งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Risk Management Asst.Prof. Dr.Ravi.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Risk Management Asst.Prof. Dr.Ravi."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Risk Management Asst.Prof. Dr.Ravi

2 การประยุกต์ใช้มูลค่าความเสี่ยง
ดังที่ได้กล่าวมาแล้วจะเห็นว่า VaR(α ) คือ ขนาดของผลขาดทุนหรือขนาดความเสี่ยงที่ผู้ลงทุนต้องเสี่ยง (at Risk) ที่อาจเกิดขึ้นนั่นเอง แนวทางการประยุกต์ใช้ VaR ก.เพื่อใช้เป็นแนวทางตัดสินใจว่าควรลงทุนหรือไม่ ข. VaR ช่วยให้การลงทุนได้อย่างมั่นคงมากขึ้น ค.มูลค่าความเสี่ยงใช้ปรับผลการลงทุนให้มีความเสี่ยงเท่ากัน ทำให้สามารถเปรียบเทียบโครงการลงทุนที่มีความเสี่ยงต่างกันได้

3 แนวทางการประยุกต์ใช้ VaR
ก.เพื่อใช้เป็นแนวทางตัดสินใจว่าควรลงทุนหรือไม่ กำหนด R* = ขนาดผลการขาดทุนที่ทำให้เกิดหายนะด้วยความน่าจะเป็น = α จะปฏิเสธการลงทุนเมื่อ VaR(α)<R* เนื่องจากขนาดของการขาดทุนสูงสุด(วัดโดยค่าVaR)เกินกว่าระดับความหายนะที่ตั้งไว้ VaR R*

4 การประยุกต์ใช้มูลค่าความเสี่ยง
EX กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ มีเงินต้องบริหาร 1,000 ล้านบาท พิจารณาการลงทุนในกลุ่มหลักทรัพย์ ที่มีอัตราผลตอบแทน กำหนดระดับความเชื่อมั่นที่ % ไม่อยากขาดทุน = R* = 0.00 VaR(α =.005) = 1,000x x100x.03 = 2.6 ล้านบาท แสดงว่า VaR(α ) >R* , >0.0 สรุป การลงทุนนี้ผ่านเกณฑ์

5 การประยุกต์ใช้มูลค่าความเสี่ยง
ข. VaR ช่วยให้การลงทุนได้อย่างมั่นคงมากขึ้น คำถาม ถ้า VaR < R* แล้วยังอยากจะลงทุนจะต้องเปลี่ยนแปลง ขนาดของการลงทุนอย่างไร จากตัวอย่างที่ผ่านมา บริษัทมีสินทรัพย์ A = 100 B. D=50 B. E=50 B. โดยที่

6 =100 – 36.60 = 64.0 จะเห็นว่าขนาดการขาดทุนสูงสุดคือ -63.40
มองในรูป R มองในรูป W =100 – = จะเห็นว่าขนาดการขาดทุนสูงสุดคือ Wo(1+r) VaR(WT)= RT=50 115

7 การประยุกต์ใช้มูลค่าความเสี่ยง
ทางแก้ไข โดยการปรับสัดส่วนของทุน เป็น ส่วนหนี้ เหลือ 36.60 A D=36.60 E=63.40 A=100 A=100 ดังนั้นขนาดของทุนเท่ากับ VaR α จึงเรียกว่า Economic Capital (ขนาดของทุนทางเศรษฐศาสตร์) นั่นคือ ปรับให้ขนาดของทุนต่ำสุดเท่ากับผลขาดทุนสูงสุด(R=VaR(α )) ที่อาจเกิดขึ้นได้

8 การประยุกต์ใช้มูลค่าความเสี่ยง
Regulatory Capital คือขนาดของทุนที่กำหนดให้จึงเป็นค่าที่คำนวณ VaR(α ) ออกมาได้และธนาคารกลางจึงบังคับให้ธนาคารพาณิชย์ ต้องดำรงเงินกองทุนไว้

9 การประยุกต์ใช้มูลค่าความเสี่ยง
การจัดอันดับความน่าเชื่อถือกับ α Credit Rating สัมพันธ์กับ Pb ของการมีหนี้สิน Ong(1999,p169) พบว่า อันดับความน่าเชื่อถือสัมพันธ์กับขนาดของทุนที่ต้องมากเพียงพอที่จะรองรับการขาดทุนขนาด VaR(α ) ได้ อันดับความน่าเชื่อถือ สอดคล้องกับ α ดังนี้

10 การประยุกต์ใช้มูลค่าความเสี่ยง
ความหมายของระดับเงินกองทุนที่ดำรง อันดับเครดิต α (Pb {Ruin}) AAA 0.0001 AA 0.0003 A 0.0010 BBB 0.0030

11 การประยุกต์ใช้มูลค่าความเสี่ยง
โครงการลงทุน ใช้เงิน 3,000 ล้านบาท ผู้บริหารต้องการให้มี Credit Rating = A ควรกำหนดโครงสร้างของทุน เป็นเท่าไร A= α=.0001 VaR(α=.0001) = 3,000x.12 – 3.09x3,000x.10 = ล้านบาท

12 การประยุกต์ใช้มูลค่าความเสี่ยง
จึงกำหนดขนาดของทุน = 567 ล้านบาท ขนาดของหนี้ = 2,433 ล้านบาท หรือ D/E = 2,433/567 = 4.29

13 การประยุกต์ใช้มูลค่าความเสี่ยง
ค.มูลค่าความเสี่ยงใช้ปรับผลการลงทุนให้มีความเสี่ยงเท่ากัน ทำให้สามารถเปรียบเทียบโครงการลงทุนที่มีความเสี่ยงต่างกันได้ สมมติให้โครงการลงทุนสองโครงการต้องใช้เงินลงทุน 100 บาท โครงการแรกให้ผลตอบแทน 10 บาท โครงการที่สองให้ผลตอบแทน 6 บาท โครงการไหนดีกว่ากัน?

14 การเปรียบเทียบการลงทุน
สมมติโครงการแรกมีอัตราผลตอบแทนที่คาดร้อยละ 9 โครงการสองมีอัตราผลตอบแทนที่คาดร้อยละ 6 โครงการไหนดีกว่า?

15 ความเสี่ยง สมมติโครงการแรกมีผลตอบแทน 0.352 โครงการสองมีผลตอบแทน 0.102
โครงการไหนดีกว่า? สมมติต่อว่าผู้ลงทุนต้องการปรับให้การลงทุนมีขนาดความเสี่ยงเท่ากับ BBB จะต้องการเงินทุนเท่าไร สิ่งที่ต้องการทราบจึงกลายเป็น VaR(α=0.0030) =?

16 VaR(α-0.0030) โครงการ A คำนวณ Var (α=0.0030) ได้เท่ากับ 87.25
โครงการ B คำนวณ Var (α=0.0030) ได้เท่ากับ

17 RAROC อัตราผลตอบแทนการลงทุนโครงการ A = 10/87.25 = 11.46
อัตราผลตอบแทนการลงทุนโครงการ B = 6/21.50 = 27.91 โครงการไหนดีกว่า? อัตราผลตอบแทนที่ปรับความเสี่ยงออกไปแล้ว (Risk-adjusted Return on Capital: RAROC)

18 RAROC Dowd (1998) warnings;
การลงทุนที่ไม่มีความเสี่ยงเลย VaR ต่ำมากและ RAROC สูงมาก


ดาวน์โหลด ppt Risk Management Asst.Prof. Dr.Ravi.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google