งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ชี้แจงตัวชี้วัดการตรวจราชการกรณีปกติ กลุ่มงานประกันสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ชี้แจงตัวชี้วัดการตรวจราชการกรณีปกติ กลุ่มงานประกันสุขภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ชี้แจงตัวชี้วัดการตรวจราชการกรณีปกติ กลุ่มงานประกันสุขภาพ
ชี้แจงตัวชี้วัดการตรวจราชการกรณีปกติ กลุ่มงานประกันสุขภาพ

2 ภารกิจที่ 2 การตรวจติดตามผลการปฏิบัติราชการสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค
ประเด็นหลักที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพและระบบประกันสุขภาพ หัวข้อ 2.2 การพัฒนาระบบส่งต่อ (Referal system)

3 ผลลัพธ์ที่ต้องการ มีการพัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วยระดับเครือข่าย เขต/จังหวัด สอดคล้อง กับสถานการณ์ของพื้นที่ โดย มีการจัดการระบบส่งต่อให้เป็นเครือข่าย ที่มีประสิทธิภาพ และมีผลสำเร็จของการดำเนินงาน ดังนี้ 1. ปัญหาการปฏิเสธการส่งต่อผู้ป่วยในปี 2555 ลดลงกว่าปี โดยเฉพาะการส่งต่อผู้ป่วยข้ามเขต 2. มีเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญ อย่างน้อย 1 เครือข่าย มีบทบาทในการ แก้ปัญหาการรับส่งต่อผู้ป่วยที่เป็นปัญหาของจังหวัดได้จริง 3. ระบบข้อมูลการส่งต่อทั้งในส่วนของข้อมูลผู้ป่วยและข้อมูลการ ดำเนินงานของศูนย์ส่งต่อ สามารถใช้ประโยชน์ได้ในระดับ จังหวัด เขต และส่วนกลาง

4 ประเด็นการตรวจราชการ การตรวจราชการเชิงกระบวนการ ผลสำเร็จหรือตัวชี้วัด
หัวข้อ ประเด็นการตรวจราชการ การตรวจราชการเชิงกระบวนการ ผลสำเร็จหรือตัวชี้วัด การพัฒนาระบบ 1.การดำเนินงานของศูนย์ประสานงาน ศสต. จังหวัด/เขต สามารถปฏิบัติ ปัญหาการปฏิเสธการส่งต่อ  ส่งต่อ การส่งต่อผู้ป่วยระดับจังหวัด(ศสต.จังหวัด) ภารกิจรองรับผู้ป่วยส่งต่อที่ได้รับ ผู้ป่วยในปี 2555 ลดลงกว่า หรือระดับเขต (ศสต. เขต) ในกรณี การร้องขอจากรพ.ต้นทางได้ ปี 2554 โดยเฉพาะการส่งต่อ (ไม่ได้เป็นประตู จังหวัดที่ตั้งเขต  ทุกราย ผู้ป่วยข้ามเขต  หน้าด่านเท่านั้น) 2.การจัดตั้งเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญ ศสต. จังหวัด/เขต มีการประสาน เครือข่ายผู้เชี่ยวชาญอย่างน้อย   - มีทะเบียนเครือข่าย (รัฐและเอกชน) ภายใต้ศูนย์ส่งต่อฯ และ เครือข่ายผู้เชี่ยวชาญในสาขาที่มี 1 เครือข่าย มีบทบาทในการ  ศูนย์เชี่ยวชาญ เชื่อมกับศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง การส่งต่อผู้ป่วยจำนวนมาก และ แก้ไขปัญหาการรับส่งผู้ป่วย   - มีการ conference) ภายในเขต เป็นปัญหาของจังหวัด ที่เป็นปัญหาของจังหวัดได้จริง 3.ระบบข้อมูลรายงานที่สามารถสะท้อน จังหวัดมีการบริหารจัดการระบบ ระบบข้อมูลการส่งต่อทั้งใน ประสิทธิภาพระบบการส่งต่อ ข้อมูลการส่งต่อ เพื่อสามารถใช้ ส่วนของข้อมูลผู้ป่วย และ   - ระบบข้อมูล สบรส. ติดตามความก้าวหน้า และนำข้อมูล ข้อมูลการดำเนินงานของ ศสต.   จะออกแบบและ มาใช้ในการพัฒนาระบบส่งต่อ สามารถใช้ประโยชน์ได้ใน  ทำโปรแกรมสนับสนุน ภายในจังหวัดได้ ระดับจังหวัด เขต และ  ส่วนกลาง

5 วิสัยทัศน์องค์กร/ยุทธศาสตร์
2564 ชลบุรีเป็นผู้นำสร้างสุขภาพและบริการสุขภาพ ระดับชาติ ยุทธศาสตร์องค์กร ; ที่รองรับ 3.พัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อให้ทุกคนในจังหวัดชลบุรี มีหลักประกันสุขภาพ สามารถเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐานสากล

6 แผนงานโครงการ ; ที่รองรับ (รพศ.ชลบุรี)
แผนงานโครงการ ; ที่รองรับ (สสจ.ชลบุรี) -โครงการพัฒนาระบบรับ-ส่งต่อ จังหวัดชลบุรี แผนงานโครงการ ; ที่รองรับ (รพศ.ชลบุรี) -ประชุม/อบรมพัฒนาระบบส่งต่อจังหวัดชลบุรี ใน – นอก เครือข่าย 5 ครั้ง -ตรวจเยี่ยมเครือข่ายส่งต่อจังหวัดชลบุรี จำนวน 5 ครั้ง -ประชุม Case Conference จำนวน 2 ครั้ง -จัดทำแนวทางคู่มือการส่งต่อผู้ป่วย ระดับจังหวัด จำนวน เล่ม

7 ผลสำเร็จของตัวชี้วัด
1.ปัญหาการปฏิเสธการส่งต่อในปี 2555 ลดลง

8 จังหวัด มีคณะกรรมการและคณะทำงานประสานระบบส่งต่อ จังหวัดชลบุรี
คำสั่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี ที่ 25 / 2553 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการและคณะทำงานประสานระบบส่งต่อจังหวัดชลบุรี สั่ง ณ วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2553

9

10 การประชุม ปี 2554 มีการประชุม จำนวน 2 ครั้ง
ปี 2554 มีการประชุม จำนวน 2 ครั้ง - ครั้งที่ 1 ทบทวนแนวทางการส่งต่อกรณี อุบัติเหตุเจ็บป่วยฉุกเฉิน/ไม่ฉุกเฉิน/การฉีด วัคซีนพิษสุนัขบ้า และการเบิกจ่ายค่า รักษาพยาบาล วันที่ 22 มีนาคม 2554 -ครั้งที่ 2 ทบทวนกรณี โรงพยาบาลชุมชน ส่ง ต่อผู้ป่วยไปโรงพยาบาลชลบุรี วันที่ 27 กรกฎาคม 2554

11 ผลการดำเนินงานจังหวัดชลบุรี
สรุปผลการส่งต่อ ปี 2554 ลำดับ กิจกรรม จำนวนที่ส่งต่อและรับกลับ จำนวนที่ถูกปฏิเสธ ร้อยละของการถูกปฏิเสธ 1 การส่งต่อภายในจังหวัด 10,692 33 0.31 2 การส่งต่อภายในเขต  - - 3 การส่งต่อนอกเขต 4 การส่งต่อส่วนกลาง 68 

12 ปัญหาอุปสรรคและการแก้ไขปัญหา
ลำดับ ปัญหาและอุปสรรค การแก้ไขปัญหา 1 โรงพยาบาลชลบุรี ซึ่งเป็นโรงพยาบาลศูนย์ -ประสานโรงพยาบาลเอกชน ของจังหวัดชลบุรี เป็นศูนย์ส่งต่อและศูนย์ ในจังหวัด โดยจ่ายในอัตรา สำรองเตียงระดับเขตมีภาระงานมาก 25,000 บาท/RW 2 ระบบ Service ซึ่งรองรับระบบส่งต่อ -ใช้ระบบการจัดเครือข่ายเดิม ยังไม่สมบูรณ์ (Node) เพื่อส่งต่อในจังหวัด 3 - โรงพยาบาลคนไข้ประกันสังคม ใน -กำหนดแนวทางปฏิบัติ กรณีฉุกเฉิน กรุงเทพฯและจังหวัดใกล้เคียง ปฏิเสธไม่มา เร่งด่วน ให้รพศ.รับไว้ก่อน ถ้าไม่  รับผู้ป่วย เร่งด่วนให้ประสานรพ.เจ้าของสิทธิ์ถ้า ไม่มารับให้ รพช./รพศ.ไปส่ง  4  คำจำกัดความ “การปฏิเสธการส่งต่อ” ไม่ชัดเจน   -เสนอในที่ประชุมส่วนกลาง

13 กลยุทธ์ในการดำเนินงาน
-ทำงานในภาพคณะกรรมการ -ใช้ Service plan เป็นแนวทางการจัดระบบส่งต่อ ตามศักยภาพของหน่วยบริการ ในระบบ โซน -พี่เยี่ยมน้อง ให้คำปรึกษา แนะนำ -ใช้ทรัพยากรในจังหวัดเพิ่มศักยภาพในจังหวัด เช่น โรงพยาบาลเอกชน

14 การจัดบริการตามศักยภาพของหน่วยบริการและสถานบริการอื่น
ตามแนวทางของ Service plan จังหวัดชลบุรี ปี 2552 – 2555 ลำดับ ชื่อสถานพยาบาล การบริการ รับส่ง-ต่อ stroke fast tract ,stemi ,MI ศูนย์สำรองเตียง มะเร็ง CA Premy ไต ตาต้อกระจก Node ให้ยา SK 1 รพ.ชลบุรี แม่ข่าย รพ.บ้านบึง,รพ.พนัสนิคม,รพ.พานทอง ,รพ.บ่อทอง ,รพ.หนองใหญ่ / Breast (53-54) Lung (55)  /ทำบอลลูนได้ 2 รพ.บ้านบึง 3 รพ.หนองใหญ่ 4 รพ.วัดญาณฯ 5 รพ.บางละมุง Node 6 รพ.พานทอง 7 รพ.พนัสนิคม  / 8 รพ.อ่าวอุดม 9 รพ.เกาะสีชัง 10 รพ.สัตหีบ

15 การจัดบริการตามศักยภาพของหน่วยบริการและสถานบริการอื่น
ตามแนวทางของ Service plan จังหวัดชลบุรี ปี 2552 – 2555 ลำดับ ชื่อสถานพยาบาล การบริการ รับส่ง-ต่อ stroke fast tract ,stemi ,MI ศูนย์สำรองเตียง มะเร็ง CA Premy ไต ตาต้อกระจก Node ให้ยา SK 11 ศูนย์ฯ ม.บูรพา / มี ICU/CCU 12 โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา แม่ข่าย stroke fast tract รพ.สัตหีบ , รพ.บางละมุง ,รพ.วัดญาณฯ , อ่าวอุดม ,รพ.เกาะสีชัง) /  / 13 รพ.อาภากรเกียรติวงศ์ 14 รพ.สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ / มี ICU/CCU  15 ศูนย์มะเร็งชลบุรี Cervix (53-54) Overy (55) 16 รพ.พระปกเกล้า จันทบุรี Colon,Rectum(53-54) Liver (55)

16 การจัดบริการตามศักยภาพของหน่วยบริการและสถานบริการอื่น
ตามแนวทางของ Service plan จังหวัดชลบุรี ปี 2552 – 2555 ลำดับ ชื่อสถานพยาบาล การบริการ รับส่ง-ต่อ ภายในจังหวัดชลบุรี ศูนย์สำรองเตียง มะเร็ง CA Premy ไต ตาต้อกระจก Node ให้ยา SK 1 โรงพยาบาลเอกชล  / สิ้นสุดสัญญา กุมภาพันธ์ 2555 / 2 โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา 3 โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีราชา 4 จุฬารัตน์ 3, 9 ,บางปะกง / Premi

17 ผลสำเร็จของตัวชี้วัด
2. มีเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญ อย่างน้อย 1 เครือข่าย มีบทบาทในการแก้ปัญหาการ รับส่งต่อผู้ป่วยที่เป็นปัญหาของจังหวัดได้จริง

18 เครือข่ายเชี่ยวชาญ จังหวัดชลบุรี มีเครือข่ายเชี่ยวชาญ ดังนี้
-เชี่ยวชาญด้านโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด Stemi -เชี่ยวชาญด้านโรคหลอดเลือดสมอง Strok Fast Track -เชี่ยวชาญด้าน New Born - เชี่ยวชาญด้านโรคมะเร็ง

19 ผลการดำเนินงานเครือข่ายเชี่ยวชาญ
ลำดับ กิจกรรม ปี 2552 2553 2554 โรคหัวใจ 1 จำนวนผู้ป่วย OPD visit 22,590 23,522 23,807 จำนวนผู้ป่วย IPD 2,141 2,205 2,226 จำนวนผู้ป่วย Stemi 174 155 ได้รับยา SK 48 35 อัตราตายใน รพ. 16.67 7.1 2 โรคหลอดเลือดสมอง 4,253 4,351 6,823 1,369 1,315 1,429 ทำ Fast Tract ให้ Thrommbolytic Agent 18 31 25

20 ผลสำเร็จของตัวชี้วัด
ระบบข้อมูลการส่งต่อทั้งในส่วนของข้อมูลผู้ป่วย และข้อมูลการดำเนินงานของศูนย์ส่งต่อ สามารถใช้ ประโยชน์ได้ในระดับ จังหวัด เขต และส่วนกลาง ได้นำผลงานมาเข้าประชุมคณะทำงานและพิจารณาแนวทางการส่งต่อที่เหมาะสมต่อไป (ตามตัวที่วัดที่ 1)

21 จำนวนที่ส่งต่อและรับกลับ ร้อยละของการถูกปฏิเสธ
สรุปผลการส่งต่อ ปี 2555 ลำดับ กิจกรรม จำนวนที่ส่งต่อและรับกลับ จำนวนที่ถูกปฏิเสธ ร้อยละของการถูกปฏิเสธ  ส่งต่อ รับกลับ 1 การส่งต่อภายในจังหวัด 2 การส่งต่อภายในเขต 3 การส่งต่อนอกเขต 4 การส่งต่อวนกลาง รวม (การส่งต่อหรือรับกลับทั้งหมด - การถูกปฏิเสธการส่งต่อหรือรับกลับ(จำนวนราย) X 100 การส่งต่อหรือรับกลับทั้งหมด (จำนวนราย) รพ.ที่ปฏิเสธการรับส่งต่อ/จำนวนราย -รพ.ปฏิเสธในการรับกลับ/จำนวนราย

22 หัวข้อ 2.3 ประสิทธิภาพการบริการด้านการรักษา ส่งเสริมป้องกัน ฟื้นฟู
ประเด็นหลักที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพและระบบประกันสุขภาพ หัวข้อ 2.3 ประสิทธิภาพการบริการด้านการรักษา ส่งเสริมป้องกัน ฟื้นฟู

23 ประเด็นการตรวจราชการ การตรวจราชการเชิงกระบวนการ ผลสำเร็จหรือตัวชี้วัด
หัวข้อ ประเด็นการตรวจราชการ การตรวจราชการเชิงกระบวนการ ผลสำเร็จหรือตัวชี้วัด ประสิทธิภาพการ ประสิทธิภาพการบริการด้านการรักษา จังหวัดมีการกำกับติดตามและประเมิน จังหวัดสามารถวิเคราะห์ประสิทธิภาพ บริการด้านการรักษา  - CMI ดูภาพรวมค่าเฉลี่ย เปรียบเทียบ การบริการของ รพ. โดยเทียบเคียง ส่งเสริมป้องกัน และ   ค่ากลาง โดยแบ่งกลุ่ม) ของแต่ละสถานบริการโดยใช้ข้อมูล กับค่าเฉลี่ยในกลุ่มเดียวกัน และมีการ  ฟื้นฟู -อัตราส่วนการใช้บริการปฐมภูมิ/แม่ข่าย CMI (ครอบคลุมทุกสิทธิ) และพัฒนา ปรับปรุงแก้ไขจุดอ่อน  - Unit cost ปีนี้อาจไม่สำเร็จ การใช้ข้อมูล Unit Cost ให้เป็น   แต่ต้องเห็นกระบวนการ เครื่องมือในการเพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการบริการด้านการส่งเสริม สุขภาพและป้องกันโรค ความครอบคลุมการให้บริการพื้นฐานด้าน การบริการพื้นฐานด้านส่งเสริมป้องกัน   Basic service ต้องครบถ้วน ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามบัญชี และมีการปรับปรุงแก้ไขให้มี   สมบูรณ์ แม้จะไม่เป็นตัวชี้วัด รายการบริการขั้นพื้นฐาน ความครอบคลุมมากขึ้น (Basic PP service) การบริการด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ จังหวัดมีกระบวนการพัฒนาการให้บริการ จังหวัดมีรูปแบบการจัดบริการฟื้นฟู   ปัจจุบันยังขาดระบบฟื้นฟู ฟื้นฟูสมรรถภาพทั้งในเชิงรุกและเชิงรับ สมรรถภาพในโรงพยาบาลและชุมชน ในระดับโรงพยาบาลและชุมชน เป็นตัวอย่าง 1 อำเภอ

24 การวิเคราะห์ต้นทุนผลผลิต
หน่วยงานสาธารณสุขภายในจังหวัด ได้แก่ โรงพยาบาล และ รพสต. มีการดำเนินการจัดทำต้นทุนผลผลิต (Unit costing) ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข เพื่อ ตอบสนองให้ทันสถานการณ์การปรับทิศทางการเปลี่ยนแปลง ในระบบหลักประกันสุขภาพ และพัฒนาระบบมาตรฐานการ จัดการต้นทุนให้ครอบคลุมทุกหน่วยบริการ โดยจังหวัดมีการ กำกับติดตามและประเมินผลการวิเคราะห์ศักยภาพการ ให้บริการและการจัดทำต้นทุนผลผลิตของโรงพยาบาล และนำ ผลการวิเคราะห์ไปจัดทำแผนพัฒนาประสิทธิภาพการ ให้บริการสุขภาพภายในจังหวัด

25 กรอบนโยบายบริหารระบบต้นทุนบริการ ปี 2555
ให้ความสำคัญการจัดทำต้นทุนบริการครอบคลุมทุกรพ. อย่างต่อเนื่อง และเน้นตอบสนองให้ทันสถานการณ์การปรับทิศทางการเปลี่ยนแปลงในระบบหลักประกันสุขภาพ บูรณาการหน่วยดำเนินการด้านการศึกษาต้นทุนให้มีความเป็นเอกภาพและมีสัดส่วนดำเนินการ ที่สอดคล้อง ไม่ซ้ำซ้อนเป็นภาระในพื้นที่

26 1. การพัฒนาระบบสนับสนุน (BACK OFFICE) โรงพยาบาล
เน้นให้พัฒนาเป็นระบบมาตรฐานการจัดการต้นทุนครอบคลุมทุกหน่วยบริการ ประกอบด้วย 1. การพัฒนาระบบสนับสนุน (BACK OFFICE) โรงพยาบาล 2. การพัฒนาคุณภาพข้อมูลเพื่อนำเข้าสู่บัญชีต้นทุนต่อยอดจากเกณฑ์ คงค้าง 3. การพัฒนาการขับเคลื่อนศูนย์ต้นทุน โดยการกำกับทางนโยบาย การกำกับ โดยการตรวจราชการ 4. การพัฒนาโปรแกรมปฏิบัติการต้นทุนบริการสุขภาพแห่งชาติ ภายใต้การ มีส่วนร่วมกำหนดพัฒนาของคณะทำงานด้านวิชาการ นักเขียนโปรแกรม นักวิชาการเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข และที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน 5. การพัฒนาบุคลากร ทั้งปฏิบัติการ และบริหาร ภายใต้ระบบต้นทุนบริการ

27 ศูนย์ต้นทุนระดับโรงพยาบาล
เป็นศูนย์ศึกษาต้นทุนที่ดำเนินการภายใต้ ศูนย์บริหารจัดการการเงินการคลังระดับเครือข่าย ซึ่งตามแนวทางการตรวจราชการจำเป็นต้อง มีคณะกรรมการ เพื่อทำหน้าที่ดำเนินการในส่วน การเฝ้าระวังทางการเงินการคลัง การประเมิน สถานการณ์การเงินการคลังตามข้อมูลรายงาน การเงินและดัชนีชี้วัดต่างๆตามเกณฑ์การเงิน

28 ศูนย์ต้นทุนระดับโรงพยาบาล
โครงสร้างศูนย์ต้นทุน ประกอบด้วย 1. ผู้อำนวยการโรงพยาบาล หรือ แพทย์ที่มีความรู้หรือมี ประสบการณ์ด้านบริหารการเงินการคลังหรือศึกษาต้นทุน 2.เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้จัดการหลักของศูนย์ ต้นทุนของโรงพยาบาล 3.เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ด้านบัญชี การเงิน งานพัสดุ เวชสถิติ เภสัช พยาบาล เจ้าหน้าที่สารสนเทศ และผู้มี ประสบการณ์ ที่อาจแต่งตั้งเพิ่มได้ตามความเหมาะสม

29 บทบาทศูนย์ต้นทุนระดับจังหวัด
- มีฐานะเป็นผู้นิเทศ กำกับ ติดตาม การดำเนินการ ศูนย์ต้นทุนในโรงพยาบาล โดยในระยะแรกควร กำหนดการเตรียมความพร้อมดำเนินการในช่วงปีแรก โดยการประกาศนโยบายให้หน่วยบริการได้รับทราบ -จัดตั้งคณะกรรมการในระดับจังหวัด โดยเชื่อมโยง กับศูนย์ปฏิบัติการหรือคณะกรรมการบริหารการเงินการ คลังระดับจังหวัดที่มี อยู่เดิม -ให้คำปรึกษา ประสานการดำเนินการตามขั้นตอนที่ กระทรวงกำหนด

30 บทบาทศูนย์ต้นทุนระดับจังหวัด
- รายงานผลการดำเนินการ ให้คณะกรรมการระดับ จังหวัดและผู้บริหารได้ทราบผลความก้าวหน้า ปัญหาในการ ดำเนินการ - นำผลต้นทุนบริการมาเป็นเครื่องมือบริหารการจัดสรร และพัฒนาประสิทธิภาพหน่วยบริการ พร้อมทั้งพัฒนา ต่อเนื่องในส่วนของระบบบัญชีสู่ระบบบัญชีที่เก็บข้อมูลเพื่อ ทำบัญชีต้นทุนที่สมบูรณ์แบบมากขึ้นในปีต่อๆไป ตาม แนวทางที่ส่วนกลางกำหนด

31 ระดับความสำเร็จ 1 ระดับความสำเร็จ 2 ระดับความสำเร็จ 3 ระดับความสำเร็จ 4 ระดับความสำเร็จ 5 มีการประกาศนโยบายการบริหารจัดการต้นทุนบริการ และจัดตั้งศูนย์ต้นทุนระดับจังหวัดโดยมีรายชื่อกรรมการศูนย์ต้นทุนโดยอาจดำเนินการรวมกับกรรมการบริหารการเงินการคลังก็ได้ทั้งนี้ต้องกำหนดบทบาทภารกิจการขับเคลื่อนการจัดทำต้นทุนในหน่วยบริการที่ชัดเจนในคำสั่งแต่งตั้ง มีการประชุมกำหนดประเด็นดำเนินการตามนโยบายเพื่อขับเคลื่อนการจัดตั้งศูนย์ต้นทุนในหน่วยบริการทุกหน่วย โดยมีรายชื่อกรรมการศูนย์ต้นทุนในทุกสถานบริการซึ่งอาจตั้งรวมกรรมการบริหารการเงินการคลังซึ่งมีการกำหนดบทบาทหน้าที่จัดทำต้นทุนที่ชัดเจนในคำสั่งแต่งตั้ง มีแผนงานโครงการในการดำเนินการพัฒนาการจัดทำต้นทุนในหน่วยบริการกำหนดการดำเนินการอย่างชัดเจน รวมถึงการกำกับ ติดตามและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรและการจัดการโปรแกรมปฏิบัติการต้นทุนบริการสุขภาพแห่งชาติ การจัดเก็บข้อมูล การจัดการข้อมูลเพื่อจัดทำต้นทุน ให้เป็นไปตามนโยบายโดยเร่งรัด มีผลสำเร็จการจัดทำต้นทุนในโรงพยาบาล ตามแบบ Modified full cost อย่างน้อย 1 แห่งในจังหวัดโดยมีรายงานการนำเสนอระดับจังหวัด และมีการนำต้นทุนบริการOPD และ IPD ตามแบบ Quick Method ของทุกโรงพยาบาลเป็นเครื่องมือการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังโดยปรากฏผลเป็นรายงานในที่ประชุมระดับจังหวัด มีผลสำเร็จการจัดทำต้นทุนในหน่วยบริการตามแบบ Modified full cost ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของโรงพยาบาลในจังหวัดโดยมีรายงานการนำเสนอระดับจังหวัดมีการนำรายการต้นทุนทั้งแบบใหม่และแบบ Quick Method ของทุกโรงพยาบาลเป็นเครื่องมือการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังโดยปรากฏผลเป็นรายงานในที่ประชุมระดับจังหวัด

32 2564 ชลบุรีเป็นผู้นำสร้างสุขภาพและบริการสุขภาพระดับชาติ
วิสัยทัศน์องค์กร 2564 ชลบุรีเป็นผู้นำสร้างสุขภาพและบริการสุขภาพระดับชาติ ยุทธศาสตร์องค์กร ; ที่รองรับ 3.พัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อให้ทุกคนในจังหวัดชลบุรี มีหลักประกันสุขภาพ สามารถเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐานสากล 5.พัฒนาสมรรถนะองค์การและเครือข่ายการสาธารณสุขให้มีขีดความสามารถสูง แผนงานโครงการ ; ที่รองรับ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทำงานเฝ้าระวังสถานการณ์ด้านการเงินการคลัง , พัฒนาระบบบัญชี และศึกษาต้นทุนหน่วยบริการ ปี 2555

33 คำสั่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
มีคณะทำงานเฝ้าระวังสถานการณ์ด้านการเงินการคลัง ด้านพัฒนาระบบบัญชี และการศึกษาต้นทุนค่าใช้จ่าย ของหน่วยบริการสุขภาพระดับจังหวัด และระดับโรงพยาบาล คำสั่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี ที่ 57 / 2554 เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานเฝ้าระวังสถานการณ์ด้านการเงินการคลัง ด้านพัฒนาระบบบัญชี และการศึกษาต้นทุนค่าใช้จ่าย ของหน่วยบริการสุขภาพระดับจังหวัด และระดับโรงพยาบาล สั่ง ณ วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2554

34 ระดับความสำเร็จที่ ๑ - การประกาศนโยบายการบริหารจัดการต้นทุนบริการ - จัดตั้งศูนย์ต้นทุนระดับจังหวัดโดยมีรายชื่อกรรมการศูนย์ต้นทุนโดยอาจดำเนินการรวมกับกรรมการบริหารการเงินการคลังก็ได้ -กำหนดบทบาทภารกิจการขับเคลื่อนการจัดทำต้นทุนในหน่วยบริการที่ชัดเจนในคำสั่งแต่งตั้ง

35 ระดับความสำเร็จที่ ๒ -การประชุมกำหนดประเด็นดำเนินการตามนโยบายเพื่อขับเคลื่อนการจัดตั้งศูนย์ต้นทุนในหน่วยบริการทุกหน่วย -ทุกสถานบริการมีรายชื่อกรรมการศูนย์ต้นทุนในซึ่งอาจตั้งรวมกรรมการบริหารการเงินการคลัง -มีการกำหนดบทบาทหน้าที่จัดทำต้นทุนที่ชัดเจนในคำสั่งแต่งตั้ง

36 ระดับความสำเร็จที่ ๓ -มีแผนงานโครงการในการดำเนินการพัฒนาการจัดทำต้นทุนในหน่วยบริการกำหนดการดำเนินการอย่างชัดเจน รวมถึงการกำกับ ติดตามและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรและการจัดการโปรแกรมปฏิบัติการต้นทุนบริการสุขภาพแห่งชาติ การจัดเก็บข้อมูล การจัดการข้อมูลเพื่อจัดทำต้นทุน ให้เป็นไปตามนโยบายโดยเร่งรัด

37 ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2555
การประชุมคณะทำงานศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ด้านการเงินการคลัง ,พัฒนาระบบบัญชี,ศึกษาต้นทุนหน่วยบริการจังหวัดชลบุรี ปีงบประมาณ 2554 กิจกรรม เดือน ตค. 53 พย. 53 ธค. 53 มค. 54 กพ. 54 มีค. 54 เมย. 54 พค. 54 มิย. 54 กค. 54 สค. 54 กย. 54 การประชุมคณะทำงานศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ด้านการเงินการคลัง ,พัฒนาระบบบัญชี,ศึกษาต้นทุนหน่วยบริการ จังหวัดชลบุรี - 22 16  21 การประชุมคณะทำงานศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ด้านการเงินการคลัง ,พัฒนาระบบบัญชี,ศึกษาต้นทุนหน่วยบริการจังหวัดชลบุรี ปีงบประมาณ 2555 กิจกรรม เดือน ตค. 54 พย. 54 ธค. 54 มค. 55 กพ. 55 มีค. 55 เมย. 55 พค. 55 มิย. 55 กค. 55 สค. 55 กย. 55 การประชุมคณะทำงานศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ด้านการเงินการคลัง ,พัฒนาระบบบัญชี,ศึกษาต้นทุนหน่วยบริการ จังหวัดชลบุรี - 13 20 24 22 21

38 ปัญหาอุปสรรค และการแก้ไขปัญหา
- ข้อมูลนำเข้า ค่อนข้างมากและมาจากหลายส่วน ต้องใช้เวลาในการรวบรวมและ อาศัยความร่วมมือจากหน่วยงานย่อยหลายหน่วย บางตัวต้องใช้วิธีการกระจาย การแก้ไขปัญหา - จัดเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเวทีการประชุมแต่ละครั้ง และแบ่งโซนในการเป็นพี่เลี้ยงและถ่ายทอดความรู้ - แต่ละหน่วยบริการมีการจัดทำข้อมูลด้วยตัวเอง ซึ่งทางคณะกรรมการที่ประชุมได้ร่วมกันหาแนวทางในการจัดเก็บข้อมูล เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องและต่อเนื่อง

39 ระดับความสำเร็จที่ ๔ มีผลสำเร็จการจัดทำต้นทุนในโรงพยาบาล ตามแบบ Modified full cost อย่างน้อย 1 แห่งในจังหวัดโดยมีรายงานการนำเสนอระดับจังหวัด และมีการนำต้นทุนบริการOPD และ IPD ตามแบบ Quick Method ของทุกโรงพยาบาลเป็นเครื่องมือการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังโดยปรากฏผลเป็นรายงานในที่ประชุมระดับจังหวัด จังหวัดชลบุรี ยังไม่มีหน่วยบริการที่วิเคราะห์ต้นทุนเป็นผลสำเร็จ

40 กลยุทธ์ในการดำเนินงาน

41 ระบบการเงินการคลัง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
รวบรวมเอกสารรับจ่ายและ วิเคราะห์แยการายการ รายงานการตรวจทานทางบัญชี ควบคุมสอบภายใน ทุก 6 เดือน สมุดรายงาน/ทะเบียนต่างๆ Program Comp. ทางการเงิน 1. การรายงานทางการเงิน (จังหวัด/อำเภอ) -งบกระแสเงินสด -งบดุล -งบกำไรขาดทุน 2.รายงานวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเงิน (จังหวัด/อำเภอ) -ข้อเสนอแนะ 3.รายงานการติดตามระบบบัญชี เกณฑ์คงค้าง 4.รายงานการตรวจทานทางบัญชี สสจ.ชลบุรี รอง บริหาร นพ. สสจ. รายงานทางการเงิน รายเดือน - งบดุล - งบกระแสเงินสด - งบกำไร ขาดทุน รายวัน เงินคงเหลือประจำวัน หัวหน้าฝ่าย บริหาร กกง. รายงาน ประจำเดือน รายงาน ประจำวัน รายงานวิเคราะห์ทางการเงิน -สถานภาพหน่วยงาน -ผลการดำเนินงาน -สภาพคล่อง -โครงสร้างงบการเงิน -การเติบโต ถดถอย เสนอ ผอก.รพช/รพศ สสอ. รายงานวิเคราะห์การเงิน ทุกวันที่ 25 ของเดือน รายงานระบบบัญชี ทุกวันที่ 20 ของเดือน

42 เสนอ นพ.สสจ. คณะอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพระดับจังหวัด
คณะทำงานศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ด้านการเงินการคลัง ,พัฒนาระบบบัญชี,ศึกษาต้นทุนหน่วยบริการ จังหวัดชลบุรี ระดับจังหวัด 1 คณะ 1. ติดตาม กำกับ วิเคราะห์ และเฝ้าระวังสถานการณ์ ด้านการเงินการคลัง ,พัฒนาระบบบัญชี,ศึกษาต้น ทุนหน่วยบริการ 2. พัฒนาระบบและกลไกเฝ้าระวังสถานการณ์ด้าน การเงินการคลัง ระบบบัญชี, ศึกษาต้นทุนหน่วย บริการ 3. ประเมินผลการดำเนินงานและนำเสนอผู้บริหาร ในระดับจังหวัดและส่วนกลาง กรณีที่ไม่มีปัญหาทางการเงิน เสนอ นพ.สสจ. กรณีที่มีปัญหาทางการเงิน คณะทำงานพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ คณะอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพระดับจังหวัด ระดับอำเภอ 11 คณะ 1. ติดตาม กำกับ วิเคราะห์ และเฝ้าระวังสถานการณ์ ด้านการเงินการคลัง,พัฒนาระบบบัญชี,ศึกษาต้น ทุนหน่วยบริการ 2 พัฒนาศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ด้านการเงินการคลังฯ ในระดับอำเภอ 3. ประเมินผลการดำเนินงานและนำเสนอผู้บริหาร ในระดับอำเภอและจังหวัด

43 การเฝ้าระวังสถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
ระบบกำกับ การเฝ้าระวังสถานการณ์ด้านการเงินการคลัง CFO สสจ. ผอ.รพช. ผิดปกติ ปกติ ขั้นที่ 1 ชี้แจง ทำแผนฟื้นฟูเพื่อแก้ปัญหาวิกฤติ ขั้นที่ 2 ควบคุมงบลงทุน ขั้นที่ 3 ควบคุมงบดำเนินการ ขั้นที่ 4 การใช้งบประมาณทุกเรื่องต้องได้รับการ อนุมัติจากนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด รวบรวม

44 การวิเคราะห์สถานการณ์ทางด้านการเงินการคลัง เดือน ธันวาคม 2554
ลำดับ หน่วยงาน การวิเคราะห์สถานการณ์ทางด้านการเงินการคลัง เดือน ธันวาคม 2554 ระดับวิฤกต 1.Current ratio 2.Quick ratio 3.Cash ratio 4.ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการชำระเจ้าหนี้การค้า 5.ต้นทุนดำเนินการต่อหน่วย RW 6.ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บลูกหนี้ค่ารักษา Non UC 7.อัตรากำไรสุทธิ ≥ 1.5 ≥ 1 ≥ 0.8 ≤ 90 วัน ≥ 0.0 % 1 รพศ.ชลบุรี 1.92 1.79 1.72 20.79 10,185.97 123.06 0.14 ไม่มีภาวะวิกฤติ + Low poor Good 2 รพ.บ้านบึง 5.01 4.72 12.84 41 11,318.27 32 0.22 3 รพ.หนองใหญ่ 5.34 5.23 14.01 16 19,080.00 40 7 High 4 รพ.บางละมุง 4.92 4.75 4.17 88.71 8,700.00 43.45 0.45 5 รพ.วัดญาณฯ 3.32 3.24 7.08 65 15,801.00 38.48 8 6 รพ.พานทอง 3.89 3.75 3.69 29.52 8,025.10 87 13 รพ.พนัสนิคม 2.29 2.21 6.61 48.66 7,285.22 57.39 0.27 รพ.อ่าวอุดม 2.71 2.58 5.6 154.65 11,890.06 38.03 - 9 รพ.เกาะสีชัง 8.57 8.3 11.85 205.26 21,849.54 96.82 0.08 10 รพ.สัตหีบ 2.01 1.74 2.27 172.11 11,975.51 48.84 -0.05 11 รพ.บ่อทอง 1.52 1.47 2.97 7,620.57 42 25

45 จุดแข็งของจังหวัดชลบุรี
1.ผู้บริหารให้ความสำคัญ 2.เรามี นพ.สุกิจ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล อ่าวอุดม ซึ่งเป็นวิทยากรระดับกระทรวง เป็นที่ปรึกษาในการประชุมเพื่อวิเคราะห์ สถานการณ์การเงินการคลังและวิเคราะห์ ต้นทุนต่อหน่วยบริการ


ดาวน์โหลด ppt ชี้แจงตัวชี้วัดการตรวจราชการกรณีปกติ กลุ่มงานประกันสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google