งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คำของบดำเนินงานโครงการ ประจำปีงบประมาณ 2559

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คำของบดำเนินงานโครงการ ประจำปีงบประมาณ 2559"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คำของบดำเนินงานโครงการ ประจำปีงบประมาณ 2559
ประเภทงบ โครงการ งปม.(กรอบ) Service Plan (พัฒนาระบบบริการ งาน Env.Occ./Leprosy) โครงการพัฒนาระบบบริการ สถาบันราชประชาสมาสัย (Better Service) 10ลบ. Excellent Center (Env.Occ.) โครงการสร้างและพัฒนางานบริการและวิชาการ ด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ภารกิจพื้นฐาน (Leprosy) โครงการเร่งรัดการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์กำจัดโรคเรื้อน 8ลบ. Specific Issue (โครงการ เฉลิมพระเกียรติ) โครงการรณรงค์ค้นหาโรคเรื้อน เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล (เฉลิมพระเกียรติ 70 ปีแห่งการครองราชย์) ไม่ได้กำหนด สถาบันราชประชาสมาสัย 25 ธ.ค. 57

2 โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
สรุปสถานการณ์ โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ปี 2557 มีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์และ ดำเนินงานด้านโรคจากการประกอบอาชีพ และสิ่งแวดล้อม ปี ยุทธศาสตร์ที่ 1. พัฒนาองค์ความรู้และศักยภาพบุคลากร ด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 2. พัฒนาศักยภาพให้เป็นศูนย์เชี่ยวชาญด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 3. พัฒนาระบบฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยโรคจากการประกอบอาชีพ ยุทธศาสตร์ที่ 4. เสริมสร้างความร่วมมือกับเครือข่ายในการเฝ้าระวัง ประเมินความเสี่ยงและตอบโต้ผลกระทบสุขภาพโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ 1.จัดทำหลักสูตรการยศาสตร์สำหรับบุคลากรทางการแพทย์ 2. อยู่ระหว่างการดำเนินงานวิจัยทางคลินิกด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมจำนวน 1 เรื่อง 1.มีการคัดกรองวินิจฉัย โรคจากการประกอบอาชีพ และสิ่งแวดล้อม 2. มีการเฝ้าระวังสุขภาพ ของพนักงานในสถาน ประกอบการ 3. เฝ้าระวังสุขภาพของ บุคลากรทางการแพทย์ (Health Care Workers) 1. วางแผนการจัดสรรเครื่องมือด้านการฟื้นฟูสภาพ 1.จัดทำฐานข้อมูลสารเคมี และวัตถุอันตรายของสถาน ประกอบการ รวมถึงสรุป สถานการณ์อุบัติภัย ใน จ. สมุทรปราการ (คืบหน้า ร้อยละ 85) GAP การเปลี่ยนแปลงทัศนคติของบุคลากร ยังไม่ครอบคลุม การสื่อสารและการประชาสัมพันธ์ ไม่เพียงพอ ไม่ทั่วถึง การดำเนินงานของสถาบันฯ ยังไม่สอดคล้องกับทิศทางของสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม และกรมควบคุมโรค

3 เป้าหมายการดำเนินงานโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
ปี 2559 ยุทธศาสตร์ โครงการ ผลผลิต ยุทธศาสตร์ที่ 1. พัฒนาองค์ความรู้และศักยภาพบุคลากร ด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม โครงการพัฒนาองค์ความรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยี หลักสูตรการยศาสตร์สำหรับบุคลากรทางการแพทย์ ฐานข้อมูลผู้ป่วยจากโรคประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมในจังหวัดสมุทรปราการ บุคลากรมีสมรรถนะด้านการนิเทศติดตามประเมินผล( ด้านคลินิกโรคจากการทำงาน / ด้านการตรวจประเมินความเสี่ยงบุคลากร) ยุทธศาสตร์ที่ 2. พัฒนาศักยภาพให้เป็นศูนย์เชี่ยวชาญด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม โครงการพัฒนาศูนย์เชี่ยวชาญโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม มาตรฐานบริการคัดกรองสุขภาพด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 3. พัฒนาระบบฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยโรคจากการประกอบอาชีพ โครงการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม เครือข่ายฟื้นฟูสภาพโรคจากการทำงาน ระบบการฟื้นฟูสภาพโรคจากการทำงาน ยุทธศาสตร์ที่ 4. เสริมสร้างความร่วมมือกับเครือข่ายในการเฝ้าระวัง ประเมินความเสี่ยงและตอบโต้ผลกระทบสุขภาพโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ โครงการความร่วมมือของเครือข่ายในการเฝ้าระวังประเมินความเสี่ยง และตอบโต้ผลกระทบสุขภาพโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT ) ฐานข้อมูลสารพิษในจังหวัดสมุทรปราการ เครือข่ายตอบโต้ผลกระทบต่อสุขภาพโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม

4 กิจกรรมสำคัญ / งบประมาณ
กิจกรรมสำคัญ / งบประมาณ โครงการ กิจกรรม รวมงบประมาณ โครงการพัฒนาองค์ความรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยี 1.1 การประเมินและติดตามผล การใช้หลักสูตรการยศาสตร์สำหรับบุคลากรทางการแพทย์ ( 600,000 ) 1.2 การพัฒนาฐานข้อมูลผู้ป่วยจากโรคประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมในจังหวัดสมุทรปราการ ( 250,000 ) 1.3 การสนับสนุนการนิเทศติดตามประเมินผลร่วมกับสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ( 650,000 ) 1,500,000 โครงการพัฒนาศูนย์เชี่ยวชาญโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 2.1 การควบคุมป้องกันโรคและภัยสุขภาพของบุคลากรในสถาบัน (Health Care Workers) ( 200,000 ) 2.2 การพัฒนาระบบการจัดบริการและมาตรฐานการให้บริการสุขภาพด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม (900,000 ) 2.3 การจัดตั้งศูนย์เชี่ยวชาญด้านโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม (Clinical Response Center of Environmental-Occupational Health Hazards) ( 650,000 ) 1,750,000 โครงการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 3.1 การพัฒนาเครือข่ายการฟื้นฟูสภาพโรคจากการทำงาน (400,000 ) 400,000 โครงการความร่วมมือของเครือข่ายในการเฝ้าระวังประเมินความเสี่ยง และตอบโต้ผลกระทบสุขภาพโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 4.1 การประเมินผลกระทบจากการสัมผัส สารเคมีของพนักงานในสถานประกอบการ (250,000 ) 4.2 การพัฒนาทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) (50,000) 4.3 การพัฒนาฐานข้อมูลสารพิษในจังหวัดสมุทรปราการ ( 250,000 ) 4.4 การสร้างเครือข่ายตอบโต้ผลกระทบต่อสุขภาพโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ( 300,000 ) 4.5 การสนับสนุนการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการคัดกรองและดูแลสุขภาพผู้ได้รับผลกระทบ ( 1,000,000 ) 1,850,000 รวม 5,500,000

5 สรุปสถานการณ์โรคเรื้อน
2556 2557* ขึ้นทะเบียน 560 579 ผู้ป่วยใหม่ 188 185 ผู้ป่วยพิการgrade2 18 30 ผู้ป่วยใหม่ชาวต่างชาติ 20 37 GAP การค้นพบผู้ป่วยล่าช้า ทำให้ผู้ป่วยใหม่มีความพิการระดับ 2 > ร้อยละ 10 ผู้ป่วยไม่ได้รับการตรวจป้องกันความพิการ ระบบเฝ้าระวังโรคเรื้อนในประชากรต่างด้าวยังไม่มีประสิทธิภาพ ฐานข้อมูลผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อนยังไม่สมบูรณ์ การฟื้นฟูสภาพผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อนยังไม่ครอบคลุม ผลการดำเนินงาน ควบคุม โรคเรื้อน ปี 2557 สร้างสถานบริการสาธารณสุขในการ ควบคุมโรคเรื้อนภายใต้สภาวะความชุกโรค ต่ำ (ประเมินความพร้อม+อบรม) 6 แห่ง, ติดตาม 4 แห่ง และประเมินผล 4 แห่ง สร้างเครือข่ายเพื่อจัดทำระบบเฝ้าระวังและ ควบคุมโรคเรื้อนในประชากรต่างด้าว ที่ อ.แม่สอด จ.ตาก ฟื้นฟูความรู้โรคเรื้อนสำหรับผู้รับผิดชอบ งานโรคเรื้อนของ สคร. และ สรปส. 48 คน สนับสนุนการสำรวจความพิการฯ ของผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อน 12 จังหวัด สนับสนุนให้เกิดจิตอาสาเพื่อการ ฟื้นฟูสภาพฯ 7 แห่ง และติดตาม การดำเนินงาน 5 แห่ง ประเมินนิคมโรคเรื้อนจำนวน 7 แห่ง และลงนาม MOU 4 นิคม

6 ค่าเป้าหมายงานด้านโรคเรื้อน (National Health Authority)
เป้าหมายลดโรค ค่าเป้าหมาย 2557 2558 2559 2560 2561 ลดอัตราความพิการระดับ 2 (Grade 2 disability rate) ในผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ ต่อประชากรหนึ่งแสนคน โดยเทียบกับปี 2553 ร้อยละ 45 ร้อยละ 50* ร้อยละ 55 ร้อยละ 60 ร้อยละ 65 ร้อยละของผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อน ที่ผ่านการสำรวจ ได้รับการฟื้นฟูสภาพตามความจำเป็น (need) ร้อยละ 65** ร้อยละ 70 ร้อยละ 75 ร้อยละ 80 ร้อยละ 85 * WHO ได้ตั้งเป้าหมายในการลดอัตราความพิการระดับ 2 (Grade 2 disability rate) ในผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ลดลงร้อยละ 35 ภายในปี พ.ศ เมื่อเทียบกับปี พ.ศ. 2553 ** เริ่มมีการกำหนดเป็นเป้าหมายตัวชี้วัดงานฟื้นฟูสภาพ เริ่มเมื่อปี2557 ข้อมูล 2553 2554 2555 2556 2557*** จำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ 405 280 220 188 185 จำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ ที่พิการระดับ 2 60 29 38 18 30 *** ข้อมูล ณ วันที่ 24 ธันวาคม 2557

7 ผลผลิต : 1. ระบบป้องกันควบคุมโรคเรื้อนมีประสิทธิภาพในการค้นหาผู้ป่วยรายใหม่.... 2. สถานบริการสาธารณสุขให้บริการโรคเรื้อนตามมาตรฐาน และมีระบบส่งต่อ… 3. ผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อนและครอบครัวพึ่งพาตนเองและอยู่ร่วมกับคนในสังคมได้ 4. มีองค์ความรู้ งานวิจัย มาตรการ นวัตกรรม ข้อมูลอ้างอิง และมาตรฐานวิชาการป้องกันควบคุมโรคเรื้อนและฟื้นฟูสภาพ 5. มีจำนวนบุคลากรผู้เชี่ยวชาญโรคเรื้อนเพียงพอ

8 กิจกรรมสำคัญ/งบประมาณ
โครงการ กิจกรรม งบ ประมาณ โครงการดำเนินงานค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ในอำเภอเป้าหมาย โครงการสร้างและพัฒนาสถานบริการสาธารณสุขในการควบคุมโรคเรื้อนในสภาวะความชุกโรคต่ำ 600,000 โครงการสนับสนุนการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ในพื้นที่เสี่ยงของ สคร. โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลโรคเรื้อน 200,000 โครงการพัฒนาการสอบสวนโรคเรื้อน 300,000 โครงการพัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรคเรื้อนในประชากรต่างด้าว 400,000 โครงการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานควบคุมโรคเรื้อนและการฟื้นฟูสภาพ โครงการพัฒนาพฤติกรรมการสำรวจร่างกายตนเองของกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อน 500,000 โครงการจัดงานวันราชประชาสมาสัย ปี 2559 โครงการสนับสนุนการสำรวจความพิการ และปัญหาทางด้านสังคม เศรษฐกิจ ของผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อน โครงการสนับสนุนการสำรวจสภาพความพิการ ปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคมและความต้องการจำเป็นในการฟื้นฟูสภาพในผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อน 100,000 โครงการประเมินทัศนคติของสังคมต่อผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อน(หลังสำรวจความพิการ) โครงการสำรวจความพิการ ปัญหาทางสังคม เศรษฐกิจ และความต้องการจำเป็น ในการฟื้นฟูสภาพให้ผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อน สำหรับ สคร. โครงการพัฒนาเครือข่ายในการฟื้นฟูสภาพผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อน โครงการติดตามผลการดำเนินงานฟื้นฟูสภาพผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อนรวมทั้งพื้นที่หลังบูรณาการนิคม 850,000

9 มาตรการดำเนินงานควบคุมโรคเรื้อน กิจกรรมหลักการดำเนินงานควบคุมโรคเรื้อน
มาตรการในการดำเนินงานค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ในอำเภอเป้าหมาย มาตรการสนับสนุนการสำรวจความพิการ และปัญหาทางด้านสังคม เศรษฐกิจ ของผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อน มาตรการพัฒนาเครือข่ายในการฟื้นฟูสภาพผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อน กิจกรรมหลักการดำเนินงานควบคุมโรคเรื้อน อยู่ในเอกสารExcel

10 สรุปรายละเอียดคำของบประมาณ ปี 2559 สรปส.
สรุปรายละเอียดคำของบประมาณ ปี สรปส. ประเภทงบ โครงการ งบประมาณ (บาท) Service Plan (พัฒนาระบบบริการ งาน Env.Occ./Leprosy) โครงการพัฒนาระบบบริการ สถาบันราชประชาสมาสัย (Better Service) 800,000 Excellent Center (Env.Occ.) โครงการสร้างและพัฒนางานบริการและวิชาการ ด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 5,500,000 ภารกิจพื้นฐาน (Leprosy) โครงการเร่งรัดการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์กำจัดโรคเรื้อน 4,950,000 (งบ สคร. = 1,450,000) Specific Issue (โครงการ เฉลิมพระเกียรติ) โครงการรณรงค์ค้นหาโรคเรื้อน เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล (เฉลิมพระเกียรติ 70 ปีแห่งการครองราชย์) 3,000,000 2,160,000)

11 การติดตามประเมินผล โรคเรื้อน
ติดตามการดำเนินงานเร่งรัดค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนในพื้นที่อำเภอที่มีข้อบ่งชี้ทาง ระบาดวิทยา ทุก 6 เดือน นิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานควบคุมโรคเรื้อนของ สคร. ทุกปี หรือทุก 2 ปี ขึ้นกับสถานการณ์โรคเรื้อน และปัญหาการดำเนินงานของแต่ละเขต นิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการพัฒนาสถานบริการเชี่ยวชาญโรคเรื้อนทุก 2 ปี ติดตามผลการสำรวจความพิการ และฟื้นฟูสภาพ ทุก 1 ปี ติดตามการดำเนินงานของเครือข่ายฟื้นฟูสภาพผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อนทุก 1 ปี การประเมินผลงานควบคุมโรคเรื้อน หลังการกำจัดโรคเรื้อนสำเร็จ เพื่อให้ผู้บริหาร งานควบคุมโรคเรื้อน ใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจ ปรับนโยบาย และแนวทางการ ดำเนินงานควบคุมโรคเรื้อน ประเมินทุก 10 ปี โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ติดตามการรายงานผลการดำเนินงานโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม รายไตรมาส ประเมินผลการดำเนินงานโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ตาม แผนปฏิบัติราชการและแผนยุทธศาสตร์ฯ ทุกปี

12 สรุปรายละเอียดคำของบประมาณ ปี 2559 สรปส.
สรุปรายละเอียดคำของบประมาณ ปี สรปส. ประเภทงบ โครงการ งบประมาณ (บาท) Service Plan (พัฒนาระบบบริการ งาน Env.Occ./Leprosy) โครงการพัฒนาระบบบริการ สถาบันราชประชาสมาสัย (Better Service) 800,000 Excellent Center (Env.Occ.) โครงการสร้างและพัฒนางานบริการและวิชาการ ด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 5,500,000 ภารกิจพื้นฐาน (Leprosy) โครงการเร่งรัดการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์กำจัดโรคเรื้อน 4,950,000 (งบ สคร. = 1,450,000) Specific Issue (โครงการ เฉลิมพระเกียรติ) โครงการรณรงค์ค้นหาโรคเรื้อน เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล (เฉลิมพระเกียรติ 70 ปีแห่งการครองราชย์) 3,000,000 2,160,000)

13 งานด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสวล. แผนยุทธศาสตร์ชาติ งานด้านโรคเรื้อน
วิสัยทัศน์ "เป็นสถาบันที่เป็นเลิศด้านโรคเรื้อนระดับนานาชาติ และโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมระดับชาติภายในปี 2563 พันธกิจ "พัฒนาวิชาการด้านโรคเรื้อน/โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมถ่ายทอดองค์ความรู้  ส่งเสริมสนับสนุนให้เครือข่ายสามารถดำเนินงานได้ตามมาตรฐานที่กำหนด” เป้าประสงค์ 1. ระบบป้องกันควบคุมโรคเรื้อนมีประสิทธิภาพในการค้นหาผู้ป่วยรายใหม่.... 2. สถานบริการสาธารณสุขให้บริการโรคเรื้อนตามมาตรฐาน และมีระบบส่งต่อ… 3. ผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อนและครอบครัวพึ่งพาตนเองและอยู่ร่วมกับคนในสังคมได้ 4. มีองค์ความรู้ งานวิจัย มาตรการ นวัตกรรม ข้อมูลอ้างอิง และมาตรฐานวิชาการป้องกันควบคุมโรคเรื้อนและฟื้นฟูสภาพ 5. มีจำนวนบุคลากรผู้เชี่ยวชาญโรคเรื้อนเพียงพอ 1. ศูนย์ความเป็นเลิศ เพื่อการวิจัยพัฒนา ฝึกอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยี มาตรฐาน... 2. ศูนย์มาตรฐานบริการการตรวจคัดกรองความเสี่ยงและสภาพแวดล้อมในการทำงาน 3.ศูนย์เชี่ยวชาญด้านส่งเสริมฟื้นฟูสภาพ โรคจากการประกอบอาชีพ ( Pesticide / MSDS / Occupational lung diseases / Occupational Injury ) 4. เครือข่ายเฝ้าระวัง ประเมินความเสี่ยง และตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน แผนยุทธศาสตร์สถาบัน งานด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสวล. ปี แผนยุทธศาสตร์ชาติ งานด้านโรคเรื้อน ปี 2558 – 2563

14 สวัสดี

15 การติดตามประเมินผล ผลผลิต การติดตามประเมินผล
หลักสูตรการยศาสตร์สำหรับบุคลากรทางการแพทย์ ฐานข้อมูลผู้ป่วยจากโรคประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมในจังหวัดสมุทรปราการ บุคลากรมีสมรรถนะด้านการนิเทศติดตามประเมินผล ( ด้านคลินิกโรคจากการทำงาน / ด้านการตรวจประเมินความเสี่ยงบุคลากร) สำรวจความรู้บุคลากรทางการแพทย์ 1 ปี รายงานฐานข้อมูลผู้ป่วยจากโรคประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมในจังหวัดสมุทรปราการ ประเมินสมรรถนะด้านการนิเทศทุกปี มาตรฐานบริการคัดกรองสุขภาพด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ติดตามการรายงานผลการดำเนินงานโรค จากการ ประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม รายไตรมาส เครือข่ายฟื้นฟูสภาพโรคจากการทำงาน ระบบการฟื้นฟูสภาพโรคจากการทำงาน ประเมินผลการดำเนินงานโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ตามแผนปฏิบัติราชการและแผนยุทธศาสตร์ฯ ทุกปี ทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT ) ฐานข้อมูลสารพิษในจังหวัดสมุทรปราการ เครือข่ายตอบโต้ผลกระทบต่อสุขภาพโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ติดตามการรายงานผลการดำเนินงานโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม รายไตรมาส

16 มาตรการดำเนินงานควบคุมโรคเรื้อน
เป้าหมายการดำเนินงานควบคุมโรคเรื้อน ปี 2559 อัตราความพิการระดับ 2 ในผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ต่อประชากรแสนคน ลดลงร้อยละ 55 เมื่อเทียบกับปี 2553 ร้อยละ 75 ของผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อนที่ผ่านการสำรวจได้รับการฟื้นฟู สภาพตามความต้องการจำเป็น (needs) ผลผลิต : การค้นพบผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่โดยเร็วที่สุด เพื่อป้องกัน/ลดความพิการ ในผู้ป่วย (Early diagnosis and prompt treatment) ผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อนได้รับการฟื้นฟูสภาพโดยชุมชน (Community base rehabilitation) ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มาตรการดำเนินงานควบคุมโรคเรื้อน มาตรการในการดำเนินงานค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ในอำเภอเป้าหมาย มาตรการสนับสนุนการสำรวจความพิการ และปัญหาทางด้านสังคม เศรษฐกิจ ของผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อน มาตรการพัฒนาเครือข่ายในการฟื้นฟูสภาพผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อน

17 เป้าประสงค์/กลยุทธ์ เป้าประสงค์ที่ 1 ระบบป้องกันควบคุมโรคเรื้อนมีประสิทธิภาพในการค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ในพื้นที่ที่มีผู้ป่วยใหม่ในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา กลยุทธ์ที่ 1.1 พัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรคเรื้อนที่มีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ที่ 2 สถานบริการสาธารณสุขให้บริการโรคเรื้อนตามมาตรฐาน ในการวินิจฉัย รักษา ป้องกันความพิการ ฟื้นฟูสภาพ และมีระบบส่งต่อผู้ป่วยที่เหมาะสม กลยุทธ์ที่ 2.1 พัฒนาสถานบริการสาธารณสุขทั่วไปให้สามารถคัดกรองโรคเรื้อนได้อย่างถูกต้อง (หน่วยคัดกรองของสถานบริการสาธารณสุขทุกแห่ง) กลยุทธ์ที่ 2.2 พัฒนาสถานบริการสาธารณสุขเชี่ยวชาญโรคเรื้อนให้บริการได้มาตรฐาน (รพศ. / รพท. / รพช. /สรปส. / รพ.สังกัดมหาวิทยาลัย) ได้แก่ การวินิจฉัย การรักษา ป้องกันความพิการ ฟื้นฟูสภาพ กลยุทธ์ที่ 2.3 พัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วยสงสัยโรคเรื้อนให้เข้าถึงสถานบริการเชี่ยวชาญโรคเรื้อน กลุ่มยุทธศาสตร์และพัฒนาองค์กร

18 เป้าประสงค์/กลยุทธ์ เป้าประสงค์ที่ 3 ผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อนและครอบครัวพึ่งพาตนเองและอยู่ร่วมกับคนในสังคมได้ กลยุทธ์ที่ 3.1 พัฒนาฐานข้อมูลผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อน กลยุทธ์ที่ 3.2 สร้างและพัฒนาเครือข่ายการฟื้นฟูสภาพผู้ประสบปัญหาโรคเรื้อนโดยชุมชน กลยุทธ์ที่ 3.3 ส่งเสริมให้ผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อนสามารถสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของตนเองได้ เพื่อให้สังคมมีความเข้าใจที่ถูกต้องเรื่องโรคเรื้อน และมีทัศนคติที่ดีต่อผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อน เป้าประสงค์ที่ 4 มีองค์ความรู้ งานวิจัย มาตรการ นวัตกรรม ข้อมูลอ้างอิง และมาตรฐานวิชาการป้องกันควบคุมโรคเรื้อนและฟื้นฟูสภาพ ที่ตอบสนองบริบทพื้นที่ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ และถ่ายทอดสู่กลุ่มเป้าหมายได้อย่างเหมาะสม กลยุทธ์ที่ 4.1 ผลิตองค์ความรู้ งานวิจัย มาตรการ นวัตกรรม ข้อมูลอ้างอิง และมาตรฐานวิชาการป้องกันควบคุมโรคเรื้อนและฟื้นฟูสภาพ กลุ่มยุทธศาสตร์และพัฒนาองค์กร

19 เป้าประสงค์/กลยุทธ์ กลุ่มยุทธศาสตร์และพัฒนาองค์กร
เป้าประสงค์ที่ 5 มีจำนวนบุคลากรผู้เชี่ยวชาญโรคเรื้อนเพียงพอทั้งในส่วนกลางและระดับเขต กลยุทธ์ที่ 5.1 พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้เป็นผู้เชี่ยวชาญโรคเรื้อน กลุ่มยุทธศาสตร์และพัฒนาองค์กร


ดาวน์โหลด ppt คำของบดำเนินงานโครงการ ประจำปีงบประมาณ 2559

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google