งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เอกสารประกอบการสอนภูมิศาสตร์การเมือง(GEO3202) Political Geography

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เอกสารประกอบการสอนภูมิศาสตร์การเมือง(GEO3202) Political Geography"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เอกสารประกอบการสอนภูมิศาสตร์การเมือง(GEO3202) Political Geography
ผู้สอน อ.พรสมิทธิ์ ฉายสมิทธิกุล สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

2 วิธีการจัดลำดับความคิดในการเรียนวิชาภูมิศาสตร์การเมือง
เรียนรู้ทฤษฎีและองค์ความรู้ต่างๆในวิชาภูมิศาสตร์การเมือง อธิบายที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ และที่ตั้งสัมพัทธ์ของแต่ละทวีปว่าจุดใดบ้างที่ มีความสำคัญทางภูมิศาสตร์การเมือง วาดรูปที่ตั้งของมหาสมุทรต่างๆของโลกได้ สามารถวาดรูปแผนที่โลก ที่สัมพันธ์กับเขตอากาศในเขตละติจูดต่ำ, กลาง และสูง สามารถอธิบายภูมิประเทศแบบต่างๆ เช่นภูเขาสูง ที่ราบสูง ที่ราบลุ่มแม่น้ำ ที่สำคัญของโลกที่มีผลในทางภูมิศาสตร์การเมืองได้

3 (ต่อ) 5.1 วาดรูปแสดงพื้นที่เขตยุทธศาสตร์ทางทะเลได้ เช่น อ่าวเม็กซิโกหมู่เกาะฮาวาย ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลดำ ทะเลสาบแคสเปียน ทะเลแดง ทะเลอันดามัน ทะเลจีนใต้ ช่องแคบมะละกา คลองปานามา คลองสุเอช การกระจายประชากร 6.1 การกระจายเชิงปริมาณ เช่นจีน อินเดีย 6.2 การกระจายเชิงคุณภาพ เช่น กลุ่มประเทศที่พัฒนา/ กำลังพัฒนา/ ด้อยพัฒนา

4 (ต่อ) 6.3 ประเทศมหาอำนาจกับการกระจายตัวของประชากร (จีน,อเมริกา,
6.3 ประเทศมหาอำนาจกับการกระจายตัวของประชากร (จีน,อเมริกา, เยอรมนี, อิสราเอล, ญี่ปุ่น) 6.4 ประเทศกำลังพัฒนา/ ด้อยพัฒนา กับการกระจายตัวของประชากร (ไทย, พม่า, กัมพูชา ฯลฯ)

5 ภูมิศาสตร์การเมือง (Political Geography)
กระบวนการศึกษา เข้าใจทฤษฎีทางการเมืองของโลก เข้าใจที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของทวีปต่างๆของโลกอันนำมาสู่การกำหนด ภูมิยุทธศาสตร์โลกของมหาอำนาจ เข้าใจลักษณะภูมิประเทศแบบต่างๆในเชิงลึกที่เป็นแรงจูงใจให้ประเทศ ต่างๆ ดำเนินกลยุทธทางการเมืองเพื่อได้มาซึ่งผลประโยชน์สูงสุด เข้าใจการกระจายทรัพยากรของโลก อันนำมาสู่การดำเนินกลยุทธทางการเมือง เพื่อให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด

6 ทฤษฎีการเมืองของโลก แบ่งกลุ่มประเทศตามลักษณะของการปกครอง
1. ประเทศที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตย 2. ประเทศที่ปกครองในระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ แบ่งกลุ่มประเทศตามยุทธวิธีการดำเนินยุทธวิธีทางการเมืองของโลก 1. ประเทศประชาธิปไตย 2. ประเทศสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ 3. ประเทศที่ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด (คบทั้งกลุ่มประเทศ ที่ 1 และ 2)

7 การแบ่งกลุ่มประเทศ (ต่อ)
การแบ่งกลุ่มประเทศตามสภาพทางเศรษฐกิจ ประเทศด้อยพัฒนา ประเทศกำลังพัฒนา ประเทศที่พัฒนาแล้ว

8 ขอบข่ายของวิชาภูมิศาสตร์การเมือง(เป็นวิชาแขนงย่อยในกลุ่มภูมิศาสตร์มนุษย์)
ศาสตร์อื่นๆ ประวัติศาสตร์ ปรัชญาและศาสนา รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ ธรณีวิทยา

9 ปรัชญาทางการเมือง พลาโต, อริสโตเติล, ลินคอร์น, คาร์ลมาร์ก ฯลฯ
พลาโต, อริสโตเติล, ลินคอร์น, คาร์ลมาร์ก ฯลฯ - โลกประชาธิปไตย - สังคมนิยมคอมมิวนิสต์ - สังคมในอุดมคติ เฮโรโดโดตัส/พลาโต/ชาวกรีก B.C. กล่าวถึงความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศและบริเวณต่างๆภายในประเทศ/อริสโตเติล/ สตราโบ ชาวโรมัน ศ.ที่ 18 วิชานี้จึงเจริญขึ้นมาก เช่น แมคคินเดอร์/ รัสเซล ฯลฯ

10 รัฐ ดินแดนและขอบเขตของรัฐ ประชาชน อำนาจอธิปไตยเหนือดินแดนนั้นๆ

11 พัฒนาการของภูมิศาสตร์การเมือง
ลักษณะทางภูมิศาสตร์กับความสัมพันธ์กับรูปแบบของมนุษย์ในแต่ละดินแดน ความเชื่อกับรูปแบบการปกครองของมนุษย์ การขยายความเชื่อทางการเมืองอันนำมาสู่ความขัดแย้งของมนุษย์ในแต่ละภูมิภาคของโลก - ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่มีอิทธิพลต่อการขยายเครือข่ายทางการเมือง ทั้งในระดับท้องถิ่นจนถึงระดับโลก (ที่ตั้ง ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะทางเศรษฐกิจและอื่นๆ)

12 พัฒนาการทางการเมืองกับสภาพเศรษฐกิจ
ลัทธิทุนนิยมกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย ความยากจนกับการปกครองในระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ การดำเนินเศรษฐกิจแบบผสมผสานทั้งกลุ่มที่ปกครองแบบประชา ธิปไตยและแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์

13 พัฒนาการของภูมิศาสตร์การเมืองของไทย
สมัยสุโขทัย สมัยลพบุรี สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี สมัยรัตนโกสินทร์

14 ภูมิศาสตร์การเมืองในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์
ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง (รัชกาลที่ 1- 6) ภายหลังการเปลี่ยนแปลง พ.ศ ปัจจุบัน - ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่สอดคล้องกับการเมืองการปกครองของไทย - ความแตกต่างของการเมืองในแต่ละภูมิภาค - ปัญหาการเมืองในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ - ปัญหาทางการเมืองของไทยกับประเทศข้างเคียง

15 การศึกษาภูมิศาสตร์การเมือง
มีหลักเกณฑ์เหมือนกันทุกประเทศ แต่แตกต่างกันที่เนื้อหาปลีกย่อยของแต่ละประเทศ และแต่ละจุดมุ่งหมายทางการเมืองของแต่ละประเทศนั้นๆ อังกฤษ พื้นที่ประเทศเล็ก> เจ้าทะเล > ขยายดินแดน > (เพื่อขายสินค้าที่ผลิต หรือนำทรัพยากรธรรมชาติและวัตถุดิบกลับประเทศ) > ลัทธิการล่าอาณานิคม

16 (ต่อ) ภูมิศาสตร์การเมืองในประเทศอังกฤษ
- เซอร์ วิลเลียม เพ็ทที มีชื่อเสียงมาก่อนหน้า 200 ปี - เซอร์ ฮัลฟอร์ด แมคคินเดอร์(พ.ศ ) เป็นนักภูมิศาสตร์การเมือง ยุคใหม่ที่มีชื่อเสียง มีความคิดว่าความขัดแย้งในประวัติศาสตร์มาจาก ความขัดแย้งระหว่างประเทศที่มีอำนาจทางทะเล แมคคินเดอร์เป็นเจ้าของ ทฤษฎีว่าด้วยความสำคัญของที่ตั้ง “ใครครอบครองยุโรปตะวันออกก็สามารถควบคุมบริเวณหัวใจโลกได้ ใครครอบครองบริเวณหัวใจโลกได้ก็สามารถครอบครองเกาะโลกได้ ใครครอบครองเกาะโลกได้ก็สามารถควบคุมโลกได้”

17 แมคคินเดอร์เห็นว่าทวีปเอเชียและแอฟริกาควรเป็นแผ่นดินเดียวกัน
ควรเรียกว่าเกาะขนาดมหึมาของโลก ส่วนที่เหลือคือทวีปอเมริกาเหนือ-ใต้ และออสเตรเลีย แมคคินเดอร์คิดว่าบริเวณหัวใจของโลก(Pivot Area sinv Hearthland) ควรอยู่ที่ส่วนของเกาะโลก ซึ่งตอนแรกแมคคินเดอร์เข้าใจว่าหัวใจของโลกคือบริเวณ ยูเรเซีย แมคคินเดอร์มีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่บริเวณหัวใจของโลก ส่วนทวีปแอฟริกาจัดเป็นหัวใจโลกแห่งที่สอง ในปัจจุบันความคิดของเขาอาจ ถูกต้องบางส่วน

18 (ต่อ) สหรัฐอเมริกา พื้นที่ประเทศใหญ่มาก ทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ > ไม่เกี่ยวข้องมากนักกับ WWII เยอรมนี พื้นที่น้อย wwI คน 70 ล้านคน > ต้องการรวมชาติ/ขาดทรัพยากรฯ >ก่อ wwII ฝรั่งเศส ศึกษาสภาพภูมิศาสตร์ เพื่อหาความสัมพันธ์กับการปกครองประเทศ

19 (ต่อ) ฝรั่งเศส จะศึกษาวิชาภูมิศาสตร์การเมืองแทรกอยู่ในวิชาภูมิศาสตร์มนุษย์ บุคคลที่มีชื่อเสียงได้แก่ ปอล วิดาล เดอ ลา บลาช (พ.ศ ) ซึ่งเป็นผู้มีความรู้เกี่ยวกับภูมิศาสตร์ภูมิภาค เดิมนักภูมิศาสตร์ฝรั่งเศส ไม่เห็นด้วยกับการขยายอำนาจเข้าสู่ประเทศข้างเคียง เพราะจะเกิดความทุกข์ยากแก่ประเทศเหล่านั้นและแก่ฝรั่งเศสเองด้วย

20 องค์ประกอบของรัฐ อาณาเขต ประชากร
การรวมกำลัง เช่นสหรัฐอเมริการวมกำลังด้วยการปลูกฝังให้พลเมืองได้รับการศึกษาสูง แต่ส่วนใหญ่นิยมรวมกำลังโดย - การรวมกำลังทางการปกครอง - การรวมกำลังทางเศรษฐกิจ - การรวมกำลังทางทหาร อำนาจอธิปไตยภายในรัฐ อาจมาจากการเสริมอำนาจหรือกำลังความสามารถ เศรษฐกิจของชาติ+พื้นที่+ประชากร+อำนาจทางทหาร

21 แสดงเขตยุทธศาสตร์โลก

22 ภูมิอากาศกับภูมิศาสตร์การเมือง
อากาศหนาว (ขั้วโลก, ภูเขาสูง, ทุนดรา, ไทกา) อากาศร้อน (ศูนย์สูตรและเหนือศูนย์สูตรขึ้นไป) แห้งแล้ง (ทะเลทรายและกึ่งทะเลทราย ฝนตกน้อยกว่า 10 นิ้วต่อปี) อากาศอบอุ่น เป็นอากาศที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองมากที่สุด - เขตละติจูดปานกลาง เช่น ตอนกลางอเมริกาเหนือ จีน เกาหลี ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์

23 เปรียบเทียบความเจริญของโลกในซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้
ซีกโลกเหนือเจริญกว่าซีกโลกใต้ เนื่องจาก - เคยเป็นดินแดนที่เจริญมาก่อน - การคมนาคมในซีกโลกเหนือสั้นกว่าทางซีกโลกใต้ - จำนวนประเทศและประชากรในซีกโลกเหนือมากกว่าซีกโลกใต้ - ซีกโลกเหนือล้วนเป็นเขตอุตสาหกรรมสำคัญมากกว่าซีกโลกใต้ - ซีกโลกใต้มีทรัพยากรจำกัดกว่า โดยเฉพาะทรัพยากรพลังงาน

24 ลักษณะที่เหมือนและแตกต่างกันกับลักษณะการปกครอง
1. ในอดีตประเทศที่อากาศค่อยๆเพิ่มความแตกต่าง เช่นสหรัฐอเมริกา รัสเซียจะมีการรวมอำนาจเป็นปึกแผ่น 2. ในอดีตประเทศที่มีอากาศแตกต่างกันมาก เช่นสเปน มักใช้ระบบการ ปกครองแบบเผด็จการ

25 ภูมิอากาศกับการทำสงคราม
อาหารกับการทำสงคราม เครื่องนุ่งห่มกับกิจการทางทหาร การใช้หรือผลิตยุทโธปกรณ์กับภูมิอากาศ การใช้ความสัมพันธ์ของลักษณะอากาศกับการสู้รบ เช่นการใช้การพยากรณ์อากาศวันดีเดย์ที่พันธมิตรเผด็จศึกเยอรมนีในสงครามโลกครั้งที่2

26 ลักษณะของแผ่นดินกับการได้เปรียบเสียเปรียบทางการเมือง
ลักษณะแผ่นดิน (Landform) ที่ราบ ภูเขา เนินเขา หุบเขา ที่ราบสูง - ข้อดี เช่นที่ราบเป็นแหล่งอาหารที่อุดมสมบูรณ์(เป็นแรงดึงในเชิง ภูมิศาสตร์การเมือง)/ ที่สูงเป็นแรงผลักในเชิงภูมิศาสตร์การเมือง - ข้อเสีย ที่ราบเป็นเป้าหมายการโจมตี ขาดสิ่งกีดขวางทางธรรมชาติ

27 ที่สูง/เนินเขา/ที่ราบสูง/หุบเขา
ที่สูงใน เวเนซูเอลา โคลัมเบีย เอกวาดอร์ที่ราบสูงอนาโตเลียของตุรกี ที่ราบสูงทิเบต ที่ราบสูงสวิสเซอร์แลนด์อยู่ระหว่างเทือกเขาแอลป์ ในอัฟกานิสถานฯลฯ ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ มีช่องเขาพอเหมาะเพื่อเปิดทำการค้า และปิดเมื่อทำสงคราม ประเทศอยู่ที่สูงมักไม่มีทางออกทะเล ขาดแรงงานประชากรขาดความเป็นอัหนึ่งอันเดียวกันสวิสฯเองเคยเกิดสงครามการเมืองหลายครั้งเพราะแตกต่างกันเรื่องภาษา

28 ทะเล/ มหาสมุทรกับการเป็นมหาอำนาจ
“การควบคุมเส้นทางพานิชย์ทางทะเลจะเป็นกุญแจสำคัญแห่งการขยายอำนาจ” อัลเฟร็ด แทออร์มาฮาน - การเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 2 ของอเมริกา - การล่าอาณานิคมของชาติยุโรปในเอเชียและอัฟริกา

29 ประเทศมหาอำนาจกับทรัพยากรฯ
อาหาร พลังงาน อื่นๆ * ความเป็นประเทศมหาอำนาจจำเป็นหรือไม่ที่ต้องมีทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ์ *

30 วิธีการจัดลำดับความคิดในการเรียนวิชาภูมิศาสตร์การเมือง
เรียนรู้ทฤษฎีและองค์ความรู้ต่างๆในวิชาภูมิศาสตร์การเมือง สามารถวาดรูปแผนที่โลก ที่สัมพันธ์กับเขตอากาศในเขตละติจูดต่ำ, กลาง และสูง อธิบายที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ และที่ตั้งสัมพัทธ์ของแต่ละทวีปว่าจุดใดบ้างที่ มีความสำคัญทางภูมิศาสตร์การเมือง สามารถอธิบายภูมิประเทศแบบต่างๆ เช่นภูเขาสูง ที่ราบสูง ที่ราบลุ่มแม่น้ำ ที่สำคัญของโลกที่มีผลในทางภูมิศาสตร์การเมืองได้ วาดรูปที่ตั้งของมหาสมุทรต่างๆของโลกได้

31 (ต่อ) 5.1 วาดรูปแสดงพื้นที่เขตยุทธศาสตร์ทางทะเลได้ เช่น อ่าวเม็กซิโก
5.1 วาดรูปแสดงพื้นที่เขตยุทธศาสตร์ทางทะเลได้ เช่น อ่าวเม็กซิโก หมู่เกาะฮาวาย ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลดำ ทะเลสาบแคส- เปียน ทะเลแดง ทะเลอันดามัน ทะเลจีนใต้ ช่องแคบมะละกา คลองปานามา คลองสุเอช การกระจายประชากร 6.1 การกระจายเชิงปริมาณ เช่นจีน อินเดีย 6.2 การกระจายเชิงคุณภาพ เช่น กลุ่มประเทศที่พัฒนา/ กำลังพัฒนา/ ด้อยพัฒนา

32 (ต่อ) 6.3 ประเทศมหาอำนาจกับการกระจายตัวของประชากร (จีน, อเมริกา,
6.3 ประเทศมหาอำนาจกับการกระจายตัวของประชากร (จีน, อเมริกา, เยอรมนี, อิสราเอล, ญี่ปุ่น) 6.4 ประเทศกำลังพัฒนา/ ด้อยพัฒนา กับการกระจายตัวของ ประชากร(ไทย, พม่า, กัมพูชา ฯลฯ)

33 การกระจายทรัพยากรฯในเชิงภูมิศาสตร์การเมือง
ทรัพยากรฯที่สำคัญของโลก แร่เชื้อเพลิง(น้ำมันฯ/ถ่านหิน/ก๊าซ/หินน้ำมัน/เหล็ก การกระจายทรัพยากรอาหารของโลก(ข้าวเจ้า/ ข้าวสาลี/ ข้าวโพด/ฯลฯ) ประเทศมหาอำนาจกับทรัพยากรต่างๆ

34 ความเชื่อที่นำมาสู่พัฒนาการของประเทศเชิงภูมิศาสตร์การเมือง
เน้นการพึ่งพาสภาพธรรมชาติเป็นหลัก “นิยัตนิยมภาวะแวดล้อม” environmental determinism มีการดัดแปลงสิ่งแวดล้อมหรือใช้เทคโนโลยีหรือวิธีการต่างๆเพื่อดำรงชีวิตอยู่ได้ เช่นการสร้างระบบชลประทาน possibilism การวางแผนพยากรณ์ไปข้างหน้าในการดำรงชีวิต นำสถิติ การสำรวจวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ มาวางแผนการดำรงชีวิต probabilism

35 รูปแบบทางการเมืองของโลก
ศาสตราจารย์เลวิส อเล็กซานเดอร์ ได้กล่าวถึงพลังรวมและพลังแยก ศูนย์กลางของพลังทางการเมือง - ในระดับโลก อาจหมายถึง เกาะโลก หัวใจโลก - ประเทศไทย อะไรคือพลังรวม หรือศูนย์กลางทางการเมืองของไทย เช่น การศึกษาถึงภูมิศาสตร์การเลือกตั้ง (Electorial Geography) ศึกษาเกี่ยวกับ ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ที่บังเกิดผลต่อการ ตัดสินใจหรือเกิดปฏิกิริยาทางการเมือง

36 รัฐ ชาติ ประเทศชาติ (The State,The Nation and Nation-State)
มีจำนวนประเทศที่ยอมรับ 194 ประเทศ ยังไม่มีอำนาจอธิปไตยเหนือดินแดน 29 ประเทศ (รวม223 ประเทศ) โดยสำนักงานเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติ 1 กรกฎาคม ค.ศ.2009 รัฐ - ประชากร รัฐบาล พื้นที่ ถ้าประกอบด้วยรัฐบาลที่ไร้ความสามารถก็ไม่อาจเป็นรัฐที่มีอำนาจ ชาติ ประชากรเป็นปัจจัยที่สำคัญยิ่งในการประกอบเป็นชาติ(ต้องมีความผูกพันร่วมกัน) เช่น กรณีของอิสราเอล/ ไทย (ต่างกันที่จิตสำนึกในความเป็นชาตินิยม(Nationalism)

37 โครงสร้างของรูปแบบการบริหารรัฐ

38 พลังแยก (Centrifugal forces)
คือปัจจัยทางกายภาพ ขนาด รูปร่าง ที่ตั้ง พลังรวม (Centripetal forces) เช่น เอกัตบุคคล ประมุข กษัตริย์ ฯลฯ

39 ปัจจัยเกี่ยวกับระวางที่และทางกายภาพในวิชาภูมิศาสตร์การเมือง
ระวางที่ Space เป็นที่ตั้งของรัฐ - ที่ตั้ง Location - ขนาด Size - รูปร่าง shape/ Form - พรมแดน Boundary

40 ที่ตั้ง กำหนดโดยพิกัดทางภูมิศาสตร์
ที่ตั้ง สัมพันธ์กับพื้นดินและพื้นน้ำ เช่นประเทศลาว Landlock Laos รัฐที่ไร้ชายฝั่ง Landlock location อาจตกอยู่ใต้อิทธิพลของรัฐอื่น อ่าวไทยเป็นทะเลกึ่งปิดล้อม Semi-enclosd sea ที่ตั้งที่เกี่ยวข้องกับประเทศใกล้เคียง Vicinal location จะเป็นมิตรหรือ ศัตรู เช่นไทย-กัมพูชา

41 รัฐกันกระทบหรือรัฐกันชน Buffer location
รัฐที่มีที่ตั้งเป็นศูนย์กลาง Central location แดนหัวใจโลก เช่นรัฐอลาส กา

42 ขนาด Size ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีขนาดใหญ่ของโลกหากดูจากพื้นที่ และติดทะเลถึงสองด้าน อยู่เกือบใต้สุดของคาบสมุทรอินโดจีน ทำให้ที่ตั้งมีความเหมาะสมทั้งเรื่องการค้า และเป็นจุดยุทธศาสตร์ของโลกในสงครามโลกครั้งที่ 2

43 ประเทศไทยกับลักษณะภูมิศาสตร์ที่มีผลต่อการดำเนิน นโยบายทางการเมืองทั้งในและต่างประเทศ
พรมแดนทางบก พรมแดนทางทะเล พรมแดนทางอากาศ การดำเนินนโยบายทางการเมืองที่สอดคล้องกับลักษณะ ทางภูมิศาสตร์ ใช้การฑูตนำการทหารเป็นมิตรกับทุกประเทศ การเมืองภายในประเทศต้องมีทิศทางชัดเจน

44 การวิเคราะห์โครงสร้างภายในทางภูมิศาสตร์การเมืองของรัฐ (An Analysis the International Structure in Political Geography of state) ทราบถึงอำนาจรัฐอุดมคติ นำองค์ประกอบของรัฐอุดมคติไปวิเคราะห์และเปรียบเทียบโครงสร้างภายในของแต่ละประเทศได้ วิเคราะห์โครงสร้างภายในทางภูมิศาสตร์การเมืองของรัฐ โดยใช้องค์ประกอบทางกายภาพ สิ่งแวดล้อมทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมได้ วิเคราะห์แรงแยกและแรงดึงเข้าสู่ศูนย์กลางของหน่วยการเมืองขนาดเล็กและขนาดใหญ่ได้ รัฐมีการประกอบกิจกรรมผ่านหน่วยงานของรัฐเพื่อบริการแก่ชุมชน

45 (ต่อ) มีการสร้างสถาบันทางนามธรรม(means) ของการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย
7. สามารถจัดระดับรัฐต่างๆที่มีการปกครอง โดยพิจารณาจากโครงสร้างภายในของรัฐทุกๆด้าน

46 แบบแผนทางการเมือง การรวมตัวของกลุ่มชนในภูมิภาคต่างๆ รัฐ/ประเทศ รัฐบาล กระบวนการบริการประชาชน - ทรัพยากรฯ/ การคลัง / ระบบราชการ / อำนาจอธิปไตย/ การดำรงอยู่ใน-สังคมโลก

47 Howard H. Lentner 1984 รัฐมีองค์ประกอบทั้งรูปธรรมและนามธรรม - ดินแดน turitory - ประชากร population - ความต่อเนื่อง continuty - รัฐบาล government - ความมั่นคงของรัฐ security - ทรัพยากร resource - การคลัง finances

48 (ต่อ) ระบบราชการ bureaucracy อำนาจอธิปไตย sovereignty
การดำรงอยู่แห่งรัฐหรือสังคมโลก existence as part of asociety of state

49 รัฐอุดมคติ the ideal state
มนุษย์ปรารถนาจะก้าวไปให้ถึงจุดนั้น Aristotel 384 – 322 B.C. เห็นว่ารัฐที่สมบูรณ์ต้องประกอบด้วย ขนาดประชากรที่พอเหมาะ (พลเมืองต้องมีความรู้เกี่ยวกับการปกครอง การเมือง การเลือกตั้ง การออกเสียงเลือกตั้ง การรู้จักหน้าที่ของตนเอง รัฐมีหน้าที่ปกครองและให้ความยุติธรรม) มีอาณาเขตหรือดินแดน (ทั้งทางบก ทางทะเล ทางอากาศ) ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ (มีอำนาจและคำนึงถึงผลประโยชน์ของชาติ เชื่อว่าภูมิอากาศมีผลเหนือกิจกรรมของมนุษย์)

50 (ต่อ) ลักษณะเฉพาะของประชากร
- ในเขตหนาว มีสปิริตแต่ไม่ฉลาดไม่สามารถปกครองผู้อื่นได้ - ชาวเอเชีย ฉลาดแต่ขาดสปิริต จึงตกเป็นทาสและไร้อิสรภาพ - ชาวกรีกอยู่ตรงกลางดีที่สุด รัฐควรมีแผ่นดินติดทะเลด้วยให้มากที่สุด(ที่สูง เป็นคณาธิปไตย/ละราชาธิปไตย ที่ราบเหมาะในการปกครองแบบประชาธิปไตย) ควรมีการคมนาคมที่ดี หน่วยการเมืองที่สูงกว่าประเทศ เช่น สหประชาชาติ กลุ่มอาเซียน กลุ่มนาโต้ กลุ่มประเทศผู้ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด*


ดาวน์โหลด ppt เอกสารประกอบการสอนภูมิศาสตร์การเมือง(GEO3202) Political Geography

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google