งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

“ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา การติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "“ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา การติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 “ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา การติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์”

2 กรอบแนวคิดการทำงาน รักษาไว ป้องกันได้ เอดส์รู้เร็ว Condom ARV
การตรวจหาการติดเชื้อเพื่อรู้สถานะแต่เนิ่นๆ การตรวจซ้ำเป็นประจำสำหรับผู้ที่มีพฤติกรรมเสี่ยง รักษาไว เริ่มการดูแลรักษาแต่เนิ่นๆเพื่อลดโอกาสการถ่ายทอดเชื้อแก่ผู้อื่นและชุมชน กินยาต้านไวรัสอย่างต่อเนื่องเพื่อกดปริมาณไวรัสในร่างกาย ป้องกันได้ ป้องกันผู้ที่ยังไม่ติดเชื้อ ไม่ให้ติดเชื้อ ป้องกันผู้ที่ติดเชื้อแล้ว ลดโอกาสถ่ายทอดเชื้อสู่ผู้อื่น Condom ARV เชื่อมโยงผู้ทราบสถานะการติดเชื้อ สู่ระบบการป้องกันและดูแลรักษาที่เหมาะสม

3 การพัฒนาและสร้างความเข้มแข็งระบบบริการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรค STI
ลดอัตราการป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การพัฒนาและสร้างความเข้มแข็งระบบบริการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรค STI การส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น เพิ่มจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสฯ การส่งเสริมการให้คำปรึกษาและตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีโดยสมัครใจ การส่งเสริมการเข้าสู่การรักษาด้วยยาต้านไวรัสที่เร็ว การเชื่อมโยงการป้องกันโรคสู่การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ การสื่อสารสาธารณะเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

4 หน่วยสนับสนุน วิชาการ
หน่วยบริหาร จัดการ หน่วยสนับสนุน วิชาการ

5 การรับรองคุณภาพเฉพาะโรค :DSC
เชิงรุก เชิงรับ การป้องกัน การดูแล รักษา การรับรองคุณภาพเฉพาะโรค :DSC คุณภาพชีวิต คุณภาพการดูแลรักษา HA ระบบป้องกันควบคุมโรคในชุมชน ระบบคัดกรอง STI/PICT ระบบดูแลรักษา ระบบให้การปรึกษา คลินิก เฉพาะ ระบบห้องปฎิบัติการ ระบบเวชระเบียน HPH, PCA ระบบเฝ้าระวังโรค PCU รพ.สต. ระบบสารสนเทศ ขับเคลื่อนด้วยรูปแบบของการพัฒนาคุณภาพผ่าน สรพ. เน้นทั้งระบบ

6 ขับเคลื่อนด้วยรูปแบบของการพัฒนาคุณภาพ
Community Facility Base Prevention Care& treatment ระบบบริการ เน้นการดูแลในผู้ป่วย โดยการเชื่อมโยง/ส่งต่อ VCT Health Ed STI Csg. / ติดตามผู้สัมผัส Pre-ART ART TB/HIV ระบบบริการ การค้นหากลุ่มเสี่ยงในชุมชน เน้นการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางเพศ (Safe sex) สนับสนุนการเข้าถึงถุงยางอนามัย สนับสนุนการเข้าถึงการรับรู้สถานะการติดเชื้อ STI/HIV การมีส่วนร่วมของชุมชน/อปท. ระบบบริการคัดกรองโรค เน้นการคัดกรองในกลุ่มเสี่ยงทุกกลุ่ม STI/PICT Screening ส่งเสริมสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางเพศ ระบบข้อมูลสารสนเทศ การบันทึกข้อมูลทางเวชระเบียน (ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา) การรายงานข้อมูลเพื่อการพัฒนาคุณภาพงาน ระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (R 506) การพัฒนาบุคลากร องค์ความรู้ด้านการดูแลรักษา (แพทย์จบใหม่ พยาบาลที่เกี่ยวข้อง) การเรียนรู้ระบบสารสนเทศขององค์กร การทบทวนเวชระเบียน ขั้นตอนการปรับปรุงคุณภาพงาน เพื่อลดความซ้ำซ้อนของการทำงาน ขับเคลื่อนด้วยรูปแบบของการพัฒนาคุณภาพ

7 ทิศทางการทำงาน พัฒนาระบบการป้องกันและดูแลรักษาด้านเอชไอวี/โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เน้น การใช้ข้อมูลจากระบบปกติ มีรายงานผลลัพธ์ตัวชี้วัด NAP มาพัฒนาต่อเนื่อง เน้นเรื่อง การดูแลช่วง Pre-ART และ TB/HIV ในบางพื้นที่ (ตามแผนกรม) ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ พัฒนาศักยภาพบุคลากร ด้านด้านเอชไอวี/ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (ใช้งบสปสช.เขต) ระดับติดตามประเมินผล ด้านการบริหารงานเพื่อความสำเร็จของการดำเนินงาน ด้านการตรวจติดตาม และ ประเมินผลงานเพื่อการพัฒนาคุณภาพ ระดับปฎิบัติการ ด้านความรู้ด้านด้านเอชไอวี/ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ด้านการให้บริการที่เป็นมิตร การติดตามประเมินผลด้วยวิธีการสอนงานและเป็นพี่เลี้ยง (ร่วมมือกับโครงการ QI coaching โดยเขตสปสช.) ผลักดันงานพัฒนาคุณภาพฯ ผ่านคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (ในระดับเขตบริการสุขภาพ + District Health System (DHS))ดำเนินงานร่วมกับ สบรส.

8 ทิศทางการพัฒนากลไกความร่วมมือ งานคุณภาพด้านเอชไอวี/เอดส์
สนับสนุนในพื้นที่ด้านนโยบาย ระดมทรัพยากร บุคลากรและงบประมาณในพื้นที่เพื่อการป้องกันดูแลรักษา เก็บข้อมูลเพื่อวัดและพัฒนาคุณภาพในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง ใช้ระบบสารสนเทศ กำกับติดตามข้อมูลเพื่อการวัดและพัฒนาคุณภาพ ติดตามความก้าวหน้า ค้นหาปัญหาอุปสรรค วัดและพัฒนาคุณภาพ ใช้กลไกเครือข่ายพัฒนาคุณภาพเดิม ให้เกิดความต่อเนื่อง ระบบพี่เลี้ยงเขตและจังหวัด เครือข่ายการดูแลเด็กและวัยรุ่นที่มีเชื้อเอชไอวีสนับสนุนให้มีจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับจังหวัดและเขต สนับสนุนหน่วยงานในพื้นที่เพื่อผลักดันให้งานเอชไอวี/เอดส์เข้าสู่ระบบการรับรองคุณภาพเฉพาะโรค (Disease Specific Certification: DSC) สนับสนุนให้บุคลากรด้านเอชไอวี มีการทำงานเชื่อมโยงกันกับระบบทั้งภายในและภายนอก

9 การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันการติด เชื้อเอชไอวี โดยงานการป้องกันควบคุมดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปี

10 อัตราผู้ป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ต่อประชากรแสนคน พ.ศ.2536 – 2552
ที่มาของข้อมูล : สำนักระบาดวิทยา 10

11 Reported AIDS cases and Deaths from AIDS 1984-2010, Thailand
Source: Bureau of Epidemiology

12 โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (Sexually transmitted Infection)
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่ได้รับรายงานประกอบด้วยโรคซิฟิลิส (Syphilis) หนองใน (Gonorrhea) หนองในเทียม (Non-Gonococcal urethritis, NSU, NGU) แผลริมอ่อน (Chancroid, Soft chancre) ฝีมะม่วง (Lymphogranuloma venereum, LGV) เริมที่อวัยวะเพศ (Genital Herpes simplex virus infection) หูดอวัยวะเพศและทวารหนัก (Condyloma acuminata) และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อื่นๆ (Vaginal trichomoniasis, Pediculosis pubis, Genital molluscum contagiosum and others) แนวโน้มโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เริ่มเพิ่มสูงขึ้นจาก พ.ศ.2548 (ค.ศ.2005) และยังคงมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอดทุกปี จนกระทั่งในปี 2554 ได้รับรายงานการป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่คิดเป็นอัตราป่วยที่สูงที่สุดในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา (รูปที่ 1) ใน พ.ศ (ค.ศ.2011) สำนักระบาดวิทยาได้รับรายงานโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์จำนวน 28,853ราย คิดเป็นอัตราป่วย ต่อประชากรแสนคน

13 ทื่มา : รายงาน 506 สำนักระบาดวิทยา
Diagram www. GFAIDSBOE.com สถานการณ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากการรายงานโรค พบว่า โรคซิฟิลิส และโรคหนองในมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตั้งแต่ปี 2551 มาจนถึงปัจจุบัน อัตราการติดเชื้อโรคซิฟิลิส ในปี ต่อประชากรแสนคน เพิ่มขึ้นเป็น 3.6 ต่อประชากรแสนคนในปี และอัตราการติดเชื้อโรคหนองในเพิ่มขึ้นจาก 9.7 ต่อประชากรแสนคนในปี 2551 เป็น 12.5 ต่อประชากรแสนคนในปี 2554 (รูปที่ 1) Company Logo ทื่มา : รายงาน 506 สำนักระบาดวิทยา

14 ทื่มา : รายงาน 506 สำนักระบาดวิทยา
Diagram www. GFAIDSBOE.com กลุ่มอายุ กลุ่มอายุที่พบว่ามีการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์สูงคือ กลุ่มอายุ 15 – 24 ปี โดยพบการติดเชื้อหนองในในประชากรกลุ่มนี้อย่างชัดเจนมาตั้งแต่ปี 2550 และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นมาจนถึงปีปัจจุบันมีสัดส่วนของการเกิดโรคในกลุ่มอายุนี้ ร้อยละ 43 (รูปที่ 2) ส่วนโรคซิฟิลิสเมื่อจำแนกกลุ่มอายุพบว่ามีการกระจายในทุกกลุ่มอายุ เมื่อพิจารณากลุ่มอายุ 15 – 24 ปี พบว่ามีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเช่นกัน (รูปที่ 3) Company Logo ทื่มา : รายงาน 506 สำนักระบาดวิทยา

15 HIV prevalence among Direct SW, Indirect SW and Male STD
แนวโน้มช่วงหลัง stable

16 แนวโน้มความชุกของการติดเชื้อเอชไอวีและแนวโน้มของการติดเชื้อรายใหม่ในกลุ่มพนักงานในสถานบริการ ทีให้บริการทางเพศโดยแฝง แหล่งข้อมูล : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค และ ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐ ด้านสาธารณสุข

17 ความชุกการติดเชื้อ HIV ในกลุ่ม MSM
หมายเหตุ – ข้อมูลเฉพาะกลุ่ม MSM ที่ไม่ใช่ TG,& Male SW

18

19 ระบบบริการที่มีอยู่สำหรับกลุ่มที่มีความเสี่ยง
STI services: ระบบบัตรทอง ข้อจำกัดในการเข้าถึงบริการของกลุ่มเสี่ยง การรับบริการข้ามเขตไม่ได้ การบริการกระจุกตัวอยู่เฉพาะโรงพยาบาลจังหวัด จำนวนการเข้าถึงบริการที่ลดลง, ความถี่ของการตรวจที่ลดลง ใน SW ข้อจำกัดในเรื่องสถานบริการ ความสนใจของพื้นที่ต่องานบริการโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ขาดการให้บริการเชิงรุก งบประมาณ PP เพื่อการให้บริการด้าน STI ไม่ชัดเจน ทำให้ไม่สามารถเบิกจ่ายได้ ความพร้อมของระบบบริการ : ไม่ friendly, ไม่มีความรู้ความชำนาญในประชากรกลุ่มเสี่ยง ไม่มีรูปแบบบริการที่ชัดเจน VCT services การเข้าถึงบริการที่ต้องมีการเชื่อมโยงจากบริการเชิงรุก ผู้ให้บริการ ไม่รู้จักหรือต้องปรับทัศนคติการให้บริการกับกลุ่มที่มีความเสี่ยง การส่งต่อ หรือระบบส่งต่อกรณี positive 2/3 ของ FSW เป็นผู้ถือบัตรทอง แต่ ปัญหาคือ 60%ของผู้ถือบัตรทองไม่สามารถใช้สิทธ์ในพื้นที่ที่อาศัยปัจจุบันหรือทำงานอยู่ เนื่องจากไม่ได้ทำงานอยู่ในภูมิลำเนา (UNFPA:2550)

20 ปัญหาสำคัญของงานบริการ STI/PICT
ด้านระบบบริการ การเข้าถึงบริการที่ต้องมีการเชื่อมโยงจากบริการเชิงรุก การจัดระบบที่ไม่ชัดเจนในหลายพื้นที่ ผู้ให้บริการไม่รู้จักกลุ่มเป้าหมายหรือต้องปรับทัศนคติการให้บริการ การส่งต่อหรือระบบส่งต่อกรณี positive ยังมีความครอบคลุมต่ำในบางกลุ่มประชากร และ การเข้าถึงการดูแลรักษาที่ช้า ด้านงานคุณภาพบริการ การให้บริการยังไม่ได้ครบตามมาตรฐานของ STI management ขาดการคัดกรองโรคในผู้ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงซึ่งยังไม่มีอาการ ความครอบคลุมของบริการ PICT ยังต่ำ ด้านผู้รับบริการ กลุ่มเสี่ยงไม่อยากไปรับบริการใกล้บ้าน กลุ่มเสี่ยงยังไม่ตระหนักถึงการป้องกันโรค กลุ่มเสี่ยงยังเข้าไม่ถึงอุปกรณ์ป้องก้นโรค เนื่องจากกลัวพบคนรู้จัก

21 โดยสำนักโรคเอดส์ฯ กรมควบคุมโรค
แผนงานโครงการฯ โดยสำนักโรคเอดส์ฯ กรมควบคุมโรค การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกัน การติดเชื้อเอชไอวี โดยงานการป้องกันควบคุม ดูแลรักษาโรค โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

22 เป้าประสงค์ วัตถุประสงค์
เพื่อให้ประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีลดความเสี่ยงและทราบสถานะการติดเชื้อ รวมทั้งได้รับการส่งต่อเข้าสู่ระบบการดูแลรักษาเอชไอวี/เอดส์ในผู้ที่มีผลเลือดบวก วัตถุประสงค์ เพื่อให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพในการส่งเสริมสุขภาพเพื่อการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีโดยงานป้องกันควบคุม ดูแลโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เพื่อพัฒนาระบบบริการ ด้านโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่รวมทั้งบริการปรึกษาเพื่อการตรวจเลือดเอชไอวี (PICT) เพื่อคุณภาพงานบริการด้านโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

23 รูปแบบการดำเนินงานที่บูรณาการงาน Prevention and Care
การป้องกันโรค การปรึกษาเพื่อตรวจเลือด การดูแลรักษาโรค เป้าหมาย ลดจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ เป้าหมาย ในผู้ที่ผลเป็นลบ: ยังคงผลลบ ในผู้ที่ผลเป็นบวก: ได้เข้าสู่การดูแลรักษาอย่างรวดเร็ว เป้าหมาย ลดการกระจายโรค ลดการป่วย การตายจากการตืดเชื้อเอชไอวี แนวทางการดำเนินงาน ปรับเปลี่ยน/ลดพฤติกรรมเสี่ยง การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายโดยอาสาสมัคร การใช้ถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น การให้ความรู้เรื่องเอดส์/STI เพื่อสร้างความตระหนัก การให้การปรึกษาเบื้องต้นเพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยง การสื่อสารเพื่อปรับเปลียนพฤติกรรม ส่งเสริมการเข้าถึงบริการการปรึกษา/คัดกรองโรค การบริการให้การปรึกษาเพื่อตรวจเลือดเอชไอวี การตรวจคัดกรอง STI แนวทางการดำเนินงาน การเข้าถึงบริการในผู้ที่ยังไม่ทราบสถานะการติดเชื้อ การจัดบริการให้การปรึกษาที่เป็นมิตร การจัดบริการให้การปรึกษาและตรวจเลือดที่ทราบผลในวันเดียว การตรวจคัดกรองและการดูแลรักษา STI แนวทางการดำเนินงาน การส่งเสริมสุขภาพ การลดพฤติกรรมเสี่ยง (สารเสพติด ความเสี่ยงทางเพศ การใช้ถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น) การเปิดเผยผลเลือดและการตรวจเลือดคู่นอน ด้านจิตใจและสังคม การติดตามสถานะการติดเชื้อเอชไอวี การตรวจติดตามระดับ CD4 การคัดกรองโรคร่วม การป้องกันโรคติดเชื้อฉวยโอกาส การติดตามการกินยาต้านไวรัส การเชื่อมโยงระบบส่งต่ออย่างมีประสิทธิภาพ

24 ±HIV negative Prevention +Care
±VCT ±STI +Care กลไกการขับเคลื่อนการดำเนินงานโดย สสจ. ชุมชน การดูแลรักษา ลดจำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ ในผู้ที่ผลเป็นลบ: ยังคงผลลบ ลดการกระจายโรค/ป่วย/ตาย การส่งเสริมสุขภาพ/ป้องกันโรค หน่วยบริการสาธารณสุข HIV+ prevention BAT มี TAในแต่ละด้าน ได้แก่ HIV prevention : พญ.ชีวนันท์ VCT : นพ.สมยศ, คุณลิซ่า STI : พญ.อังคณา Care : นพ…………, คุณหม่อง : พญ.เบญจวรรณ, คุณมุ้ย (QI) การสร้างเครือข่ายระดับเขต

25 พื้นที่ดำเนินการ 37 จังหวัด
พื้นที่ดำเนินการ 37 จังหวัด เขต จังหวัด กรุงเทพฯ 1 อยุธยา นนทบุรี ปทุมธานี 7 อุบลราชธานี มุกดาหาร 2 ลพบุรี สระบุรี 8 กำแพงเพชร 3 สระแก้ว ชลบุรี สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา ระยอง ตราด 9 พิษณุโลก ตาก 4 ราชบุรี กาญจนบุรี นครปฐม เพชรบุรี สมุทรสาคร 10 พะเยา เชียงใหม่ เชียงราย 5 นครราชสีมา บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ 11 สุราษฎร์ธานี ภูเก็ต นครศรีธรรมราช ตรัง ระนอง 6 ขอนแก่น มหาสารคาม อุดรธานี 12 สงขลา Red letter =16 Provinces + BKK have Got การสนับสนุนการดำเนินงาน STI from central 7 regional PM in fiscal year 2555 * พื้นที่เร่งรัดตามยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาเอดส์ฯ + พื้นที่นำร่องเดิม

26 Getting to Zero New HIV Infections
Focus where most new infections occur... Geographic Focus: Population Groups: (Mode of Transmission) 6% 32% 41% 70% of new HIV infections happen in 31 provinces 10% 94% of new infections 11% 41%

27 แผนการดำเนินงาน การสนับสนุนงานบริการ
งบประมาณสนับสนุนงานคัดกรอง ดูแลรักษาโรคและตรวจเลือด HIV ปรับปรุงและเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบริการ การจัดให้มีบริการให้คำปรึกษาและบริการที่เป็นมิตรในงาน STI บริการคัดกรอง STI และ HIV การให้คำปรึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สร้างระบบการส่งต่อและเชื่อมโยงในหน่วยบริการ การพัฒนางานบริการโดยใช้รูปแบบ STIQUAL การเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรผู้ให้บริการ พัฒนาหลักสูตรอบรมสำหรับผู้ให้บริการ ความเข้าใจในมาตรฐานการคัดกรองและรักษาโรค STI อบรมทักษะการสื่อสารกับผู้มารับบริการ เจ้าของสถานบริการถึงความสำคัญของการคัดกรองโรค ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน

28 โครงสร้างการทำงานและบทบาทหน้าที่
จัดทำแผนงาน พัฒนารูปแบบการดำเนินงาน ติดตามการดำเนินงาน สนันสนุนด้านวิชาการ กรมควบคุมโรค สำนักโรคเอดส์ วัณโรค โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ : กลุ่มโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สร้างเครือข่ายการดำเนินงาน ติดตามการดำเนินงาน สนันสนุนด้านวิชาการ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคเขต สร้างกลไกขับเคลื่อน ติดตามการดำเนินงาน ประสานแผนงานกับงานอื่นๆ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด หน่วยบริการ จัดระบบบริการ ให้บริการที่มีคุณภาพ เชื่อมโยงงานที่เกี่ยวข้องในหน่วยบริการ โรงพยาบาล รพสต.

29 ผลที่คาดหวังจากการดำเนินงาน
บริการคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่ได้มาตรฐานสำหรับผู้ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ บริการตรวจรักษาผู้ป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ที่ได้มาตรฐาน การสนับสนุนการใช้ถุงยางอนามัยในทุกกลุ่มประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การให้สุขศึกษาและการปรึกษาเรื่องโรคและการป้องกันโรค STI/HIV การให้บริการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี เพื่อทราบสถานะและเข้าสู่ระบบบริการดูแลรักษาในผู้ทีมีผลเลือดบวก เสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบงานบริการด้านโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การพัฒนาคุณภาพงานบริการด้านการคัดกรอง ดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

30


ดาวน์โหลด ppt “ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา การติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google