นนูนแดงติดกันเป็นปื้นๆ แล้วสีจะเข้มขึ้น (maculo-papular) โดยเริ่มจากหลังหู แล้วลามไปที่หน้าชิดขอบผม ลำตัว แขน ขา กินเวลา 2-3 วัน แล้วไข้จึงเริ่มลด อาการ 1-2 วันก่อนเริ่มมีอาการ (3-5 วันก่อนผื่นขึ้น-ผื่นขึ้นแล้ว 4 วัน) ระยะติดต่อ การป้องกัน ฉีดวัคซีน MMR 9 เดือน และนักเรียน ป.1 6

7 แนวโน้มสัดส่วนอายุของผู้ป่วยโรคหัด
กลุ่มอายุ > 15 ปี ข้อมูลจากสำนักระบาดวิทยา 7

8 โครงการกำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ
เป้าหมาย: ภายในปี พ.ศ. 2563 กรมการแพทย์ กรมควบคุมโรค สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ ตรวจยืนยันโรคหัดทางห้องปฏิบัติการ

9 วัตถุประสงค์การดำเนินการ
ลดอุบัติการณ์การเกิดโรคหัดในประเทศไทยไม่เกิน 1 รายต่อประชากรหนึ่งล้านคน ในปี (ไม่เกิน 5 รายต่อประชากรหนึ่งล้านในปี 2558)

10 การกำจัดโรคหัด เพิ่มและรักษาระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนหัด ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในทุกพื้นที่ จัดตั้ง เครือข่ายการตรวจเชื้อหัดทางห้องปฏิบัติการ ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานทั่วประเทศ เฝ้าระวังผู้ป่วยโรคหัด โดยมีการตรวจยืนยันเชื้อก่อโรคทางห้อง ปฏิบัติการในผู้ป่วยที่สงสัยโรคหัด ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ในทุกพื้นที่ รณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคหัด หรือมาตรการเสริมอื่น เช่น การบริการวัคซีน ในประชากรวัยทำงาน เพื่อเพิ่มระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในประชากรกลุ่มเสี่ยง

11 สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

12 การกำจัดโรคหัด (measles elimination)
การไม่พบผู้ป่วยโรคหัดที่ติดเชื้อภายในประเทศ (Endemic measles case) ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน 12 เดือนขึ้นไป ภายใต้ระบบเฝ้าระวังโรคหัดที่มีประสิทธิภาพ

13 ความสำคัญของการเฝ้าระวังโรคหัด
เป็นเครื่องมือหนึ่งเพื่อนำไปสู่กำจัดโรคหัด ติดตามสถานการณ์โรค บ่งชี้ประชากรกลุ่มเสี่ยง ตรวจจับการระบาดและควบคุมโรค อย่างรวดเร็ว

14 ระบบเฝ้าระวังโรคหัดที่มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด อัตราการรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคหัด การตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการ การตรวจวิเคราะห์สายพันธุ์ไวรัสโรคหัด การสอบสวนโรค

15 การเฝ้าระวังโรคหัด ระบบปัจจุบัน vs ระบบที่มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด ระบบที่มีประสิทธิภาพตามโครงการ ระบบปัจจุบัน (พ.ศ. 2553) 1. อัตราการรายงาน 1.1. มีรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคหัดไม่น้อยกว่า 2 ต่อแสนปชก.ระดับประเทศ (1,270 รายต่อปี) มีรายงาน 2,452 ราย (3.9 ต่อแสนปชก.) 1.2. มีรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคหัดไม่น้อยกว่า 1 ต่อแสนปชก. จากทุกอำเภอของประเทศ มีรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคหัดจาก 573 อำเภอ (62% ของอำเภอทั้งหมดในประเทศ)

16 การเฝ้าระวังโรคหัด ระบบปัจจุบัน vs ระบบที่มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด ระบบที่มีประสิทธิภาพตามโครงการ ระบบปัจจุบัน (พ.ศ. 2553) 2. การตรวจยืนยันทางห้อง ปฏิบัติการ มีการส่งตรวจ measles IgM ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้ป่วยที่รายงานเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง (ไม่นับผู้ป่วยในเหตุการณ์การระบาด) ยังไม่มีการเชื่อมโยงข้อมูลผู้ป่วยแต่ละรายในระบบเฝ้าระวังกับผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ

17 ข้อมูลจากห้องปฏิบัติการ
ไข้ ออกผื่น ในเด็ก Parvovirus B19 HHV6 Dengue Rickettsia Chickungunya etc. Laboratory Others: Reference: WHO/IVB/07.01

18 การเฝ้าระวังโรคหัด ระบบปัจจุบัน vs ระบบที่มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด ระบบที่มีประสิทธิภาพตามโครงการ ระบบปัจจุบัน (พ.ศ. 2553) 3. การตรวจวิเคราะห์สายพันธุ์ไวรัส มีการส่งตรวจ วิเคราะห์สายพันธุ์ไวรัสไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของเหตุการณ์การระบาด ยังไม่มีการเชื่อมโยงเหตุการณ์การระบาดกับผลการตรวจวิเคราะห์สายพันธุ์ไวรัสเท่าที่ควร

19 การเฝ้าระวังโรคหัด ระบบปัจจุบัน vs ระบบที่มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด ระบบที่มีประสิทธิภาพตามโครงการ ระบบปัจจุบัน (พ.ศ. 2553) 4. การสอบสวนโรค มีการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายภายใน 48 ชั่วโมง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้ป่วยที่รายงานเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง สอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายแรกของพื้นที่, รายที่มีอาการรุนแรง, อายุน้อยกว่า 9 เดือน, เหตุการณ์การระบาด

20 ระบบเฝ้าระวังโรคหัดของประเทศไทยในปัจจุบัน
ระบบปกติ (รายงาน 506) โครงการกำจัดโรคหัด 1. นิยามผู้ป่วยสงสัย ที่ต้องรายงาน ไข้สูง ไอ ผื่น + corynza / Conjuntivitis / Koplik’s spot หรือ แพทย์วินิจฉัย ไข้สูง ไอ ผื่น + corynza / conjuntivitis / Koplik’s spot หรือ แพทย์วินิจฉัย 2. การรายงานผู้ป่วยทันที Severe, admitted, death อายุน้อยกว่า 9 เดือน ทุกรายที่มา ร.พ. การรายงานและสอบสวนผู้ป่วยให้ได้ตามโครงการกำจัดโรคหัด ต้องไม่รอรายงานจาก ICD10 !!!

21 ระบบปกติ (รายงาน 506) โครงการกำจัดโรคหัด 3. การสอบสวนโรคและการตรวจทางห้อง ปฏิบัติการ - Severe, Death, อายุน้อยกว่า 9 เดือน, cluster, รายแรก สอบสวนเฉพาะรายทุกรายที่มา รพ. (Measles IgM ทุกราย) สอบสวนเหตุการณ์การระบาด (Measles IgM 10 – 20 ราย + 5 Throat swab) 4. ฐานข้อมูล R506: ข้อมูลทั่วไป, วันเริ่มป่วย, วันรับรักษา, ผลการรักษา ME เพิ่มตัวแปรประวัติวัคซีน, ประวัติสัมผัสโรค, ผล lab การรายงานและสอบสวนผู้ป่วยให้ได้ตามโครงการกำจัดโรคหัด ต้องไม่รอรายงานจาก ICD10 !!!

22 นิยามผู้ป่วย 1. เกณฑ์ทางคลินิก (Clinical Criteria)
มีไข้ > 38 ํC และมีผื่นนูนแดงขึ้นขณะยังมีไข้พร้อมทั้งมีอาการไอ (Cough) ร่วมกับอาการอื่นๆ อีกอย่างน้อยหนึ่งอาการ ดังต่อไปนี้ มีน้ำมูก (Coryza) เยื่อบุตาแดง (Conjunctivitis) ตรวจพบ Koplik's spot 1-2 วันก่อนและหลังผื่นขึ้น

23

24 นิยามผู้ป่วย 2. เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory Criteria) 2.1. Serology test - Measles IgM ให้ผลบวก 2.2. Viral isolation - เพาะเชื้อจากสารคัดหลั่งทางเดินหายใจ โดย Throat swab culture หรือ Nasal swab culture

25 ประเภทผู้ป่วย 1. ผู้ป่วยสงสัย (Suspected case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการ ตามเกณฑ์ทางคลินิก หรือ แพทย์วินิจฉัยโรคหัด 3. ผู้ป่วยเข้าข่าย (Probable case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก ร่วมกับมีข้อมูลทางระบาดวิทยาเชื่อมโยงกับผู้ป่วยยืนยัน 2. ผู้ป่วยยืนยัน (Confirmed case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก และ มีผลบวกทางห้องปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง

26 นิยามผู้สัมผัสใกล้ชิด
ผู้สัมผัสร่วมบ้าน ผู้ร่วมงาน หรือ ร่วมห้องเรียน ที่ต้องอยู่ในห้องเดียวกันเป็นประจำ ผู้ที่มีประวัติคลุกคลีใกล้ชิดกับผู้ป่วย ในระยะ 7 วันก่อนวันเริ่มป่วยของผู้ป่วย เช่น แฟน เพื่อนสนิท

27 การรายงานผู้ป่วยเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง เพื่อการกำจัดโรคหัด
ให้รายงานตั้งแต่ผู้ป่วยสงสัย พร้อมทั้งเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ในผู้ป่วยสงสัยทุกรายที่มาโรงพยาบาล

28 เมื่อแพทย์พบผู้ป่วยหัดที่สถานบริการ
ให้เจาะเลือดส่งตรวจ measles IgM ทุกราย - ระยะเวลาเจาะเลือดที่ดีที่สุด คือหลังผื่นขึ้น 4 – 30 วัน - หากผู้ป่วยมาเร็วมาก เช่น 1 วันหลังผื่นขึ้น ยังไม่ต้องเจาะเลือด อาจนัดมาเจาะเลือดภายหลัง หรือแจ้งเจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาให้ติดตามในพื้นที่ ส่งเลือดที่ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ การตรวจไม่เสียค่าใช้จ่าย (รพ.มีค่าใช้จ่ายเฉพาะการเจาะเลือด และจัดส่ง) แจ้งเจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาเพื่อดำเนินการสอบสวน และรายงานต่อไป

29 ระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บตัวอย่าง
ที่มา : ฝ่ายไวรัสระบบประสาทและระบบไหลเวียนโลหิต NIH กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

30 เมื่อเจ้าหน้าที่ระบาด ได้รับรายงานผู้ป่วย
สอบสวนเฉพาะราย (case investigation) สอบสวนผู้ป่วยสงสัยทุกรายที่เข้ารับการรักษา ในโรงพยาบาล ทั้งประเภทผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน พร้อมทั้งเก็บสิ่งส่งตรวจ ทางห้องปฏิบัติการ ในผู้ป่วยสงสัยทุกราย ได้แก่ Measles IgM เพื่อทราบรายละเอียดของการเจ็บป่วย ยืนยันการวินิจฉัยโรค และ ตรวจสอบการระบาดที่อาจจะมีอยู่ในชุมชน

31 เมื่อสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายแล้ว ให้รายงานเข้าฐานข้อมูลสำนักระบาดวิทยา
เข้า website สำนักระบาดวิทยา  โครงการกำจัดโรคหัด  ฐานข้อมูลกำจัดโรคหัด กรอกข้อมูลการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย หรือการระบาด รวมทั้งข้อมูลวันที่เจาะเลือด เมื่อมีผลการเจาะเลือดแล้ว กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ จะ รายงานให้ทราบทาง website นี้

32 การตรวจยืนยันการติดเชื้อไวรัสหัด
ตรวจหา IgM ด้วยวิธี ELISA (ผู้ป่วยทุกราย) เจาะเลือดครั้งเดียว ช่วง 4-30 วัน หลังผื่นออก เจาะ 3-5 มล. ดูด serum ส่งกรม/ศูนย์วิทย์ฯ ภายใต้ระบบลูกโซ่ความเย็น (ไม่ควรเก็บ serum ไว้นานเกิน 3 วัน) รายงานผลได้ภายใน 48 ชั่วโมง

33 ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายที่มา รพ. (1)

34 ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายที่มา รพ. (2)

35 เกณฑ์ในการออกสอบสวนโรคในพื้นที่
มีผู้ป่วยสงสัยโรคหัดเป็นกลุ่มก้อน เมื่อสอบสวนผู้ป่วย Index case แล้วพบว่าผู้สัมผัสใกล้ชิด มีอาการป่วยสงสัยโรคหัดร่วมด้วย ผู้ป่วย Index case มีผลการตรวจ Measles IgM ให้ผลบวก ผู้ป่วย Index case มาจากพื้นที่ที่ความครอบคลุมของวัคซีนต่ำ ได้แก่ - Measles หรือ MMR เข็มที่ 1 ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในเด็กอายุ ปี (นับจากวันเริ่มป่วยของผู้ป่วย index case) ในระดับตำบล - MMR เข็มที่ 2 ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียน

36 การสอบสวนเหตุการณ์การระบาด (outbreak investigation)
กรณีที่เกิดโรคเป็นกลุ่มก้อน ให้ทำการสอบสวนการระบาดทันทีโดย - ใช้แบบสอบสวนโรคเฉพาะราย (ME1 form) หรือทะเบียนผู้ป่วยในการสอบสวนเหตุการณ์การระบาดของโรคหัด (ME2 form) - เก็บสิ่งส่งตรวจในผู้ป่วยสงสัย ได้แก่ Measles IgM ประมาณ 10 – 20 ตัวอย่าง ของผู้ป่วยสงสัยในเหตุการณ์ - สุ่มตัวอย่าง Throat / Nasal swab จำนวนไม่เกิน 5 ตัวอย่างเพื่อส่งตรวจ Genotype ของไวรัสโรคหัด ด้วยวิธี PCR เพื่อยืนยันเชื้อก่อโรคและสายพันธุ์ หาที่มาของการระบาดและควบคุมโรค

37 การตรวจวิเคราะห์หาสายพันธุ์ของไวรัสหัด รายงานผลได้ภายใน 1 เดือน
(เฉพาะเมื่อสอบสวนการระบาดที่เป็นกลุ่มก้อน) Throat swab : 1-5 วัน หลังผื่นออก Nasal swab : 1-5 วัน หลังผื่นออก รายงานผลได้ภายใน 1 เดือน

38 ระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บตัวอย่าง
ที่มา : ฝ่ายไวรัสระบบประสาทและระบบไหลเวียนโลหิต NIH กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

39 แบบสอบสวนเหตุการณ์การระบาด(ME2 form)

40 ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนเหตุการณ์การระบาด (1)

41 ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนเหตุการณ์การระบาด (2)

42 ฐานข้อมูล online โครงการกำจัดโรคหัด

43

44

45 Download แบบฟอร์ม คู่มือการเฝ้าระวัง และเข้าฐานข้อมูล ได้ที่ website สำนักระบาดวิทยา
โทร

46 Number of reported measles by month, Thailand, 2011 - 2012

47 จำนวนผู้ป่วยยืนยันโรคหัด (IgM positive) จำแนกตามกลุ่มอายุ พ.ศ.2555

48 รายงานการระบาดผู้ป่วยยืนยันโรคหัด (IgM positive) ประเทศไทย 2556
ลำดับ จังหวัด สถานที่ จำนวน (คน) อายุ วันเริ่มป่วย ลักษณะประชากร 1 ราชบุรี ศูนย์พักพิงบ้านถ้ำหิน 13 6 เดือน - 38 ปี 3 ม.ค.-12 ก.พ. กระเหรี่ยง โรคระบาดจากพม่า 2 สุรินทร์ โรงเรียนบ้านโจรก 8 11-13 ปี 10 – 22 ก.พ. เด็กไทย 3 แม่ฮ่องสอน ศูนย์พักพิง แม่ลามาหลวง 23 6 เดือน - 44 ปี 7 มี.ค.-24 เม.ย.

49 รายงานการระบาดผู้ป่วยยืนยันโรคหัด (IgM positive) ประเทศไทย 2556
ลำดับ จังหวัด สถานที่ จำนวน (คน) อายุ วันเริ่มป่วย ลักษณะประชากร 4 ตาก โรงเรียนรวมไทยพัฒนา 7 1-6 ปี 15 มี.ค.-14 เม.ย. ชายแดนพม่า, Low vaccine coverage 5 นครปฐม เรือนจำ 10 22-31 ปี 30 เม.ย.-5 พ.ค. ชายไทย 6 มหา สารคาม 26 20-34 ปี 25 มี.ค. – 6 มิ.ย.

50 วัคซีน : ความหมายในการป้องกัน และควบคุมการระบาดของโรค
วัคซีน : ความหมายในการป้องกัน และควบคุมการระบาดของโรค เป็นเครื่องมือที่ทรงประสิทธิภาพ ในการป้องกันโรค แต่ ไม่ได้เป็นเครื่องมือที่ทรงประสิทธิภาพในการควบคุมโรค

51 แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดโรคหัด
 แนวทางการตรวจสอบและให้วัคซีน เพื่อการกำจัดโรคหัด  การเบิกวัคซีนและการกระจายวัคซีน MMR

52 แนวทางการตรวจสอบและ ให้วัคซีนเพื่อการกำจัดโรคหัด
 ระยะก่อนเกิดโรค  ระยะที่มีการระบาด

53 ระยะก่อนเกิดโรค ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน ของเด็กในพื้นที่ และการให้วัคซีนเพิ่มเติม (เก็บตก) 2. ให้วัคซีนเสริมในประชากรกลุ่มเสี่ยงสูง ก่อนเกิดโรค

54 ระยะก่อนเกิดโรค 1. การตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน ของเด็กกลุ่ม เป้าหมายในพื้นที่รับผิดชอบและการให้วัคซีนเพิ่มเติม 1.1 การได้รับวัคซีน M/MMR ของเด็กอายุครบ 1 ปี 1.2 การได้รับวัคซีน M/MMR ของเด็กอายุครบ 3 ปี 1.3 การได้รับวัคซีน M/MMR ของเด็ก < 7 ปี 1.4 การได้รับวัคซีน M/MMR ของเด็ก ป.1 – ม.6 1.5 สถานบริการไม่มีหลักฐานการได้รับวัคซีนของกลุ่มเป้าหมาย ตาม 1.1 – 1.4

55 ระยะก่อนเกิดโรค ครั้งที่ 3 : นักเรียนชั้น ป. 1
ตรวจสอบระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MMR ในกลุ่มเป้าหมายรายไตรมาส (> 95%) ครั้งที่ 1 : เด็กอายุ 9-12 เดือน ครั้งที่ 2 : เด็กอายุ เดือน ครั้งที่ 3 : นักเรียนชั้น ป. 1

56 การสำรวจการได้รับวัคซีนในเด็กนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และ ปีที่ 6 พ.ศ.2551
เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข วทม. (วิทยาการระบาด) ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ พ.บ. MPH. พอพิศ วรินทร์เสถียร วทม. (วิทยาการระบาด) วิรัตน์ พลเลิศ วทบ. (สาธารณสุขศาสตร์)

57 ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีน MMR ในนักเรียนชั้น ป.1
ร้อยละ

58 จำนวนโรงเรียนจำแนกตามระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MMR ใน ป.1
1 อ่างทอง ชัยนาท นครนายก ราชบุรี สุรินทร์ ขอนแก่น สกลนคร อุทัยธานี อุตรดิตถ์ พะเยา สุราษฎร์ธานี ตรัง 2 3 8 30 6 12 18 24 จำนวนโรงเรียน ความครอบคลุมรายโรงเรียน % 90 – 94 % % < 70 % จนท.ไม่ฉีด

59 การให้วัคซีน MMR ในเด็กก่อนวัยเรียน จำแนกตามประวัติการได้รับวัคซีน
M/MMR การให้วัคซีน ไม่เคยได้รับวัคซีน ครั้งนี้ให้ MMR 1 ครั้ง และให้ อีก 1 ครั้ง เมื่อเข้า ป.1 ไม่แน่ใจ ได้รับวัคซีนก่อนอายุ 9 เดือน เคยได้มาแล้ว หลังอายุ 9 เดือน ครั้งนี้ไม่ต้องให้ MMR จนกว่าเด็กจะเข้าเรียนชั้น ป. 1

60 การให้บริการวัคซีน 2558 ไม่ต้องให้
ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน MMR ในอดีต แล้วให้วัคซีน MR ครั้งนี้* ดังตาราง ประวัติการได้รับวัคซีน ในอดีต การให้วัคซีนครั้งนี้ ไม่เคยได้รับวัคซีน/ไม่ทราบ 1 เข็ม แล้วให้อีก 1 ครั้งเมื่อเข้าเรียนชั้น ป.1 เคยได้ 1 เข็ม 1 เข็ม (ห่างกันอย่างน้อย 1 เดือน) เคยได้ 2 เข็ม (เข็มสุดท้ายอายุตั้งแต่ 18 เดือน) ไม่ต้องให้ วัคซีน MR ครั้งนี้* : เด็กเกิด 1 มิย. 51 ถึง 31 มค. 55

61 การให้วัคซีน MMR ในเด็กวัยเรียนจำแนกตามประวัติการได้รับวัคซีน
ประวัติการได้รับวัคซีน M/MMR การให้วัคซีน ไม่ได้รับครั้งแรก/ไม่แน่ใจ และ ไม่ได้รับเมื่อ ป.1 (หรือ 4-6 ปี) MMR 1 ครั้ง ได้รับครั้งแรก และ ไม่ได้รับเมื่อ ป.1 (หรือ 4-6 ปี) ได้รับครั้งแรก และ ไม่แน่ใจ ว่าได้รับเมื่อ ป.1 (หรือ 4-6 ปี) หรือไม่ ไม่ได้รับครั้งแรก/ไม่แน่ใจ แต่ ได้รับเมื่อ ป.1 (หรือ 4-6 ปี) ไม่ต้องให้ MMR

62 ระยะก่อนเกิดโรค ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน ของเด็กในพื้นที่ และการให้วัคซีนเพิ่มเติม (เก็บตก) 2. ให้วัคซีนเสริมในประชากรกลุ่มเสี่ยงสูง ก่อนเกิดโรค

63 ระยะก่อนเกิดโรค 2. การให้วัคซีนเสริมในประชากร กลุ่มเสี่ยงสูง
@ เด็กที่อยู่ในพื้นที่ทุรกันดาร @ เด็กด้อยโอกาส @ เด็กในกลุ่มแรงงานต่างชาติ

64 กรณีไม่มีหลักฐานการได้รับวัคซีน
ของเด็กก่อนวัยเรียน/วัยเรียน (1.5) กรณีมีกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ที่รับผิดชอบ (2) สสอ./สสจ. วางแผนรณรงค์ให้ MMR แก่เด็กทุกคน โดยไม่คำนึงถึงประวัติการเจ็บป่วย ประวัติการได้รับวัคซีนในอดีต

65 แนวทางการให้วัคซีนเมื่อพบผู้ป่วยสงสัยโรคหัด
2 ราย ภายใน 14 วัน ในหมู่บ้าน/ชุมชน/สถานที่มีบุคคลรวมกันเป็นจำนวนมาก พบผู้ป่วยสงสัยโรคหัด 1 ราย ดำเนินการเช่นเดียวกับ ในระยะก่อนเกิดโรค ดำเนินการควบคุมโรค

66 เกณฑ์การระบาด พบผู้ป่วยสงสัยโรคหัด 2 ราย ภายในระยะเวลา 14 วัน
ในหมู่บ้าน/ชุมชน/สถานที่มีบุคคล รวมกันเป็นจำนวนมาก

67 แนวทางการให้วัคซีนป้องกันและควบคุมโรคหัด
 เด็กก่อนวัยเรียน (อายุ < 7 ปี)  เด็กวัยเรียน  ผู้ใหญ่  พื้นที่ใกล้เคียงที่ยังไม่มีการระบาด เกิดการระบาดโรค 1 2 ระยะฟักตัว (8-12 วัน)

68 > 95% < 95% หรือ ไม่สามารถประเมิน หรือ ไม่แน่ใจ
การระบาดในเด็กก่อนวัยเรียน (อายุต่ำกว่า 7 ปี) ประเมินสภาพการดำเนินงานป้องกันโรคในพื้นที่ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนหัด/MMR > 95% < 95% หรือ ไม่สามารถประเมิน หรือ ไม่แน่ใจ ติดตามเด็กเฉพาะราย ที่ยังไม่ได้รับวัคซีน มารับวัคซีนทันที  ให้ MMR แก่เด็ก > 9 เดือน ถึง 6 ปี ทุกคน ในหมู่บ้าน + หมู่บ้านที่มีการถ่ายทอดโรค  ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม. หลังรับรายงานผู้ป่วยรายแรก  ไม่ให้ MMR แก่เด็ก < 9 เดือน แต่ให้แยกเลี้ยงเด็ก เพื่อไม่ให้เด็กคลุกคลีกับผู้ป่วย

69 แนวทางการให้วัคซีนป้องกันและควบคุมโรคหัด
 เด็กก่อนวัยเรียน (อายุ < 7 ปี)  เด็กวัยเรียน  ผู้ใหญ่  พื้นที่ใกล้เคียงที่ยังไม่มีการระบาด เกิดการระบาดโรค 1 2 ระยะฟักตัว (8-12 วัน)

70 การระบาดในเด็กวัยเรียน (ป.1 - ม.6)
ตรวจสอบประวัติการได้รับ MMR เมื่อเข้าเรียนชั้น ป.1** ของเด็กแต่ละคนทุกชั้นเรียน ดูหลักฐานยืนยัน ได้รับ ไม่ได้รับ/ไม่สามารถประเมิน/ไม่แน่ใจ ไม่ต้องให้ MMR  ให้ MMR  ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม หลังรับรายงานผู้ป่วยรายแรก ** เด็กที่มีหลักฐานว่าได้ MMR เมื่ออายุ 4-6 ปี ไม่ต้องให้ MMR ในการควบคุมโรค

71 แนวทางการให้วัคซีนป้องกันและควบคุมโรคหัด
 เด็กก่อนวัยเรียน (อายุ < 7 ปี)  เด็กวัยเรียน  ผู้ใหญ่  พื้นที่ใกล้เคียงที่ยังไม่มีการระบาด เกิดการระบาดโรค 1 2 ระยะฟักตัว (8-12 วัน)

72 อัตราป่วย รายกลุ่มอายุ
การระบาดในผู้ใหญ่ ประเมินอัตราป่วยรายกลุ่มอายุตาม “แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR ในการควบคุมโรค” 1. ผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนปี 2533 กลุ่มอายุ & ขอบเขตการให้วัคซีน ขึ้นอยู่กับผลการสอบสวน และแบบประเมินฯ อัตราป่วย รายกลุ่มอายุ < 2 % > 2 % ไม่ให้ MMR ให้ MMR ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม หลังรับรายงานผู้ป่วยรายแรก ห้ามให้ในหญิงมีครรภ์

73 การระบาดในผู้ใหญ่ (ต่อ)
การระบาดในผู้ใหญ่ (ต่อ) 2. ผู้ใหญ่ที่เกิดตั้งแต่ปี 2533 ตรวจสอบการได้รับ MMR เมื่อเข้า ป.1 ประวัติวัคซีน MMR เมื่อเข้า ป.1 ได้รับ ไม่เคยได้รับ/ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ ไม่ให้ MMR ให้ MMR ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม หลังรับรายงานผู้ป่วยรายแรก ห้ามให้ในหญิงมีครรภ์

74 แนวทางการให้วัคซีนป้องกันและควบคุมโรคหัด
- ไม่แนะนำให้วัคซีนเพื่อการควบคุม โรคหัด - ให้ดำเนินการแบบระยะก่อนเกิดโรค เกิดการระบาดโรค ระยะฟักตัว > 1 เดือน 1 2 ระยะฟักตัว (8-12 วัน)

75 ข้อแนะนำสำหรับพื้นที่ที่ไม่มีการระบาด
มีโรคหัดเกิดขึ้นในพื้นที่ สสอ./สสจ แจ้ง พื้นที่ใกล้เคียง ค้นหากลุ่มเสี่ยง ตรวจสอบประวัติได้รับวัคซีน เด็กในพื้นที่ทุรกันดาร เด็กด้อยโอกาส เด็กแรงงานต่างชาติ  เด็กก่อนวัยเรียน  เด็กวัยเรียน (ป.1 – ม.6) ให้ MMR ตามประวัติการได้รับวัคซีน ให้ MMR ทุกคน

76 มาตรการด้านวัคซีน ในระยะต่อไป

77 ข้อเสนอมาตรการในกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี
เพิ่มและรักษาระดับภูมิคุ้มกันในเด็ก ปรับอายุการให้วัคซีน MMR เข็มที่สอง จากเดิมให้บริการในชั้น ป.1 ปรับให้เร็วขึ้น เป็นอายุ 2 ปีครึ่ง (พร้อม JE3)

78 ข้อเสนอมาตรการในบุคคลอายุมากกว่า 5 ปี
ติดตามให้วัคซีนในนักเรียนประถมและมัธยม และออกบัตรรับรองการได้รับวัคซีน ทำข้อตกลงกับกระทรวงศึกษาธิการ ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนเมื่อเข้าเรียนทุกระดับชั้น (อนุบาล ถึง ปริญญา) รณรงค์ Mop up วัคซีนในกลุ่มผู้ใหญ่ที่อยู่รวมกันจำนวนมาก เช่น ในโรงงาน ค่ายทหาร

79 สรุปสถานการณ์โรคหัด ประเทศไทยยังมีการเกิดโรคหัดภายในประเทศอย่างต่อเนื่อง ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นเด็ก ทั้งก่อนวัยเรียน จนถึงระดับปริญญา จำเป็นต้องปรับมาตรการด้านวัคซีน ให้เหมาะสมมากขึ้น มีความพร้อมของการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ได้มาตรฐาน และรับตรวจฟรี


ดาวน์โหลด ppt โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google