งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กำหนดการ 08.30 – 10.00 ทำไมต้องรณรงค์ให้วัคซีน dT , MR 10.00 – 10.30 เข้าใจโรค รู้จักวัคซีน dT , MR และ AEFI 10.30 – 12.00 แนวทางการรณรงค์การให้วัคซีน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กำหนดการ 08.30 – 10.00 ทำไมต้องรณรงค์ให้วัคซีน dT , MR 10.00 – 10.30 เข้าใจโรค รู้จักวัคซีน dT , MR และ AEFI 10.30 – 12.00 แนวทางการรณรงค์การให้วัคซีน."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กำหนดการ 08.30 – ทำไมต้องรณรงค์ให้วัคซีน dT , MR – เข้าใจโรค รู้จักวัคซีน dT , MR และ AEFI – แนวทางการรณรงค์การให้วัคซีน dT , MR – แนวทางการรายงานผลการรณรงค์การให้วัคซีน – การดำเนินงานในเขตอำเภอเมืองและเทศบาล)

2 สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบและหัด เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 จังหวัดเชียงใหม่

3 โครงการรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบและหัด เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ เมษายน 2558 มี.ค – เม.ย. 57 ต.ค. – ธ.ค. 57 ม.ค. – เม.ย 58 พ.ค. – ก.ย. 58 โครงการนำร่องรณรงค์ dT จ.มุกดาหาร (1.6 แสนโด๊ส) ขยายการรณรงค์ dT ภาคอีสาน 19 จังหวัด (~10 ล้านโด๊ส) ขยายการรณรงค์ dT ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ รวม 57จังหวัด (~ 18 ล้านโด๊ส) ให้วัคซีน MR ปี ทั่วประเทศ

4 เป้าหมายตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน dT ในประชากรอายุ ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ระดับตำบล (ช่วงเวลารณรงค์ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 30 เมษายน 58) ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MR ในประชากรเด็ก อายุ ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ระดับตำบล (ช่วงเวลารณรงค์ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม–30 กันยายน58)

5 การรณรงค์วัคซีน dT ในประชากรอายุ 20-50 ปี
ประชากรเป้าหมาย ประชากรที่มีอายุ 20 ถึง 50 ปี ผู้ที่เกิดระหว่างมกราคม 2508 ถึง ธันวาคม 2538 ทั้งบุคคลชาวไทยและชาวต่างชาติ  (ไม่รวมหญิงตั้งครรภ์) เพื่อเป็นการกระตุ้นภูมิคุ้มกันต่อโรคคอตีบในชุมชน ให้ครอบคลุมมากที่สุด ฉีดวัคซีน dT แก่กลุ่มเป้าหมายทุกคน คนละ 1 ครั้ง 

6 การรณรงค์วัคซีน dT ในประชากรอายุ 20-50 ปี
จำนวนกลุ่มเป้าหมายจากส่วนกลาง = 725,000 -องค์การเภสัชฯส่งวัคซีนให้พื้นที่ก่อน 35 % ) จำนวนกลุ่มเป้าหมายจังหวัดเชียงใหม่ (43แฟ้ม) คนไทยที่อยู่จริง = 625,033 (ตัวหาร) คนต่างชาติ = 60,000 Coverage > 85 % รายตำบล - แจ้งจำนวนกลุ่มเป้าหมายก่อนวันที่ 10 ม.ค.58 - ปรับจำนวนเป้าหมายในโปรแกรมรายงาน

7 เป้าหมายความครอบคลุม
ม.ค. 58 ก.พ. มี.ค. เม.ย พ.ค. เน้นให้บริการเชิงรุก กลุ่มสถาบันการศึกษา (ก่อนปิดเทอม) พื้นที่ที่มีกลุ่มเป้าหมายรวมกันเป็นจำนวนมากโรงงาน สถานที่ราชการ ชุมชน เก็บตก บันทึกข้อมูล รายงานผล > 20% > 50% > 80% > 90% กำหนดเป้าหมายความครอบคลุม

8 การดำเนินงาน ก่อนการรณรงค์ ช่วงที่มีการรณรงค์ หลังการรณรงค์
การสำรวจประชากรเป้าหมาย การจัดทำแผนปฏิบัติงานและ กลไกการติดตามการดำเนินงาน สถานที่ให้บริการวัคซีน การจัดเตรียมวัคซีน/อุปกรณ์ ต่างๆ และระบบลูกโซ่ความเย็น การระดมความร่วมมือ อาสาสมัคร การอบรมอาสาสมัคร การประชาสัมพันธ์ จัดเตรียมอุปกรณ์ให้เพียงพอ/ พร้อมใช้งาน กำหนดผังจุดบริการ กิจกรรม -การให้สุขศึกษาและประชาสัมพันธ์ -ชี้แจงประชาชนให้ทราบถึงประโยชน์ -อาการข้างเคียงจากวัคซีน/แนวทาง การดูแล แจกเอกสารแผ่นพับ การให้วัคซีน บันทึกการให้วัคซีนในแบบฟอร์ม การสังเกตอาการภายหลังได้รับวัคซีน After Action Review การรายงานผลการปฏิบัติงาน การติดตามให้วัคซีนแก่กลุ่ม เป้าหมายที่พลาดในวันรณรงค์ การเฝ้าระวังอาการภายหลังได้ รับวัคซีน แนวทางการตอบสนองและ ประสานงานกรณี AEFI ร้ายแรง After Action Review

9 3.4 สถานที่ให้บริการวัคซีนกรณีเป็นหน่วยบริการเคลื่อนที่
ควรเป็นที่มีอากาศถ่ายเทดี เป็นบริเวณที่ร่ม มีบริเวณ การคมนาคมสะดวก กว้างขวางเพียงพอที่จะรองรับผู้มารับบริการและอาสาสมัครที่มาให้บริการ ควรมีบริเวณสำหรับปฐมพยาบาลกรณีมีเหตุฉุกเฉิน และบริเวณสังเกตอาการภายหลังรับวัคซีน ต่อผู้มารับบริการและสะดวกต่อการส่งต่อผู้ป่วยในกรณีฉุกเฉิน มีอุปกรณ์ที่จำเป็นพร้อม ตามมาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การรณรงค์พร้อมกันในหลายพื้นที่ Emergency kits อาจมีไม่เพียงพอ สถานบริการที่รับผิดชอบควรจัดเตรียม อุปกรณ์กู้ชีพเบื้องต้น ได้แก่ Adrenaline ชุดอุปกรณ์สำหรับให้สารน้ำ (IV fluid set) และสารน้ำ (IV fluid for resuscitation, Normal saline หรือ Ringer’s lactated solution) ให้มีไว้ประจำทุกหน่วยบริการ และมีแนวทางการประสานที่ชัดเจนเพื่อนำชุด emergency kit มายังจุดเกิดเหตุภายใน 15 นาที รวมถึงการประสานรถพยาบาลเพื่อการส่งต่อให้ทันการณ์

10 3.5 การจัดเตรียมวัคซีน ระบบลูกโซ่ความเย็นและ วัสดุอุปกรณ์
การเบิกจ่ายวัคซีน กรณีรณรงค์ สถานบริการส่งจำนวนเป้าหมาย สสอ. สสจ. กรมควบคุมโรค องค์การเภสัช องค์การเภสัชกรรมจะต้องส่งวัคซีนให้แก่ หน่วยบริการภายในเวลาที่กำหนด อุปกรณ์ เช่น เข็มฉีดยา กระบอกฉีดยา พลาสเตอร์ กระติกสำหรับใส่วัคซีน สำลี แอลกอฮอล์ ยาแก้ปวดลดไข้ เป็นต้น การเบิกและการรับวัคซีน ให้ปฏิบัติตาม แนวปฏิบัติปกติ (ระบบลูกโซ่ความเย็นตาม มาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค) เภสัชกรขัตติยะ อุตม์อ่าง ประสานจังหวัดในภาคเหนือ โทร มือถือ อีเมล์

11 10 มกราคม 2558

12 3.6การระดมความร่วมมือของอาสาสมัครก่อนการรณรงค์
เจ้าหน้าที่สาธารณสุขผู้รับผิดชอบในแต่ละพื้นที่ ควรประสานงานกับหน่วยงานองค์กร และกลุ่มบุคคลในท้องถิ่น เพื่อขอความร่วมมือในการส่งอาสาสมัคร ร่วมสนับสนุนกิจกรรมวันรณรงค์ รวบรวมรายชื่อให้แน่ชัดเพื่อเตรียมการฝึกอบรม และเตรียมอุปกรณ์ ให้เพียงพอ แบ่งหน้าที่ให้ชัดเจน

13 3.7 การระดมความร่วมมือ การอบรมแนะนำอาสาสมัคร
บทบาทสำคัญของอาสาสมัครในช่วงที่มีการรณรงค์ คือ การให้คำแนะนำชักชวนประชาชน ให้มารับ บริการวัคซีนและเป็นทีมงานช่วย ในการให้บริการ วัคซีน 3.8 การประชาสัมพันธ์ ควรประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรู้เรื่องการรณรงค์และให้ ความร่วมมือในการรับบริการ โดยผ่านทางสื่อมวลชน สื่อ ชุมชน และสื่อบุคคลทุกช่องทาง * อาจพิจารณาให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่มีอายุ 20 ถึง 50 ปี รับวัคซีนก่อนเริ่มการรณรงค์ จะทำให้สามารถอธิบาย แก่ กลุ่มเป้าหมายได้ดี และเป็นปัจจัยสำคัญในการยอมรับวัคซีน ของกลุ่มเป้าหมาย

14 กรอบเนื้อหาที่ใช้ในการประชาสัมพันธ์
ความสำคัญของปัญหาคอตีบ ที่มีอยู่ในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการระบาดใหญ่ของโรคคอตีบในพื้นที่ภาคอีสานตอนล่าง ผู้ใหญ่สามารถติดเชื้อได้และมีความเสี่ยงเนื่องจากส่วนใหญ่ไม่เคยได้รับ ภูมิคุ้มกัน โรคคอตีบเป็นโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน การให้วัคซีนคอตีบ-บาดทะยักจะเป็นประโยชน์ต่อผู้รับวัคซีน (ป้องกันโรคคอตีบและบาดทะยัก)และการป้องกันโรคแก่ส่วนรวมในวงกว้าง จะมีการรณรงค์ในระหว่างวันที่ มกราคม ถึง เมษายน 2558 สามารถ ไปรับบริการได้ตามจุดบริการต่างๆ สำหรับผู้ที่เคยได้รับวัคซีนป้องกันบาดทะยักแล้ว จะต้องมารับวัคซีนในวัน รณรงค์ด้วยเช่นกัน เพื่อกระตุ้นภูมิคุ้มกันโรคคอตีบ

15

16

17 4. การปฏิบัติงานในวันรณรงค์
จัดเตรียมอุปกรณ์ให้เพียงพอและพร้อมใช้งาน กำหนดผังจุดบริการให้มีพื้นที่เพียงพอและสะดวกต่อการ ปฏิบัติงาน กิจกรรมประกอบด้วย การให้สุขศึกษาและประชาสัมพันธ์ แจกเอกสารแผ่นพับ ชี้แจงประชาชน ให้ทราบถึงประโยชน์ของการรณรงค์ อาการข้างเคียงและแนวทางการดูแลเบื้องต้น การให้วัคซีน บันทึกการให้วัคซีนในแบบฟอร์ม การสังเกตอาการภายหลังได้รับวัคซีนอย่างน้อย 30 นาที ให้ยาแก้ปวดลดไข้ สำหรับบรรเทาอาการปวดและลดไข้

18 การแนะนำล่วงหน้า การแนะนำล่วงหน้ามีลักษณะคล้ายกับการให้ความรู้หรือ การแนะนำโดยตรง แต่ข้อมูลที่ใช้สื่อสารเป็นข้อมูลที่คาด ว่าอาจเกิดขึ้นกับผู้รับบริการในอนาคต ตัวอย่างการแนะนำล่วงหน้า “หลังฉีดวัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก คุณอาจมีไข้ได้นะคะ ส่วนใหญ่ไข้จะขึ้นหลังได้รับวัคซีน 1 ถึง 2 ชั่วโมงและ เป็นอยู่ไม่เกิน 2 วัน ให้รับประทานยาลดไข้ บางคนอาจมี อาการปวดบวม แดงร้อน บริเวณที่ฉีดวัคซีน ซึ่งส่วนใหญ่ มักเกิดอาการภายใน 2 ถึง 6 ชั่วโมง ให้ประคบเย็นและ รับประทานยาบรรเทาอาการปวด”

19 การเตรียมวัคซีนและเทคนิคการฉีด
กระบอกฉีดยาขนาด 1 ซีซี หรือ 3 ซีซี ขนาดเข็มฉีดขนาด G ยาว 1-2 นิ้ว (ในผู้ใหญ่ควรใช้เข็มที่ยาวเพียงพอที่จะลงลึก ถึงชั้นกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะผู้รับวัคซีนที่มีภาวะ น้ำหนักเกินหรืออ้วน)

20 การฉีดวัคซีน ดึงผิวหนังให้ตึงเฉียงลง เป็น Z-track จะช่วยลดความเจ็บปวดขณะฉีดได้ เข็มตั้งตรง 90 องศา สังเกตอาการภายหลังได้รับวัคซีนอย่างน้อย 30 นาที

21 ร่วม Lot - ร่วมขวด*

22 การดูแลรักษาวัคซีนในขณะให้บริการ
ควรให้บริการในที่ร่ม เก็บวัคซีนในกระติกหรือกล่องโฟมที่มีอุณหภูมิอยู่ในช่วง +2 ถึง +8 องศาเซลเซียส วางขวดวัคซีนให้ตั้งตรง ห้ามวางขวดวัคซีนสัมผัสกับ icepack หรือน้ำแข็งโดยตรง ห้ามปักเข็มคาขวดวัคซีน ในระหว่างรอบริการ หลังเปิดใช้แล้วไม่ควรเก็บไว้นานเกิน 8 ชั่วโมง เปิดกระติกเท่าที่จำเป็นเท่านั้นและปิดฝาให้สนิท

23 5. การปฏิบัติงานหลังวันรณรงค์
การลงบันทึกและรายงานผลการปฏิบัติงาน การติดตามให้วัคซีนแก่กลุ่มเป้าหมายที่พลาดวัคซีนในวัน รณรงค์ ผู้รับผิดชอบเขตพื้นที่บริการควรตรวจสอบประชากร กลุ่มเป้าหมายที่มีรายชื่อตามทะเบียนสำรวจและยังไม่ได้รับ บริการ วางแผนติดตามและดำเนินการเก็บตกให้วัคซีน ภายใน 1 สัปดาห์หลังช่วงที่มีการรณรงค์แบบเข้มข้น หรือ ตามแผนปฏิบัติการของแต่ละพื้นที่

24 After Action Review ควรมีการทำ AAR ทุกครั้งหลังออกปฏิบัติงาน เพื่อทบทวนการปฏิบัติงานในแต่ละครั้ง รวบรวมปัญหาอุปสรรคและแนวทางการแก้ไขปัญหาสำหรับครั้งต่อไป (ผลการดำเนินงานในด้านต่างๆ coverage, cold chain management, การแก้ปัญหาต่างๆ ระหว่างดำเนินงาน, คุณภาพการให้บริการ, อาการข้างเคียงจากการรับวัคซีน) การวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน สาเหตุของการไม่ได้รับวัคซีน ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานและข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไข บันทึกสรุปประเด็นสำคัญเพื่อเป็นประโยชน์กับการรณรงค์หรือการทำงานอื่นๆ ต่อไป และนำมาแลกเปลี่ยนในระดับจังหวัด

25 แผนการปฏิบัติงาน กิจกรรม ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค.
1. ประชุมถ่ายทอดแนวทางการณรงค์ วางแผนการปฏิบัติงานในพื้นที่ ____ 1-10 2. สำรวจกลุ่มเป้าหมายการ 3. การประชาสัมพันธ์ 4. สสจ.ชม แจ้งจำนวนเป้าหมายและปริมาณการใช้วัคซีน 15 5. องค์การเภสัชฯจัดส่งวัคซีนให้คลังวัคซีนอำเภอ(รพ.) - รพ.จัดระบบการจัดสรรให้ รพ.สต

26 แผนการปฏิบัติงาน (ต่อ)
กิจกรรม ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. 6. รณรงค์ให้วัคซีน dT 7. บันทึกรายงานทุก 2 สัปดาห์ในโปรแกรมการรายงาน 8. เยี่ยมติดตามนิเทศ 9. สถานบริการติดตามกลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่ได้รับวัคซีนให้มารับวัคซีน dT 10.รวบรวมและสรุปผล

27 ให้วัคซีน dT แก่ประชากร
การจัดทำรายงาน ผลการรณรงค์ ให้วัคซีน dT แก่ประชากร กลุ่มอายุ ปี พอพิศ วรินทร์เสถียร กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค 27

28 ความครอบคลุมของงาน EPI
ความครอบคลุมของการให้บริการวัคซีน ความครอบคลุม ของการได้รับวัคซีนในพื้นที่รับผิดชอบ รายงานผล ยึดผู้ให้บริการเป็นหลัก ยึดเด็กในพื้นที่รับผิดชอบได้รับวัคซีนเป็นหลัก > 100% ได้ >100% ไม่ได้ = จำนวนเด็กผู้มารับบริการทั้งหมดทั้งในและนอกพื้นที่ จำนวนเด็กในพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด = จำนวนเด็กในพื้นที่รับผิดชอบที่ได้รับวัคซีน จำนวนเด็กในพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด

29

30 แบบ dTC2 แบบรายงานผลการรณรงค์ให้วัคซีน dT แก่ประชากรกลุ่มเป้าหมายอายุ ปี ในระดับสถานบริการ สถานบริการ รพสต. แสนสุข ตำบล แสนสุข อำเภอ สบายใจ จังหวัด A หมู่ที่ * จำนวน กลุ่มเป้าหมาย ที่มีอยู่จริงในพื้นที่ รับผิดชอบ จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับวัคซีน dT กลุ่มเป้าหมายในจังหวัด กลุ่ม เป้าหมาย นอกจังหวัด ชาว ต่างชาติ *** ผลการให้วัคซีน ** กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ กลุ่ม เป้าหมาย นอกพื้นที่ ได้รับในพื้นที่ ได้รับจากที่อื่น *ความครอบคลุม (%) (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8) 3 สำรวจไว้ 360 คน ย้ายออก 2 คน ย้ายเข้า 7 คน ไม่ทราบว่าอยู่ที่ใด 5 คน จำนวนกลุ่มเป้าหมาย ที่มีอยู่จริง = คน 230 70 82.19 15 7 8 260 4 รวม รพสต

31 กำหนดการรายงานความก้าวหน้า
สถานบริการ สสอ. สสจ. สำนักงานเขตบริการสุขภาพ ทุก 2 สัปดาห์ สถานบริการจัดทำรายงาน ผ่าน Web สสจ.ชม.

32 สิ่งสนับสนุน วัคซีน (แจ้งกลุ่มเป้าหมาย)
แผ่นป้ายประชาสัมพันธ์ (เบิกได้ที่วัคซีน) งบประมาณ (เล็กน้อย) สำหรับการประชุม หลักฐานเบิก 1.ใบลงทะเบียน 2.ใบสำคัญรับเงินค่าอาหารและสำเนาบัตร ปชช. 3.ส่งภายในวันที่ 10 ม.ค. 58 เข็ม กระบอกฉีดยา (เล็กน้อย /ก.พ.) แผ่นพับ (ไม่มี/เล็กน้อย)

33 พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
แนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2 เพื่อเร่งภูมิคุ้มกันต่อโรคหัด ในเด็กอายุ ปี พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ นายแพทย์ทรงคุณวุฒิด้านเวชกรรมป้องกัน ผู้อำนวยการศูนย์ประสานงานโครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ กรมควบคุมโรค

34 การรณรงค์ให้วัคซีนหัด ให้วัคซีน MR ประมาณ 3 ล้านคน
เดิม เดือน เข็มที่ 1 7 ปี (ป. 1) เข็มที่ 2 อายุ สิงหาคม 2557 เดือน เข็มที่ 1 7 ปี (ป. 1) อายุ 2 ½ ปี เข็มที่ 2 อนาคตยกเลิก พฤษภาคม – กันยายน 2558 ปี 58 ให้วัคซีน MR ประมาณ 3 ล้านคน

35 เด็กกลุ่มที่ต้องให้วัคซีน (ป.1) เหลือเก็บตก บางราย
ส.ค. 57 เด็กกลุ่มที่ต้องให้วัคซีน พ.ค. - ก.ย. 58 กำหนดเวลา ปฏิบัติงาน เด็กเกิด เด็กเกิด ก.พ. 55 เป็นต้นไป เด็ก 7 ปี กำหนดตาราง เดิม MR 2 อายุ 7 ปี (ป.1) ปี 2558 พ.ค. 58 เด็กเกิด พ.ค. 51 เด็ก ป.1 ปี 58 พ.ค. 59 เด็กเกิด ม.ค. 55 ก.ย. 58 เด็กอายุ 3 ปี 3 เดือน ถึง 6 ปี 11 เดือน ยกเลิก MMR 2 (ป.1) เหลือเก็บตก บางราย สิ้นสุด การให้ MR 2 เริ่ม MMR 2 อายุ 2.5 ปี เด็กเกิด มิ.ย. 51 เริ่ม การให้

36 เป้าหมายตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MR
ในประชากรเด็กอายุ ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ช่วงเวลารณรงค์ ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม–30 กันยายน58

37 การเตรียมการก่อนให้วัคซีน ประมาณเดือนมีนาคม 2558
การเตรียมการก่อนให้วัคซีน ประมาณเดือนมีนาคม 2558 ส่ง สสจ.ชม วันที่ 15 มีนาคม 58 สำรวจกลุ่มเป้าหมาย คาดประมาณจำนวนวัคซีน วางแผนปฏิบัติการ จำนวนเป้าหมาย จังหวัดเชียงใหม่ = 55,606 เนื่องจากช่วงรณรงค์ ตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค. –30 ก.ย.58 ฤดูฝน พื้นที่ห่างไกล ประชากรเข้าถึงยาก พิจารณาดำเนินการก่อนเวลาได้ โดย ส่งจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ต้องดำเนินการก่อน ภายใน 15 มกราคม 58

38 การเตรียมการก่อนให้วัคซีน ประมาณเดือนมีนาคม 2558
การเตรียมการก่อนให้วัคซีน ประมาณเดือนมีนาคม 2558 สำรวจกลุ่มเป้าหมาย คาดประมาณจำนวนวัคซีน วางแผนปฏิบัติการ แบบ MR 1 แบบสำรวจเด็กที่เกิดระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2551 ถึง วันที่ 31 มกราคม 2555 สถานบริการ หมู่ที่ ตำบล อำเภอ จังหวัด ลำดับที่ ชื่อ - นามสกุล ที่อยู่ สถานที่เลี้ยงเด็ก วันรับวัคซีน หมายเหตุ บ้าน ศูนย์เด็กเล็ก รร. อนุบาล เอกสารหมายเลข 1 ในแนวทางการให้ วัคซีน MR เข็มที่ 2

39 -เด็กนอกพื้นที่ + เด็กต่างชาติ
แบบสำรวจการเบิกวัคซีน MR เพื่อปิดช่องว่างระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคหัด สำหรับเด็กที่เกิดระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2551 ถึง 31 มกราคม 2555 จังหวัด คลังวัคซีนโรงพยาบาล จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมาย (คน) จำนวนวัคซีน ที่ขอเบิก (ขวด) รอบที่ 1 รอบที่ 2 ผู้ประสานการรับวัคซีน วดป.ที่ให้จัดส่ง จำนวนวัคซีน (ขวด) วดป ที่ให้จัดส่ง ชื่อ เบอร์โทรศัพท์ เด็กไทย ในพื้นที่รับผิดชอบ -เด็กนอกพื้นที่ + เด็กต่างชาติ เอกสารหมายเลข 2 ในแนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2

40 เป้าหมายความครอบคลุม
พ.ค. 58 มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย เน้นให้บริการเชิงรุก ศูนย์เด็กเล็ก โรงเรียนอนุบาล บ้าน เก็บตก บันทึกข้อมูล รายงานผล > 30% > 60% > 90% > 100% กำหนดเป้าหมายความครอบคลุม

41 การให้บริการวัคซีน ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน MMR ในอดีต
ประวัติการได้รับวัคซีนในอดีต การให้วัคซีนครั้งนี้ ไม่เคยได้รับวัคซีน/ไม่ทราบ 1 เข็ม แล้วให้อีก 1 ครั้งเมื่อเข้าเรียนชั้น ป.1 เคยได้ 1 เข็ม 1 เข็ม ห่างกันอย่างน้อย 1 เดือน เคยได้ 2 เข็ม (เข็มสุดท้ายอายุตั้งแต่ 18 เดือน) ไม่ต้องให้

42 การปฏิบัติงานหลังให้บริการ
การติดตามเด็กกลุ่มเป้าหมายที่ไม่มารับวัคซีน MR  การจัดทำรายงาน รายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MR ในพื้นที่รับผิดชอบ (เป้าหมายไม่ต่ำกว่า 95 %) รายงานการให้บริการวัคซีน MR

43 แบบรายงานผลการให้วัคซีน MR
ในเด็กกลุ่มเป้าหมายที่เกิดระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2551 ถึง วันที่ 31 มกราคม 2555 สถานบริการ ตำบล อำเภอ จังหวัด หมู่ที่ จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมาย ที่มีอยู่จริงในพื้นที่รับผิด ชอบ จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับวัคซีน MR เด็กกลุ่มเป้าหมายในจังหวัด เด็กกลุ่มเป้าหมาย นอกจังหวัด เด็กต่าง ชาติ ผลการให้วัคซีน เด็กกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ เด็กกลุ่มเป้าหมายนอกพื้นที่ ได้รับในพื้นที่ ได้รับจากที่อื่น ความครอบ คลุม (%) (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8) รวม เอกสารหมายเลข 4 ในแนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2

44 กำหนดการรายงานความก้าวหน้า
สถานบริการ อำเภอ สสอ. สสจ. สำนักงานเขตบริการสุขภาพ ทุก 2 สัปดาห์ สถานบริการจัดทำรายงาน ผ่าน Web สสจ.ชม.

45 ปี 2558 รหัสวัคซีนมาตรฐานที่บันทึก ผ่านฐานข้อมูล 43 แฟ้มของ สนย.
1. การให้วัคซีนรวมหัด-หัดเยอรมันในเด็กอายุ 2.5 ปี -7 ปี 2. รณรงค์ให้วัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก ในกลุ่มผู้ใหญ่อายุ ปี รหัสวัคซีนอยู่ใน แนวทาง MR หน้า 4 รหัสวัคซีน อยู่ใน แนวทาง dT หน้า 9 รหัสที่ใช้บันทึก (มาตรฐาน สนย.) ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ ชื่อวัคซีนภาษาไทย ประเภท อายุ รหัส ICD_10 _TM 073 MMR2 หัด คางทูม หัดเยอรมัน ฉีด 2 ปี 6 เดือน Z27.4 901 dTC ดีทีซี สำหรับการรณรงค์ Z23.5, Z23.6

46 แผนการรณรงค์ให้วัคซีนในงาน EPI
ต.ค. 57 พ.ย. ธ.ค. ม.ค. 58 ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. dT ปี OPV (ให้เสริมบางพื้นที่) MR FLU MR น.ร.ป.1 dT น.ร.ป.6 ตรวจสอบปริมาณความจุของตู้เย็น

47 Coming together is a beginning. Keeping together is progress
Coming together is a beginning. Keeping together is progress. Working together is success. "I can do things you cannot, you can do things I cannot; together we can do great things.”

48 การดำเนินงาน เขตอำเภอเมือง และเขตเทศบาล


ดาวน์โหลด ppt กำหนดการ 08.30 – 10.00 ทำไมต้องรณรงค์ให้วัคซีน dT , MR 10.00 – 10.30 เข้าใจโรค รู้จักวัคซีน dT , MR และ AEFI 10.30 – 12.00 แนวทางการรณรงค์การให้วัคซีน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google