งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นศ.ภ.จันทร์นภัสสร์ ชะตาคำ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นศ.ภ.จันทร์นภัสสร์ ชะตาคำ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นศ.ภ.จันทร์นภัสสร์ ชะตาคำ 4710020
Adverse Drug Reaction นศ.ภ.จันทร์นภัสสร์ ชะตาคำ

2 Outline Definition Classification of ADR
Type A, B, C, D, E, F Immunologic type vs Non-immunologic type Classification of Immunologic type ADR Gell&Coombs

3 WHO: Adverse Drug Reaction
“การตอบสนองต่อยาที่เป็นอันตรายและ ไม่ได้จงใจให้เกิดขึ้น ซึ่งเกิดขึ้นในขนาดการ ใช้ตามปกติในมนุษย์ โดยไม่รวมถึงการได้รับ ยาเกิดขนาด หรือ การจงใจใช้ยาในทางที่ ผิดจนเกิดอันตราย” ตรงประเด็น...เรื่อง Adverse Drug Reaction, กรุงเทพ: สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล(ประเทศไทย).2549

4 WHO: Side effect “ ผลใดๆ ที่ไม่ได้จงใจให้เกิดขึ้นจาก เภสัชภัณฑ์(pharmaceutical product) ซึ่ง เกิดขึ้นในการใช้ตามขนาดปกติในมนุษย์ และสัมพันธ์กับคุณสมบัติทางเภสัชวิทยาของ ยา ” ตรงประเด็น...เรื่อง Adverse Drug Reaction, กรุงเทพ: สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล(ประเทศไทย).2549

5 WHO: Drug allergy “ ปฏิกิริยาที่เกิดจากภูมิคุ้มกันของ ร่างกายต่อยาที่ได้รับเข้าไป ” ตรงประเด็น...เรื่อง Adverse Drug Reaction, กรุงเทพ: สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล(ประเทศไทย).2549

6 I Ralph Edwards, Jeffrey K Aronson
I Ralph Edwards, Jeffrey K Aronson. Adverse drug reactions: definitions, diagnosis, and management The Lancet, Volume 356, Issue 9237, 7 October 2000, Pages ,

7 Type A vs Type B Type A Type B สัมพันธ์กับขนาดยา ไม่สัมพันธ์กับขนาดยา
ส่วนใหญ่พบตั้งแต่ขั้นตอนการวิจัยทดลองยาในสัตว์ ไม่สามารถทำนายฤทธิ์การเกิดได้ด้วยฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา พบบ่อย มีโอกาสทำให้เกิดการการเจ็บป่วยได้มาก แต่อาการที่เกิดขึ้นมักไม่รุนแรง โอกาสเสี่ยงต่อการเสียชีวิตน้อย ไม่พบในขั้นตอนการวิจัยทดลองยาในสัตว์ รักษาโดยการลดขนาดยา พบน้อย แต่อาการที่เกิดขึ้นมักรุนแรงเสี่ยงต่อการเสียชีวิตสูง เช่น Overdose, Side effect, Secondary effect, Drug interaction เช่น Hypersensitivity immunological reaction, idiosyncratic reaction ตรงประเด็น...เรื่อง Adverse Drug Reaction. กรุงเทพ: สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล(ประเทศไทย).2549

8 Immunologic type อาการไม่สัมพันธ์กับผลทางเภสัชวิทยาตามปกติ
การตอบสนองการแพ้ไม่สัมพันธ์เชิงเส้นตรงกับปริมาณของยา แม้ได้ใน ปริมาณน้อยๆ ก็สามารถทำให้เกิดการแพ้ได้ อาการเกิดเมื่อรับยาสักระยะหนึ่ง โดยทั่วไป 1-2 สัปดาห์ ดังนั้นการใช้ยาครั้ง แรกถ้านานพอด็จะทำให้เกิดการแพ้ยาเช่นกัน ลักษณะอาการแพ้เป็นปฏิกิริยาทางภูมิคุ้มกัน ได้แก่ ผื่น(Rash), serum sickness, anaphylaxis, asthma, urticaria และ angioedema Eosinophillia หยุดยาแล้วอาการจะดีขึ้น เว้นการแพ้เกิดจากยาหรือเมตาโบไลท์ของยาจับอยู่ กับโปรตีนของร่างกายแล้วยังคงอยู่ในร่างกายเป็นเวลานาน แม้จะหยุดยาไปแล้ว ตรงประเด็น...เรื่อง Adverse Drug Reaction. กรุงเทพ: สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล(ประเทศไทย).2549

9 Non-immunologic type กลไกไม่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
เกิดอาการแพ้ครั้งแรกที่ได้รับยา การจัดการ การหยุดยาในกรณีที่รุนแรง ไม่รุนแรงให้ลดขนาดยา ลดความเร็วในการให้ยา หรืออาจให้ยาป้องกัน ผู้ป่วยสามารถใช้ยานั้นครั้งต่อไปได้ ตรงประเด็น...เรื่อง Adverse Drug Reaction. กรุงเทพ: สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล(ประเทศไทย).2549

10 Adverse Drug Reactions:Types and Treatment Options
Adverse Drug Reactions:Types and Treatment Options. American Family Physician. 2003

11 http://www. biology. ualberta

12 Thank you


ดาวน์โหลด ppt นศ.ภ.จันทร์นภัสสร์ ชะตาคำ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google