งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หลักการและเหตุผล. - ปี หนอนกออ้อยระบาดขยาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หลักการและเหตุผล. - ปี หนอนกออ้อยระบาดขยาย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การใช้แตนเบียนควบคุมศัตรูพืชในไร่อ้อยและนาข้าว โดย ศูนย์วิจัยพืชไร่กาฬสินธุ์

2 หลักการและเหตุผล. - ปี 2542 - 2544 หนอนกออ้อยระบาดขยาย
หลักการและเหตุผล - ปี หนอนกออ้อยระบาดขยาย พื้นที่ประมาณ 540,000 ไร่ - ผลผลิตอ้อยลดลง เปอร์เซ็นต์ - การแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมไม่ควรทำลาย สภาพแวดล้อม - การใช้ศัตรูธรรมชาติ นำไปใช้แก้ปัญหา แมลงศัตรูอ้อยอย่างถูกต้องและเหมาะสม

3 วัตถุประสงค์. ผลิตไข่แตนเบียน Trichogramma

4 การผลิตแตนเบียนไข่ไตรโคแกรมมา มี 2 ขั้นตอน 1
การผลิตแตนเบียนไข่ไตรโคแกรมมา มี 2 ขั้นตอน การเลี้ยงขยายผีเสื้อข้าวสาร

5 1.1 คั่วรำเพื่อฆ่าแมลงต่าง ๆ

6 1.2 นำรำมาใส่กล่องพลาสติก

7 1.3 โรยไข่ผีเสื้อข้าวสาร 0.01 กรัม/รำ 1 กิโลกรัม

8 1.4 ปิดฝาครอบนำไปเก็บไว้บนชั้นเลี้ยงแมลง

9 1.5 ประมาณ 40 - 45 วัน ผีเสื้อข้าวสารจะโตเต็มวัย ในช่วงเช้า ใช้เครื่องดูดตัวเต็มวัยเก็บใส่ในกล่อง

10 สำลีชุบน้ำผึ้งเจือจาง
1.6 นำตัวผีเสื้อข้าวสารใส่ถุงตาข่ายไนล่อน มีสำลีชุบน้ำผึ้ง เจือจางไว้เป็นอาหารแล้ววางไว้บนชั้นมีถาดรองรับไข่ สำลีชุบน้ำผึ้งเจือจาง น้ำผึ้งเจือจาง

11 1.7 เมื่อครบ 24 ชั่วโมง นำไข่มาเคาะลงในถาด
1.7 เมื่อครบ 24 ชั่วโมง นำไข่มาเคาะลงในถาด ไข่ผีเสื้อข้าวสาร

12 1.8 ทำความสะอาดไข่โดยใช้ตะแกรงร่อน

13 1.9 นำไข่ที่ได้มาชั่งน้ำหนักเพื่อทราบปริมาณไข่ที่ผลิตได้

14 1.10 ไข่ 20 % แบ่งไว้ขยายผีเสื้อข้าวสาร - 80 % ขยายแตนเบียนไข่ไตรโคแกรมมา
ไข่ 80 % ไข่ 20 %

15 2. วิธีการเลี้ยงขยายแตนเบียนไข่ไตรโคแกรมมา

16 2. 1 วัดกระดาษสำหรับติดไข่ 2. 5 x 2. 5 ซม. คิดเป็นพื้นที่ 6

17 2.2 ทากาวในพื้นที่ 6.25 ตารางเซนติเมตร แล้วโรยไข่ผีเสื้อข้าวสาร

18 2.3 นำกระดาษที่โรยไข่ผีเสื้อข้าวสารแล้วไปผ่านแสง ยูวี ขนาด 30 วัตต์ นาน 15 นาที

19 2.4 นำแผ่นไข่ที่ผ่านแสงยูวีมาใส่ลงบนแผ่น พ่อ แม่พันธุ์ แตนเบียนแล้วให้กระดาษปิดกล่องไม้

20 2.5 นำไปวางไว้บนชั้นที่เตรียมไว้ เมื่อครบ 7 วัน จะเข้าสู่ระยะดักแด้

21 2. 6 ทำการคัดเลือกแผ่นดี - แผ่นเสีย - แผ่นดี เตรียมไว้แจกเกษตรกร
2.6 ทำการคัดเลือกแผ่นดี - แผ่นเสีย - แผ่นดี เตรียมไว้แจกเกษตรกร แผ่นเสียเก็บไว้เพื่อเป็นพ่อแม่พันธุ์ต่อไป

22 แตนเบียนไข่ไตรโคแกรมมา ทาจารบีเพื่อป้องกันมด
วิธีปล่อยแตนเบียนไข่ไตรโคแกรมมา - ปล่อยหลังเวลา น. - อยู่เหนือทิศทางลม - ปล่อย 6 จุด/1ไร่ - 20,000-30,000 ตัว/ไร่ แตนเบียนไข่ไตรโคแกรมมา ทาจารบีเพื่อป้องกันมด

23 สรุป ปี 2548 ศูนย์วิจัยพืชไร่กาฬสินธุ์ ได้ผลิตและจ่ายให้เกษตรกร 128,440,000 ตัว หรือพื้นที่ 6,422 ไร่

24 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt หลักการและเหตุผล. - ปี หนอนกออ้อยระบาดขยาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google