งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารกองทุน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2555

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารกองทุน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2555"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารกองทุน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2555
การบริหารกองทุน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2555 นพ.วีระวัฒน์ พันธ์ครุฑ รองเลขาธิการ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ การประชุมชี้แจง เรื่อง การบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2555 วันที่ 5-6 ตุลาคม 2554 ณ โรงแรมรามาการ์เด้น

2 คุณูปการของระบบหลักประกันสุขภาพ

3 1. คนรวย คนจน มีโอกาสเข้าถึงบริการสุขภาพได้ใกล้เคียงกัน ได้รับบริการที่มีคุณภาพใกล้เคียงกัน และมีความเป็นธรรมมากขึ้นกว่าเดิม

4 การดูแลและขยายความครอบคลุม สิทธิหลักประกันสุขภาพ
จากการพัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้มีสิทธิอย่างต่อเนื่องและเชื่อมโยงกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทำให้สิทธิหลักประกันสุขภาพมีความครอบคลุมถ้วนหน้า ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน และได้รับสิทธิอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะเมื่อมีการเปลี่ยนสิทธิ

5 การดูแลและขยายความครอบคลุม สิทธิหลักประกันสุขภาพ (ต่อ)
ดำเนินงานดูแลและขยายความครอบคลุมสิทธิด้านหลักประกันสุขภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ประชาชนได้รับสิทธิขั้นพื้นฐานตามรัฐธรรมนูญ ครอบคลุมการมีสิทธิหลักประกันสุขภาพ และได้รับความคุ้มครองด้านสุขภาพอย่างเสมอภาค ดำเนินการเสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อให้สิทธิ (คืนสิทธิ) ขั้นพื้นฐานด้านสาธารณสุขกับบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จำนวน 457,409 คน และคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติการให้สิทธิด้านสาธารณสุข ครอบคลุมทั้งการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค การรักษาพยาบาล การฟื้นฟูสภาพ แก่บุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ ตั้งแต่ 1 เมษายน 2553

6 คนไทยไม่ต้องล้มละลาย ขายที่ดิน ขายบ้าน ขายวัวควาย เพราะการเจ็บป่วย
คนไทยไม่ต้องล้มละลาย ขายที่ดิน ขายบ้าน ขายวัวควาย เพราะการเจ็บป่วย

7 การบริหารงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ อย่างมีประสิทธิภาพ
การบริหารงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ อย่างมีประสิทธิภาพ ที่มา : สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ อาจกล่าวได้ว่า การออกแบบและบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพให้ครอบคลุมทั้งด้าน ‘ความกว้าง’ (จำนวนประชากรที่ได้รับหลักประกันให้เข้าถึงบริการสุขภาพ) และ ‘ความลึก’ (ได้รับบริการในสถานพยาบาลใกล้บ้านโดยไม่มีค่าใช้จ่าย) มีความสำคัญต่อการปกป้องครัวเรือนมิให้ยากจนลงเนื่องจากภาระรายจ่ายด้านสุขภาพ นับเป็นแบบอย่างที่ดีต่อการออกแบบระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศกำลังพัฒนาอื่นๆ

8 แผนภูมิ ร้อยละของรายจ่ายด้านสุขภาพต่อรายได้ จำแนกตามกลุ่มเดไซล์ ของรายได้ครัวเรือน พ.ศ. 2535-2552
หมายเหตุ : 1) ข้อมูลการสำรวจปี , 2552 คำนวณจากอัตราส่วนระหว่าง รายจ่ายด้านสุขภาพต่อรายได้ ของครัวเรือน 2) ข้อมูล ปี 2551 คำนวณจากอัตราส่วนระหว่าง รายจ่ายด้านสุขภาพต่อรายจ่ายทั้งหมดของครัวเรือน ที่มา : สุพล ลิมวัฒนานนท์ วิเคราะห์จากข้อมูลการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ

9 3. สามารถประหยัดงบประมาณในการจัดซื้อยา วัสดุการแพทย์และค่าใช้จ่ายอื่นกว่า 4,000 ล้านบาท /ปี (ข้อมูลปี 2553)

10 ความต้องการใช้น้ำยา CAPD (ถุง)
ปีงบ ประมาณ จำนวน ผู้ป่วย ความต้องการใช้น้ำยา CAPD (ถุง) ราคาจำหน่าย ราคาที่ซื้อได้ จำนวนเงินประหยัดได้ ร้อยละประหยัดได้ 2552 3,369 2,393,875 478,775,000 251,356,875 227,418,125 48% 2553 6,136 6,735,452 1,347,090,400 707,222,460 639,867,940 2554 8,745 9,966,330 1,993,266,000 1,046,464,650 946,801,350 รวม 19,095,657 3,819,131,400 2,005,043,985 1,814,087,415 จำนวนผู้ป่วยที่รับบริการในแต่ละปีงบประมาณจะใช้ยอดคงเหลือตามทะเบียน ซึ่งสำหรับถ้าใช้ตัวเลขผู้ที่เคยรับน้ำยาจริง(รวมทั้งผู้ที่เสียชีวิตไปแล้ว และผู้ที่เปลี่ยน Mode ไปแล้ว) ปี 2552 จะเป็น 3,466 คน และ ปี 2553 ยอด 9 เดือนจะเป็น 6,097 คน ยอดการใช้น้ำยา เป็นยอดความต้องการของผู้ป่วยที่บันทึกผ่านระบบ DMIS ราคาจำหน่ายประมาณ 200 บาทต่อถุง ราคาที่ สปสช.ซื้อ 105 บาทต่อถุง

11 การบริหารสายสวนหัวใจในระบบ Vendor managed inventory (VMI)
การบริหารงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ อย่างมีประสิทธิภาพ : การประหยัดงบประมาณ การบริหารสายสวนหัวใจในระบบ Vendor managed inventory (VMI) ข้อมูลตั้งแต่ ธ.ค.52-ต.ค.53

12 ราคาค่าเลนส์ที่เบิกจ่าย (บาท/ชิ้น)
การบริหารงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ อย่างมีประสิทธิภาพ (ต่อ): การประหยัดงบประมาณ การประหยัดค่าเลนส์แก้วตาเทียม (1 ธ.ค.53 – เม.ย.54) สปสช.สามารถประหยัดงบประมาณได้ทั้งสิ้น ล้านบาท รายการ ราคาค่าเลนส์ที่เบิกจ่าย (บาท/ชิ้น) ประกันสังคม สวัสดิการข้าราชการ สปสช. เลนส์แก้วตาเทียมชนิดพับได้ 4,000 6,000 700 เลนส์แก้วตาเทียมชนิดแข็งพับไม่ได้ 2,800 การบริหารจัดการ รพ.จัดหาเองและนำใบเสร็จมาเบิก 1) ให้องค์การเภสัชกรรมจัดซื้อ รวมและส่งให้ รพ. 2) ให้ รพ.จัดซื้อเองและเบิกได้ ตามราคาที่กำหนด

13 4. คิวรอผ่าตัดโรคหัวใจ สลายนิ่ว และผ่าตัดต้อกระจกระยะเวลา สั้นลงไปกว่าเดิมมาก และค่าใช้จ่ายก็ถูกลง

14 ระยะเวลาการรอคอย (วัน)
แสดงระยะเวลาการรอคอยการผ่าตัดหัวใจ ของผู้ป่วยในโรงพยาบาลต่างๆ ใน 3 ภูมิภาค โรงพยาบาล ระยะเวลาการรอคอย (วัน) จำนวนผู้ป่วย/เดือน ก.ค.-ส.ค 49 ก.ค.- ส.ค. 49 ก.ค.–ส.ค. 50 ก.ค.-ส.ค. 50 เชียงใหม่ 166 82 199 90 ศรีนครินทร์ 66 37 119 35 สงขลานครินทร์ 160 30 147

15 ข้อมูลจากฐานข้อมูลผู้ป่วยใน UC ณ วันที่ 25 พฤศจิกายน 2553

16 ผลงานบริการนิ่ว ปี 2554 (8 เดือน)
ข้อมูล ทั้งหมด การผ่าตัด (class1) การส่องกล้อง (class2) การสลายนิ่ว (class3) จำนวนครั้ง ที่ให้บริการ 31,447 (18%) 5,773 (11%) 3,334 (71%) 22,340 จำนวนผู้ป่วย 30,395 5,757 3,329 21,426 ยอดเบิก 580,278,290 179,056,809 58,908,029 342,313,451 ยอดจ่ายชดเชย 311,720,418 (46%) 142,801,349 (17%) 52,946,069 (37%) 115,973,000 ร้อยละการจ่ายเทียบเรียกเก็บ ปี 2554 (8เดือน) =64% ***ไม่รวมยอดเบิกของรพ.นายแพทย์หาญ และรพ.ธีรวัฒน์***

17 จำนวนผ่าตัดCataract ปี 2550-2554
(ราย) หมายเหตุ; ปี54รวมบริการเชิงรุก เข้าในบริการปกติ ข้อมูลบริการ 9 เดือน (ตค.53- มิ.ย.54) ยอดรวม ระบบ 117,926 118,066 111,701 123,636 62,559

18 Summary ก่อนปี 2550 การผ่าตัด Cataract < 50,000 ราย/ปี สัดส่วนการใช้เลนส์นิ่มในผู้ป่วย UC< 20% ปี (สปสช. สนับสนุนบริการเชิงรุก/ปรับPayment) จำนวนผ่าตัดในระบบปกติเพิ่มขึ้น>100% สัดส่วนการใช้เลนส์นิ่มในผู้ป่วย UC>50% Save งบค่าเลนส์จากปี 51/54 ลดลง 2,014 บาท/ชิ้น หรือ>100 ลบ./ปี

19 5. ส่งเสริมการพัฒนาระบบบริการ
ปฐมภูมิ การให้บริการใกล้บ้าน ใกล้ใจ และสามารถลดความแออัดของโรงพยาบาลลงได้ (ในบางพื้นที่)

20 1) ร้อยละหน่วยบริการปฐมภูมิที่ผ่านเกณฑ์ขึ้นทะเบียน สปสช.
ด้านโครงสร้างและศักยภาพหน่วยบริการปฐมภูมิ 1) ร้อยละหน่วยบริการปฐมภูมิที่ผ่านเกณฑ์ขึ้นทะเบียน สปสช. ที่มา : ข้อมูลจากศูนย์ทะเบียน สปสช.

21 2) หน่วยบริการปฐมภูมิที่ได้รับงบ Ontop ปี 2553-2554
ด้านโครงสร้างและศักยภาพหน่วยบริการปฐมภูมิ(ต่อ) 2) หน่วยบริการปฐมภูมิที่ได้รับงบ Ontop ปี 84แห่ง(0.74%) 80แห่ง(0.70%) 6,284แห่ง (55.61%) 4,464แห่ง (39.59%)

22 6. ให้ความสำคัญกับงานสร้างเสริมสุขภาพในทุกระดับ มีการแยกงบประมาณสนับสนุนกิจกรรมด้านนี้แยกเฉพาะ มีกิจกรรม ตรวจคัดกรอง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และจัดตั้งกองทุนสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่ในแทบทุกตำบล

23 การขยายกองทุนฯ ปี 49-50 อบต.หรือเทศบาลนำร่องอำเภอละแห่งรวม 888 แห่ง
ปี อบต.หรือเทศบาลเข้าร่วม 2,689 แห่งหรือ 34.6% ดูแล ปชก. 20 ล้านคน เงินสมทบ 174 ลบ.หรือ 23.2% ของงบที่ สปสช.โอนให้ จน ลบ. ปี อบต.หรือเทศบาลเข้าร่วม 3,935 แห่งหรือ 51% ดูแล ปชก ล้านคน เงินสมทบ 341 ลบ. หรือ 32% ของงบที่ สปสช.โอนเงินให้ จน.1,072.3 ลบ. ปี อบต.หรือเทศบาลเข้าร่วม 5,508 แห่ง หรือ 71% ดูแล ปชก ล้านคน เงินสมทบ 566 ลบ.หรือ 36% ของงบที่ สปสช. โอนให้จน.1,582.9 ลบ. ปี อบต.หรือเทศบาลเข้าร่วม 7,425 แห่ง หรือ 96% ดูแล ปชก. 52 ล้านคน สปสช. โอนงบให้ 2,076 ลบ. เพื่อ อบต. เทศบาล สมทบงบตามเกณฑ์ต่อไป

24 ร้อยละของการสมทบเงินเข้ากองทุนหลักประกันสุขภาพ
ภาพรวม ปีงบประมาณ ค่าบริการจาก สปสช. 4,798 ล้านบาท อุดหนุนจาก อบต./เทศบาล 1,627 ล้านบาท สมทบจากชุมชน ล้านบาท ดอกเบี้ยเงินฝาก ล้านบาท อื่น ๆ ล้านบาท รวม 6,561 ล้านบาท 24

25 ผลการดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปีงบประมาณ 2553-2554 (2 ไตรมาส)
(2ไตรมาส) ปชก.หญิง อายุ ปี (ณ กค.) 16,070,410 15,197,565  ผลการดำเนินงาน 2,195,889 536,736 % เทียบPOP 13.66% 3.53% ผลงานสะสมเทียบ POP 17.98% แหล่งข้อมูล : โปรแกรม Pap Registry สถาบันมะเร็งแห่งชาติ หมายเหตุ : ปี กำหนดกลุ่มเป้าหมายสตรีอายุ 35,40,45,50,55และ 60 ปี ปี กำหนดสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ ปี 25

26 7. สนับสนุนการพัฒนาแพทย์แผนไทย ในเรื่องการนวดไทย การอบ ประคบ การทับหม้อเกลือในหญิงหลังคลอด การใช้ยาสมุนไพรในเวชปฏิบัติ และการพัฒนาบุคลากรในสาขาด้านนี้

27 งบประมาณที่ได้รับจัดสรร จำแนกตามปีงบประมาณ
จำนวนเงิน(ล้านบาท) 0.5บาท/ปชก. 1บาท/ปชก. 1บาท/ปชก. 2บาท/ปชก. 6บาท/ปชก. 7.57บาท/ปชก.

28 หน่วยบริการประจำที่ให้บริการนวดไทย ภาพรวมทั้งประเทศ

29 จำนวนผู้รับบริการและจำนวนครั้งที่รับบริการนวดไทย

30 สนับสนุนการใช้ยาจากสมุนไพร ในบัญชียาหลักแห่งชาติ
สนับสนุนการใช้ยาจากสมุนไพร ในบัญชียาหลักแห่งชาติ (71 รายการ)

31 8. สนับสนุนการดูแลผู้พิการ ทั้งในระบบบริการด้านการแพทย์ ในชุมชน และการฟื้นฟูคุณภาพชีวิตประจำวัน รวมทั้งการจัดตั้ง กองทุนผู้พิการในระดับจังหวัด

32 สถานการณ์คนพิการในระบบหลักประกันสุขภาพ จำแนกรายเขต ณ 1 ก. ค
สถานการณ์คนพิการในระบบหลักประกันสุขภาพ จำแนกรายเขต ณ 1 ก.ค (ยอดรวมสะสม 803,157 คน) ประเภทความพิการ ร้อยละ การเคลื่อนไหว 45.81 การได้ยิน 17.93 จิตใจและพฤติกรรม 13.11 สติปัญญา 11.72 การมองเห็น 11.06 การเรียนรู้ 0.38 รวม 100 ที่มา : ศูนย์บริการสารสนเทศการประกันสุขภาพ

33 จำนวนคนพิการแยกตามประเภทความพิการ จำแนกรายเขต
ที่มา : ศูนย์บริการสารสนเทศการประกันสุขภาพ ข้อมูล ณ 1 กรกฎาคม 2554

34 การสนับสนุนอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ ปี 2554 (ต.ค.53–มิ.ย.54)
ที่มา : โปรแกรมรายงานอุปกรณ์และบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ

35 9. มีระบบพัฒนางานมิตรภาพบำบัด
เพื่อนช่วยเพื่อน และจิตอาสาทั้งในและนอกสถานบริการ ซึ่งนำไปสู่การให้บริการที่เน้นหัวใจ ของความเป็นมนุษย์ และสัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการ

36 ความเป็นมา “มิตรภาพบำบัด””
: เริ่ม Pilot project ศูนย์ส่งเสริมมิตรภาพบำบัด ในหน่วยบริการทั้งหมด 35 แห่ง/โครงการ (ส่วนใหญ่เริ่มจาก ศูนย์มะเร็ง / รพศ. / รพม.) : มีการประเมินผล การดำเนินงานโครงการฯ “ผลลัพธ์ดี” : ขยายผลการดำเนินงานไปยัง รพ.ทุกระดับอีก 139 แห่ง : มีหน่วยบริการร่วมดำเนินงาน 165 แห่ง และมี รพ. ร่วมพัฒนาเครือข่ายโรคหัวใจ 33 แห่ง : กำหนดเป้าหมายเพิ่มศูนย์มิตรภาพบำบัด เพิ่มเป็น 245 แห่ง และพัฒนาเครือข่ายโรคหัวใจเพิ่มอีก 10 แห่ง รวม 43 แห่ง 36

37 การมีส่วนร่วมภาคประชาชน :เพื่อนช่วยเพื่อน-อาสาสมัคร-ดูแลกันเอง
รพ. ภูมิพลอดุลยเดช รพ.มหาราชนครราชสีมา รพ สกลนคร 37

38 10. มีการจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้น ให้กับผู้ป่วยที่ได้รับความเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข (มาตรา 41 พรบ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ) และช่วยเหลือให้กับแพทย์พยาบาล และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ที่ได้รับความเสียหายจากการให้บริการ

39 การคุ้มครองสิทธิผู้รับบริการและผู้ให้บริการ

40 ผลการพิจารณาจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้น กรณีผู้ให้บริการ
ราย

41 ผลการพิจารณาจ่ายเงินช่วยเหลือ ม.41 กรณีผู้รับบริการ
ผลการพิจารณาจ่ายเงินช่วยเหลือ ม.41 กรณีผู้รับบริการ ราย

42 ลดความแออัดในโรงพยาบาล

43 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt การบริหารกองทุน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2555

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google