งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดการเรียนการสอน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดการเรียนการสอน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดการเรียนการสอน
Home สาระการเรียนรู้ พระพุทธศาสนา สาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา M C U

2 สังคมแห่งการเรียนรู้ (Learning Society)
“การศึกษาตลอดชีวิต” หมายความว่า การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต" (พ.ร.บ. การศึกษาฯ มาตรา 4)

3 วิสัยทัศน์กระทรวงศึกษาธิการ
ให้คนไทยได้รับการพัฒนาและส่งเสริมให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี คนเก่ง รักการเรียนรู้ พึ่งตนเองได้ มีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืนเพื่อความมั่นคงของมนุษย์ และพร้อมก้าวทันโลก

4 เศรษฐกิจบนฐานความรู้ (Knowledge-based Economy) คือเศรษฐกิจที่ใช้ความรู้เป็นตัวขับเคลื่อนสำคัญ ในการพัฒนาอุตสาหกรรม

5 จตุสดมภ์ของการศึกษา (Four Pillars of Education)
การศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพ (Learning to know) การศึกษาเพื่อพัฒนาสมรรถภาพ (Learning to do) การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพ (Learning to live together) การศึกษาเพื่อพัฒนาสุขภาพ (Learning to be)

6 พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติไทย
“เมื่อคราวที่ข้าพเจ้ามีโอกาสไปเยือนสำนักวาติกัน เมื่อปี ค.ศ สมเด็จพระสันตะปาปา จอห์น ที่ 23 ตรัสถามถึงคนไทยว่า นับถือศาสนามากน้อยเพียงใด ข้าพเจ้าได้ทูลตอบว่า คนไทยเป็นศาสนิกชนที่ดีทั่วกัน ส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนา อันเป็นศาสนาประจำชาติ” พระราชดำรัส 10 พ.ค

7 รัฐธรรมนูญ มาตรา ๘ องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้ มาตรา ๙ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพุทธมามกะและทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก

8 “มาตรา ๒๗ ให้คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองที่ดีของชาติ การดำรงชีวิต และการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพื่อการศึกษาต่อ ให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่จัดทำสาระของหลักสูตรตามวัตถุประสงค์ในวรรคที่หนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ”

9 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ 27 มกราคม 2546
เรื่อง การกำหนดรายละเอียดสาระการเรียนรู้แกนกลาง ให้สถานศึกษานำรายละเอียดสาระการเรียนรู้แกนกลาง เป็นแนวในการเทียบเคียงตรวจสอบ หรือปรับใช้ เป็นสาระการเรียนรู้รายปี หรือรายภาค ของหลักสูตรสถานศึกษาในสัดส่วนประมาณร้อยละ และให้สถานศึกษากำหนดรายละเอียดสาระการเรียนรู้ประมาณร้อยละ 30 ในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ...”

10 “การจัดการเรียนรู้ในสาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ในส่วนที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนานั้น สถานศึกษาควรจัดให้ผู้เรียนที่นับถือศาสนาพุทธได้เรียนรู้ ประมาณ ๒ ชั่วโมง หรือ ๒ คาบต่อสัปดาห์”

11 พระเทพโสภณ ประธาน มีอนุกรรมการ ๔ คณะ
คณะกรรมการจัดทำรายละเอียดสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนาในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พระเทพโสภณ ประธาน มีอนุกรรมการ ๔ คณะ คณะ ๑ จัดทำรายละเอียดสาระการเรียนรู้ คณะ ๒ ออกแบบกิจกรรม สื่อและกระบวนการเรียนรู้ คณะ ๓ จัดทำคู่มือสาระการเรียนรู้ คณะ ๔ จัดอบรมครูสอนพระพุทธศาสนา

12 มาตรฐาน ส ๑.๑ เข้าใจประวัติ ความสำคัญ หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ และสามารถนำหลักธรรมของศาสนามาเป็นหลักปฏิบัติในการอยู่ร่วมกัน

13 มาตรฐาน ส ๑.๒ :ยึดมั่นในศีลธรรม การกระทำความดี มีค่านิยมที่ดีงาม และศรัทธาในพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ

14 มาตรฐาน ส ๑.๓ : ประพฤติ ปฏิบัติตนตามหลักธรรม และศาสนพิธีของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ค่านิยมที่ดีงาม และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาตน บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม สิ่งแวดล้อม เพื่อการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข

15 มาตรฐานสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
ส ๑.๑ ผู้เรียนมีความรู้ทางพระพุทธ-ศาสนา (Knowledge) “อธิปัญญาสิกขา” ส ๑.๒ ผู้เรียนมีค่านิยมและศรัทธาในพระพุทธศาสนา (Attitude) “อธิจิตสิกขา” ส ๑.๓ ผู้เรียนประพฤติตามหลักธรรม และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน (Process) “อธิสีลสิกขา”

16 สาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ๗ หัวข้อ
สาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ๗ หัวข้อ หลักธรรม พุทธศาสนสุภาษิต พระไตรปิฎก -เรื่องน่ารู้ ศัพท์ทางพระพุทธศาสนา ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา พุทธประวัติ หน้าที่-มรรยาทชาวพุทธ การปฏิบัติตนต่อพระภิกษุ ชาวพุทธตัวอย่าง พุทธสาวก-สาวิกา ชาดก การบริหารจิต และเจริญปัญญา วันสำคัญ ศาสนพิธี สัมมนาพระพุทธศาสนา

17 ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
รัตนตรัย พระสงฆ์ พระธรรม

18 ความสำคัญของพระพุทธศาสนา วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
สาระการเรียนรู้ เรื่อง พระพุทธ พุทธประวัติ ชาดก พระพุทธ ความสำคัญของพระพุทธศาสนา วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา

19 รายละเอียดสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ระดับชั้นมัธยมศึกษา
หัวข้อพุทธประวัติ ชั้น ม.๑ ถึง ๓ สรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติ ประสูติ เทวทูต ๔ การแสวงหาความรู้ การบำเพ็ญทุกรกิริยา การผจญมาร การตรัสรู้ การสั่งสอน ปฐมเทศนา โอวาทปาฏิโมกข์ ศึกษาพุทธประวัติจากพระพุทธรูปปางต่าง ๆ ปางมารวิชัย ปางปฐมเทศนา

20 คำอธิบายสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปี ๒
ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติ สร้างความคิดรวบยอด นำภูมิปัญญาท้องถิ่น สภาพปัญหาชีวิต สภาพแวดล้อมเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนัก และเห็นคุณค่าในเรื่องต่อไปนี้ พุทธประวัติ สรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติเรื่องการผจญมาร การตรัสรู้ การสั่งสอน

21 พระ ประ ธาน ปาง มาร วิชัย
วัด มหา ธาตุ กรุง เทพ

22 ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ เรื่อง “พระธรรม”
พระไตรปิฎก เรื่องน่ารู้ จากพระไตรปิฎก พุทธศาสนสุภาษิต พระธรรม หลักธรรม ศัพท์ทาง พระพุทธศาสนา การบริหารจิต และเจริญปัญญา

23 กรอบความคิดหลักธรรมระดับประถมศึกษา
พระ พุทธ หลักธรรม พระ รัตนตรัย พระ ธรรม โอวาท ๓ พระ สงฆ์ ไม่ทำชั่ว ทำความดี ทำจิตให้บริสุทธิ์

24 กรอบความคิดหลักธรรมระดับมัธยมศึกษา
พระ พุทธ หลักธรรม อริยสัจ ๔ พระ รัตนตรัย พระ ธรรม ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้) พระ สงฆ์ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)

25 “อนุราธะ อดีตก็ดี ปัจจุบันก็ดี เราสอนเรื่องทุกข์ กับความดับทุกข์เท่านั้น”

26 สาระการเรียนรู้ เรื่อง “พระสงฆ์”
ประวัติ พุทธสาวก พุทธสาวิกา หน้าที่ชาวพุทธ พระสงฆ์ มรรยาทชาวพุทธ และการปฏิบัติตน ต่อพระภิกษุ สัมมนา พระพุทธศาสนา ชาวพุทธตัวอย่าง ศาสนพิธี

27 การสอน ๒ แบบ ธรรมาธิษฐาน บุคลาธิษฐาน สอนธรรมะล้วน ๆ
การสอน ๒ แบบ ธรรมาธิษฐาน สอนธรรมะล้วน ๆ บุคลาธิษฐาน สอนธรรมะด้วยตัวอย่าง เช่น ชาดก ๕๔๗ เรื่อง

28 การสอนพระพุทธศาสนาที่ดีต้องมี ๔ ส.
สันทัสสนา = แจ่มแจ้ง สมาทปนา = จูงใจ สมุตเตชนา = แกล้วกล้า สัมปหังสนา = ร่าเริง

29 บทบาทของครู สอนให้รู้ (ปัญญา) ทำให้ดู (สัจจะ) อยู่ให้เห็น (จาคะ)
สอนให้รู้ (ปัญญา) ทำให้ดู (สัจจะ) อยู่ให้เห็น (จาคะ) เย็นให้สัมผัส (สันติ)


ดาวน์โหลด ppt การจัดการเรียนการสอน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google