งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การฝึกร่วม วิทยาลัยเสนาธิการทหาร และ โรงเรียนเสนาธิการเหล่าทัพ ประจำปี 2557 16 ก.ค.57 พ.อ.ทักษิณ สิริสิงห.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การฝึกร่วม วิทยาลัยเสนาธิการทหาร และ โรงเรียนเสนาธิการเหล่าทัพ ประจำปี 2557 16 ก.ค.57 พ.อ.ทักษิณ สิริสิงห."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การฝึกร่วม วิทยาลัยเสนาธิการทหาร และ โรงเรียนเสนาธิการเหล่าทัพ ประจำปี 2557
16 ก.ค.57 พ.อ.ทักษิณ สิริสิงห

2 พ.อ.ทักษิณ สิริสิงห การศึกษา รร.จิตรลดา เตรียมทหาร 27 รร.จปร.38
ป.โท KMITL(IT) รร.สธ.ทบ.78 วสท.51 รับราชการ ร.5/2 ปัตตานี ร.31/2 ลพบุรี พล.1 รอ. ร.151/1 รร.สธ.ทบ. วสท.สปท. งานพิเศษ Programmer VP-BIG ททบ. กสทช. งานวิจัย C4I DTI Scooter Drone

3

4 หัวข้อการบรรยาย วิทยาลัยเสนาธิการทหาร การจัดการฝึกฯ สถานการณ์ฝึกฯ
การจัดทำแผน การอำนวยการยุทธ์

5 การศึกษาหลักสูตรเสนาธิการทหาร
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ.. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. มว.1 : ผู้นำ มว.2 : วิจัย มว.3 : ยศ.ชาติ มว.4 : ยศ.ทหาร มว.5 : ปฏิบัติการร่วม/ผสม - ตอน 1 เรียนหลักการ - ตอน 2 การวางแผน - ตอน 3 อำนวยการยุทธ์ 1 2 3 20 มี.ค. หมายเหตุ (ห้วงการปฏิบัติของ นศ.) 1 : วางแผนประณีต 2 : วางแผนเผชิญสถานการณ์วิกฤติ 3 : อำนวยการยุทธ์ (CPX)

6 ขอบเขตการเรียนการสอน
หมวดวิชาที่ 5 การปฏิบัติการร่วม/ผสม 15 หน่วยกิต ประกอบด้วย ตอนที่ 1 : หลักนิยมการปฏิบัติการร่วม/ผสม ตอนที่ 2 : กระบวนการวางแผนการปฏิบัติการร่วม/ผสม ตอนที่ 3 : การอำนวยการยุทธ์ร่วม/ผสม

7 ตอนที่ 1 : กลุ่มความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับการปฏิบัติการร่วมผสม
หลักนิยม การปฏิบัติการปฏิบัติการร่วม / ผสม การยุทธร่วมของกองทัพไทย หลักนิยมร่วม กพ. ขว. ยก. กบ. กร. สส. หลักการปฏิบัติการพิเศษร่วม หน่วย รพศ.ของกองทัพไทย การปฏิบัติข่าวสารร่วม(IO) การปฏิบัติการในพื้นที่ส่วนหลังร่วม การระดมสรรพกำลัง กฎการใช้กำลังของ กองทัพไทย การปฏิบัติการ 2 เหล่า การยุทธส่ง/เคลื่อนที่ทางอากาศ การปฏิบัติการสะเทินน้ำสะเทินบก การเคลื่อนย้ายทางอากาศ การปฏิบัติการร่วม ทร. – ทอ. เหล่าทัพ หลักนิยมการใช้กำลัง ทบ. ทร. ทอ. ขีดความสามารถ ทบ. ทร. ทอ. กระบวนการวางแผน ทบ. ทร. ทอ. กฎการใช้กำลัง ทบ., ทร., ทอ. แผน / นโยบาย / ข้อกฎหมาย พ.ร.บ.การจัดระเบียบ กห.51 พ.ร.บ.ความมั่นคง 51 นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ยศ.ความมั่นคง กห. แผนเตรียมพร้อมแห่งชาติ แผนป้องกันประเทศกองทัพไทย แผนป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เพิ่มเติม เหตุการณ์สำคัญของโลก ภัยคุกคามด้านตะวันออก ทบทวน หน้าที่การปฏิบัติของ สธร. การบรรยายสรุปทางทหาร การประชุมสัมมนาทางทหาร

8 ตอนที่ 2 : กระบวนการวางแผน
ยุทธศิลป์ แผนการทัพ แผนประณีต แผนเผชิญสถานการณ์วิกฤติ เป้าหมายร่วม / ตารางประสานสอดคล้อง ผนวกประกอบ

9 ตอนที่ 3 : การอำนวยการยุทธ์
การควบคุมการยุทธ์ ฝ่ายอำนวยการในการควบคุมการยุทธ์ ศูนย์บัญชาการทางทหาร การควบคุมการยุทธ์ของ ทบ., ทร., ทอ. ระบบควบคุมบังคับบัญชา C4I ระบบจำลองยุทธ์ การจัดการฝึก ฯ การฝึกร่วม วสท.และ รร.สธ.เหล่าทัพ (CPX)

10 การจัดการฝึกฯ

11 พ.ศ.๒๕๒๐ จุดเริ่มต้นการฝึกร่วม

12 ความเป็นมาของการฝึกร่วมฯ
พ.ศ.๒๕๒๔ พล.อ.สายหยุด เกิดผล (ผบ.ทหารสูงสุด ในขณะนั้น) ได้เห็นถึงความสำคัญ และมีนโยบายให้จัดการฝึกร่วม ๔ สถาบัน ประกอบด้วย รร.สธ. เหล่าทัพ และ วสท. เข้าร่วมในฐานะเป็น บก.ทสส. พ.ศ.๒๕๒๖ สามารถจัดการฝึกร่วม ๔ สถาบัน เป็นครั้งแรก พ.ศ.๒๕๕๗ ปีนี้เป็นการฝึกร่วมครั้งที่ ๓๒

13 วัตถุประสงค์การฝึกฯ นำหลักนิยม/หลักการมาใช้ในการวางแผน
ฝึกปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้บังคับบัญชาและฝ่ายเสนาธิการ ฝึกควบคุมและอำนวยการยุทธ์ต่อกำลังรบ พัฒนาหลักนิยม และพัฒนากองทัพต่อไป วัตถุประสงค์การฝึก ต้องการให้ นทน.และ นศ. นำหลักนิยม/หลักการมาใช้ในการวางแผน ให้ได้อย่างสมบูรณ์ และมีประสิทธิภาพ ฝึกปฏิบัติหน้าที่เป็น ผู้บังคับบัญชาและฝ่ายเสนาธิการ ฝึกควบคุมและอำนวยการยุทธ์ต่อกำลังรบ พัฒนาหลักนิยม และพัฒนากองทัพต่อไป ตามลำดับ

14 วัตถุประสงค์เฉพาะ2557 วสท. วางแผนยุทธการ ปฏิบัติการร่วม กกล.ฉก.ร่วม
กกล.ปพ.ร่วม รร.สธ.ทบ. รบตามแบบ รบหลัก ทภ.2 กำลังหลัก 3 พล.ร. ฝึกส่วนหลัง ผู้บังคับบัญชา ปัญหาตะวันออก ไม่รบกับเพื่อนบ้าน DIME มิตรประเทศร่วมฝึก สจว.ร่วมฝึก รร.สธ.ทร. รบโดย ทรภ. รบหลักอ่าวไทย ปฏิบัติการร่วม รร.สธ.ทอ. ทดสอบกำลัง ปฏิบัติการร่วม

15 สถาบันที่เข้ารับการฝึก
กฝร.วสท.และ รร.สธ.เหล่าทัพ57 กอฝ. สจว.56 กอฝ. วสท.56 กอฝ. รร.สธ.ทบ.56 กอฝ. รร.สธ.ทร.56 กอฝ. รร.สธ.ทอ.56 สถาบันที่เข้ารับการฝึกเดิมประกอบด้วย วสท.สปท. รร.สธ.ทบ. รร.สธ.ทร. รร.สธ.ทอ. และในปีนี้ สถาบันจิตวิทยาเพื่อความมั่นคงได้ส่งนักศึกษาเข้าร่วมการฝึกการฝึกเป็นครั้งแรก จึงมีผู้เข้ารับการฝึกในปีนี้ รวม ๕ สถาบัน และมี พล.อ.ท.วรฉัตร ธารีฉัตร ผบ.วสท. ทำหน้าที่เป็น ผู้อำนวยการร่วม ผู้เข้าร่วมการฝึก รวมทั้งสิ้น 634 คน รายละเอียดตามแผ่นฉาย 83 นาย 243 นาย 123 นาย 120 นาย 108 นาย รวม นาย

16 รัฐบาล กระทรวงกลาโหม บก.ทท. บก.ทร. บก.ทบ. บก.ทอ. กกล. ทร. กกล.ทบ. ทอ.

17 ส่วนควบคุมการฝึกฯ หน่วยสมมุติ กกล.ต่างชาติ ส่วนประเมินผล นศ.
-รัฐบาล(นรม.) -รมว.กระทรวงกลาโหม(รมว.กห.), หน่วยงานอื่นๆ -ภาคประชาชน, สื่อสารมวลชน กกล.ต่างชาติ -องค์กร นานาชาติ (UN,ASIAN) -ประเทศเป็นกลาง -มิตรประเทศ ประเทศเป็นกลาง ASIAN มิตรประเทศ(ม่วง) UN นทน.มิตร ประเทศ หน่วยงานอื่นๆ รัฐบาลน้ำเงิน ภาคประชาชน กระทรวงกลาโหม ส่วนประเมินผล นศ. ส่วนข้าศึก ประเทศส้มเวียดนาม) รัฐบาลแดง ศบท.น้ำเงิน (นศ.วสท.) ประเทศเขียว(ลาว) ขว. ปัจจุบัน อนาคต แผน กบ. I/O ปพ.ร่วม กกล.แดง ประเทศเหลือง(กัมพูชา) กกล.ทบ. (นทน.รร.สธ.ทบ.) กกล.ทร. (นทน.รร.สธ.ทร.) กกล.ทอ. (นทน.รร.สธ.ทอ.) กกล.ปพ.ร่วม (ส่วนควบคุม) กกล.ทบ. (อจ.รร.สธ.ทบ.) กกล.ทร. (อจ.รร.สธ.ทร.) กกล.ทอ. (อจ.รร.สธ.ทอ.) กกล.ปพ.ร่วม. (ส่วน ขศ.) ส่วนจำลองยุทธ์ JTLS

18 ผู้เข้ารับการฝึกฯ ฝ่ายน้ำเงิน
= VTC บก.แห่งชาติ กกล.นานาชาติ คณะผู้บัญชาการฯ ศบท. ศปก.ข่าวสารร่วม ศปก.ทบ. ศปก.ทร. ศปก.ทอ. กกล.ปพ.ร่วม ศปก.ทภ.1 ศปก.ทภ… ทรภ.1 ทรภ.2 ศยอ. บก.พล.ร.3 บก.พล.ร.6 บก.พล.ม.3 ศปพล. /มทบ. บก.รพศ. JTLS

19 2556 2557 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 1) ประชุมส่วนเตรียมการ  ครั้งที่ 1 กำหนดวัตถุประสงค์ ครั้งที่ 2 กำหนดวัตถุประสงค์ ครั้งที่ 3 นำเสนอ ผบช.4 สถาบัน / ขออนุมัติ ผบ.ทสส. ครั้งที่ 4 จัดทำกรอบสถานการณ์(1) ครั้งที่ 5 จัดทำกรอบสถานการณ์(2) ครั้งที่ 6 จัดทำสถานการณ์(เพื่อแผนประณีต) ครั้งที่ 7 จัดทำสถานการณ์(เพื่อแผนวิกฤติ) ครั้งที่ 8 จัดทำสถานการณ์(เพื่อการฝึก) 2) ประชุม นศ.&นทน.  ครั้งที่ 9 ประชุมแถลงแผนประณีต ครั้งที่ 10 ประชุมแถลงแผนประณีต ครั้งที่ 11 ประชุมแถลงแผนเผชิญสถานการณ์วิกฤติ ครั้งที่ 12 แถลงแผนเผชิญสถานการณ์วิกฤติ ครั้งที่ 13 ประชุมประสานแผน (ครั้งที่ 1) ครั้งที่ 14 ประชุมประสานแผน (ครั้งที่ 2) ครั้งที่ 15 ประชุมประสานแผน (ครั้งที่ 3) 3) สำรวจพื้นที่ ครั้งที่ 1 (เลือกพื้นที่ฝึก) ครั้งที่ 2 (ตรวจสอบความพอเพียง) ครั้งที่ 3 (แจ้งเตือนหน่วยที่เกี่ยวข้อง) ครั้งที่ 4 (ตรวจสอบความพร้อมครั้งสุดท้าย) 4) จัดการศึกษา ตอนที่ 1 ศึกษาหลักการ ตอนที่ 2 วางแผนประณีต ตอนที่ 2 วางแผนวิกฤติ ตอนที่ 3 การควบคุมและอำนวยการยุทธ์ 5) ฝึกภาคสนาม ส่วนเตียมการ (ส่วนล่วงหน้า) ส่วนเตียมการ (ส่วนฝึก) พิธีเปิด 18 ส.ค. การฝึกภาคสนาม 16-20ส.ค. พิธีปิด 22 ส.ค.

20 การปฏิบัติการร่วม/ผสม
Time Line 23 18 16 20 เวลาจริง 2557 เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ศบท. หน่วยรอง วางแผนประณีต วางแผนเผชิญ สถานการณ์ วิกฤติ ฝึกอำนวย การยุทธ์ CPX 2557 2558 2559 เวลาในสถานการณ์ฝึก ขณะนี้ 1 ม.ค. 59

21 สถานการณ์ฝึกฯ

22 สถานการณ์ฝึกฯ ต้นเหตุของปัญหา
ประเทศเขียว ประเทศส้ม ประเทศแดง สถานการณ์ฝึกฯ ประเทศน้ำเงิน ต้นเหตุของปัญหา ความแตกแยกของคนในชาติน้ำเงินบริเวณ 10 จว.ในภาคอิสาน ประเทศเหลือง มีการดำเนินการเพื่อเรียกร้องสิทธิเหนือพื้นที่ทับซ้อนทางทะเล การพบแหล่งแร่ทอเรียมในบริเวณพื้นที่ตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเป็นทรัพยากรที่ทุกคนต้องการ โดยเฉพาะ ประเทศเขียว และประเทศแดง ประเทศส้ม ซึ่งเป็นคู่แข่งที่สำคัญทางการค้าในภูมิภาคกับประเทศ น้ำเงิน ต้องการลดความน่าเชื่อถือลง เพื่อให้ประเทศส้มก้าวขึ้นเป็นประเทศผู้นำของภูมิภาคในที่สุด xxx 3 1 ประเทศเหลือง 2

23 ข้อมูลเพื่อวางแผนฝึกร่วมฯ
Link

24 การจัดทำแผน

25

26 Joint Operation Planning and Execution System

27 1. ขั้นเริ่มต้น 2. กำหนดแนวความคิด 3. พัฒนาแผน 4. ทบทวน 5
1. ขั้นเริ่มต้น 2. กำหนดแนวความคิด 3. พัฒนาแผน 4. ทบทวน 5. ทำแผนสนับสนุน MDMP Joint Strategic Capabilities Plan แผนขีดความสามารถทางยุทธศาสตร์ร่วม ยศ.ทหารประเทศน้ำเงิน แผน + ผนวก + 2 ปี ทบทวน 1-5 ปี

28 ยุทธศาสตร์ความมั่นคง
ยุทธศาสตร์ชาติ >20 ปี ยุทธศาสตร์ความมั่นคง การทหาร เศรษฐกิจ สังคม การเมือง วิทยาศาสตร์ 5 ปี ยุทธศาสตร์ทหาร พัฒนาประเทศ MOOTW ความสงบเรียบร้อย ความมั่นคงภายใน ป้องกันประเทศ แผนการทัพ 2 ปี ด้าน ตอ. ด้าน ใต้ ด้าน ตก.(2) ด้าน ตก.(1) ด้าน ตอ.(2) แผนการใช้กำลัง กกล.ทบ. กกล.ทร. กกล.ทอ. กกล.อื่นๆ ภาคพลเรือน

29 ยุทธศาสตร์ทหาร ประเทศน้ำเงิน
บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 นโยบายและยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ผลประโยชน์แห่งชาติ บทที่ 3 สภาวะแวดล้อมด้านความมั่นคงและภัยคุกคาม สภาวะแวดล้อมด้านความมั่นคงในระดับโลก และภูมิภาค สภาวะแวดล้อมทางทหารกับกลุ่มประเทศที่สำคัญในประชาคมอาเซียน แนวโน้มภัยคุกคามในภูมิภาค สภาวะแวดล้อมที่ไม่ใช่ทางทหาร สภาวะแวดล้อมภายในประเทศ การป้องกันประเทศ การก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ การก่อการร้าย ยาเสพติด แรงงานต่างด้าว/การลักลอบเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย อาชญากรรมข้ามชาติ ภัยพิบัติ การช่วยเหลือประชาชน 6.สรุปภัยคุกคาม บทที่ 4 วัตถุประสงค์ทางทหารและแนวความคิดยุทธศาสตร์ทหาร บทที่ 5 ขีดความสามารถทางทหารที่ต้องการ บทที่ 6 โครงสร้างกำลังรบของกองทัพไทย บทที่ 7 สรุป 1. การสร้างความร่วมมือด้านความมั่นคง 2. การผนึกกำลังป้องกันประเทศ 3. การป้องกันเชิงรุก JSCP

30 6. ปฏิบัติ 1. ติดตามสถานการณ์ 2. ประเมินสถานการณ์ วิกฤติ 3. พัฒนา ห/ป
4. เลือก ห/ป 5. สั่งการ 6. ปฏิบัติ

31 วสท.ทำการฝึกและศึกษา ตามบ่งการ
1 สถานการณ์ฝึก ขั้นที่ 1 ขั้นเริ่มต้น ( Initiation Phase ) 2 จัดตั้ง กองบัญชาการ 3การข่าวกรองร่วม 4 JIPOE 5 ข่าวสารขั้นต้น 11 การเตรียมการวาดภาพการรบ ขั้นที่ 2 ขั้นพัฒนาแนวความคิด (Concept Development Phase) 6 การวิเคราะห์ภารกิจ 12 วาดภาพการรบ 7 แนวทางในการวางแผน 8 การออกแบบแผนการทัพ 13 บรรยายสรุป WG 9 กำหนด ห./ป. 10 บรรยายสรุป ห/ป. ขั้นที่ 3 ขั้นพัฒนาแผน (Plan Development Phase) 14 วิเคราะห์เปรียบเทียบ ห./ป. 15 เสนอประมาณการ 16 เสนอประมาณสถานการณ์ 17 ตกลงใจ /แนวความคิดฯ ขั้นที่ 4 ขั้นทบทวนแผน (Plan Review Phase) 18 เป้าหมายร่วม 18 การปฎิบัติการข่าวสารร่วม IO 20 พื้นที่ส่วนหลังร่วม 21 ปพ.ร่วม ขั้นที่ 5 ขั้นวางแผนสนับสนุน (Supporting Plans Phase ) 22 ROE 24 Theater Strategy 23 EW 25 จัดทำ/แถลงแผน

32 ผลผลิตการวางแผน บก.กองทัพน้ำเงิน (นศ.วสท.) รัฐบาล กระทรวงกลาโหม
ป้องกัน ประเทศ คณะวางแผนร่วม กองทัพบก (อจ.รร.สธ.ทบ.) กองทัพเรือ (อจ.รร.สธ.ทร.) กองทัพอากาศ (อจ.รร.สธ.ทอ.) แผน เหล่า ทัพ แผน เหล่า ทัพ แผน เหล่า ทัพ

33 การฝึกควบคุมและอำนวยการยุทธ์

34 ส่วนควบคุมการฝึกฯ กฝร.วสท.และ รร.สธ.55 ส่วนผู้บังคับบัญชา(4สถาบัน)
ส่วนพิธีการ ส่วนควบคุมสถานการณ์&BDA ส่วนจำลองยุทธ์ ส่วนประเมินการจัดการฝึก กฝร.วสท.และ รร.สธ.55 กอฝ. วสท.55 กอฝ. รร.สธ.ทบ.55 กอฝ. รร.สธ.ทร.55 กอฝ. รร.สธ.ทอ.55 กอฝ. สจว.55 ส่วนอำนวยการ และสนับสนุนการฝึก ส่วน ควบคุมการฝึก ส่วน ควบคุม นศ.ฯ ฝ่ายพิธีการและเลขานุการ ฝ่ายส่งกำลังบำรุง ฝ่ายสื่อสารและIT ฝ่ายการเงินและงบประมาณ ฝ่ายควบคุมสถานการณ์ ฝ่ายประเมินผล นศ.(สธร.) ฝ่ายจำลองยุทธ์

35 เหตุการณ์สำคัญ D1 D2 D3 D4 D5 การควบคุมการยุทธ์และการบังคับบัญชา
กระบวนการเป้าหมายร่วม การใช้กองหนุนแก้ปัญหา อาวุธยิงระยะไกล การบูรณาการข่าวสาร การปฏิบัติการรุก(1)ของ กกล.ทบ. สงขลา-ปัตตานี-นราธิวาส การปฏิบัติการรุก(2)แนวนราธิวาส-ยุทธ์บรรจบ การครองอากาศ การปฏิบัติการร่วม ทร.-ทอ. การสนับสนุนอากาศ-พื้นดิน การควบคุมทะเล การยกพลขึ้นบก การส่งผ่าน กกล.ฉก. กกล.ฉก.ยึดที่หมาย/ทำการยุทธ์บรรจบ การควบคุมและช่วยเหลือประชาชน การปฏิบัติการข่าวสารร่วม I/O การ ปจว./ปชส. การติดต่อสื่อสาร(ยุทธวิธี.&ธุรการ) ยกพลตามแผน ที่หมายใหม่

36 บ่งการหลักในห้วงการฝึก
16 ส.ค.58 17 ส.ค.58 18 ส.ค.58 19 ส.ค.58 20 ส.ค.58 21 ส.ค.58 Phase II สร้างความ ชอบธรรม Phase III ตรึง ทภ.2, ทร.ภ.2 รุกเข้า พ.ท.ทภ.1 Phase IV ทน.ระลอก 2 เข้าตีผ่าน Phase V ต่างชาติเข้า /ถอนกำลัง ประกาศรุก ดึงต่างชาติเข้า 1100/1200 บ.แดงรุก จต.เรือยกพล 1200 ระลอกแรก ตรึง ระลอกสอง ใช้ พล.ถ. ตั้งรับ 1000 รุกทางทะเล เปิดอ่าวตอนเหนือ ยกพล รักษาปีก เขื่อนเขียว SCUD ปัญหาพลังงาน ท่อน้ำมัน คลัง สป.3 ปัญหา กบ.(สป.3) ปัญหา IO ปัญหา กร.

37 การแบ่งกลุ่มงาน ในที่บัญชาการ
บก.แห่งชาติ 2 INTEL ข่าวกรอง 7 9 10 แผนที่สถานการณ์ 1.แผนที่กระดาษ 2.Computer 1 สรุป/รายงาน สั่งการ รพศ. I/O เป้าหมายร่วม 3 6 6 J33 - COPs ปบ.การจจุบัน ศูนย์ข่าว ศูนย์ข่าว 4 J35 - FOPs ปบ.การนาคต 1 แจกจ่าย อนุมัติแผน มาตรการควบคุม นโยบาย 5 กพ. กบ. แผนที่สถานการณ์ อนาคต(แผน) กร. สส. 4 J5 แผนอนาคต 7 8 9 กกล.ทบ. กกล.ทร. กกล.ทอ. รพศ.ร่วม กกล.ฉก.ร่วม ศปก.IO ร่วม ศปก.ปจว.

38 การติดตามสถานการณ์ จากแผนที่สถานการณ์อัตโนมัติ COP
Link

39 เวลาในสถานการณ์ (JTLS)
เวลาจริง 0800 9 10 11 1200 13 14 15 1600 0600 0800 1000 1200 1400 1600 1800 เวลาในสถานการณ์ เวลาทำการฝึกแต่ละวัน ระบบ JTLS สามารถดูขอมูลได้ตั้งแต่ 0800 – 1600 ระบบ JTLS สามารถสั่งหน่วยได้ตั้งแต่ 0800 – 1600 เวลาในสถานการณ์ฝึก แต่ละวัน เริ่มตั้งแต่ 0600 – 1800 ไม่มีสถานการณ์รบโดยระบบ JTLS ในเวลาการคืน

40 ตารางการประชุม ประชุมกองอำนวยการ ส่วนควบคุมการฝึกฯ ประชุม ศบท.
8 9 10 11 12 13 14 15 16 ประชุมกองอำนวยการ ส่วนควบคุมการฝึกฯ ประชุม ศบท. VTC สั่งการ พิจารณาเป้าหมายร่วม อนุมัติเป้าหมายร่วม VTC สรุปสถานการณ์

41 มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม D1 D2 D3 D4 D5 ดูงานตะวันออก ลงข้อมูล JTLS 1
COA(1) 2 ว.การทัพ สัมพันธ์ 3 4 COA(2) 5 6 7 WG(1) 8 WG(2) 9 เสนอ ประมาณการ 10 ตกลงใจ ให้แนวคิด 11 12 13 14 15 ทำแผน 16 17 ซ้อม แถลง 18 แถลงแผน CAP 19 20 21 22 23 24 25 แถลงกลับ MINI CPX เก็บของ ส่วนล่วงหน้า ส่วนใหญ่เดินทาง ทดสอบระบบ StartEx. พิธีเปิดการฝึก EndEx. AAR. พิธีปิดการฝึก กรกฎาคม 27 28 JTLS 29 30 31 ลงข้อมูล JTLS สิงหาคม ให้สถานการณ์ CAP JIPOE 26 เอกสารวิจัย วิเคราะห์ภารกิจ Champagne Design มิถุนายน ดูงานตะวันออก D1 D2 D3 D4 D5

42 ผู้เข้ารับการฝึกฯ ฝ่ายน้ำเงิน
= VTC บก.แห่งชาติ กกล.นานาชาติ คณะผู้บัญชาการฯ ศบท. ศปก.ข่าวสารร่วม ศปก.ทบ. ศปก.ทร. ศปก.ทอ. กกล.ปพ.ร่วม ศปก.ทภ.1 ศปก.ทภ… ทรภ.1 ทรภ.2 ศยอ. บก.พล.ร.3 บก.พล.ร.6 บก.พล.ม.3 ศปพล. /มทบ. บก.รพศ. JTLS

43 ตอบข้อซักถาม


ดาวน์โหลด ppt การฝึกร่วม วิทยาลัยเสนาธิการทหาร และ โรงเรียนเสนาธิการเหล่าทัพ ประจำปี 2557 16 ก.ค.57 พ.อ.ทักษิณ สิริสิงห.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google