งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารกำลังคนภาครัฐ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารกำลังคนภาครัฐ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารกำลังคนภาครัฐ
1

2 กำลังคนภาครัฐในฝ่ายพลเรือน
ลูกจ้างประจำ 13.06 % ข้าราชการ 61.67 % ลูกจ้างชั่วคราว 22.27 % กำลังคนภาครัฐในฝ่ายพลเรือน จำนวน 1.98 ล้านคนนี้ ประกอบด้วย ข้าราชการในฝ่ายพลเรือน 1,221,262 คน (ร้อยละ 61.67) ลูกจ้างประจำ 258,600 คน (ร้อยละ 13.06) ลูกจ้างชั่วคราว 440,933 คน (ร้อยละ 22.27) และพนักงานราชการ 59,481 คน (ร้อยละ 3.00) พนักงานราชการ 3.00 % 2

3 ข้าราชการในฝ่ายพลเรือน ปีงบประมาณ 2548
ข้าราชการในฝ่ายพลเรือน ปีงบประมาณ 2548 จำแนกตามส่วนราชการ สนง.ตำรวจฯ 17.59 % ศึกษาธิการ 41.68 % สาธารณสุข 13.72 % มหาดไทย 3.45 % เทศบาล % ส่วนตำบล % เกษตรฯ % กทม % คลัง % ยุติธรรม % คมนาคม % อื่นๆ % ข้าราชการในฝ่ายพลเรือนส่วนใหญ่ คือ ร้อยละ ( 509,028 คน) ปฏิบัติงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ รองลงมาร้อยละ (214,872 คน) สังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ และร้อยละ (167,568 คน) สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ส่วนที่เหลือกระจายอยู่ในสังกัดส่วนราชการต่าง ๆ โดยกระทรวงที่มีอัตรากำลังต่ำกว่าพันคน ได้แก่ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (878 คน) ทั้งนี้ ข้าราชการในฝ่ายพลเรือนเกือบครึ่งหนึ่ง หรือร้อยละ ปฏิบัติภารกิจในด้านการศึกษา โดยนอกจากกระทรวงศึกษาธิการแล้ว ยังมีการปฏิบัติภารกิจด้านการศึกษาในส่วนท้องถิ่นของ กทม. และเทศบาล อีกประมาณร้อยละ 2.14 ด้วย จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่างบประมาณด้านบุคลากรส่วนใหญ่ ได้ถูกใช้ไปในงานด้านการศึกษา งานดูแลรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง และงานด้านสาธารณสุข (หน่วย : คน)

4 นโยบายด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลในราชการพลเรือน
การสร้างกำลังคนในราชการพลเรือนที่มีคุณภาพ มีสมดุลคุณภาพงาน คุณภาพชีวิต หลักการพัฒนาสมรรถนะ Competency หลักการบริหาร ผลงาน Performance หลักการพิทักษ์ ระบบคุณธรรม Merit การกระจายอำนาจการบริหาร การปรับปรุงแก้ไข กฎหมาย ระเบียบข้าราชการพลเรือน

5 โครงสร้างตำแหน่งข้าราชการพลเรือน
ระบบจำแนกตำแหน่ง (Position Classification System) นำมาใช้ในการบริหารงานบุคคลแทน ระบบชั้นยศเดิม ตั้งแต่ พ.ศ. 2518 จัดโครงสร้างของตำแหน่งตามระดับมาตรฐานกลาง (Common Level) เป็น 11 ระดับ ระดับ ปลัดกระทรวง / ผู้ทรงคุณวุฒิ ระดับ อธิบดี / รองปลัดกระทรวง / ผู้เชี่ยวชาญ ระดับ รองอธิบดี / ผอ.สำนัก / ผู้เชี่ยวชาญ ระดับ ผอ.กอง หัวหน้ากลุ่มงาน ระดับ หัวหน้าฝ่าย งาน ระดับ 3-5 หรือ 6 ระดับ 2-4 หรือ ระดับปฏิบัติการ ระดับ 1-3 หรือ 4

6 โครงสร้างตำแหน่งตาม พรบ.ข้าราชการพลเรือน 2535
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ มาตรา 39 กำหนด ตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญมี 3 ประเภท ได้แก่ ตำแหน่งประเภททั่วไป ตำแหน่ง ประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ และตำแหน่งประเภทบริหารระดับสูงหรือบริหารระดับกลาง แนวคิดการจำแนกตำแหน่งตามความชำนาญเฉพาะทาง (Specialization) และกำหนดระดับ ตำแหน่งตามความยากและคุณภาพของงาน 6

7 แบ่งข้าราชการพลเรือน เป็น 3 ประเภท
บริหารระดับสูง หรือ ระดับกลาง วิชาชีพ หรือ เชี่ยวชาญเฉพาะ ทั่วไป ระดับ 9 ขึ้นไป และเป็นหัวหน้า ส่วนราชการสูงกว่ากอง ระดับ 8 ขึ้นไป ปฏิบัติโดยผู้มีวุฒิปริญญาและ ระดับ 1 – 8 อื่น ๆ งานกระทบต่อชีวิต ทรัพย์สิน มีองค์กรวิชาชีพรับรอง หรือ ระดับ 8 และเป็นหัวหน้า ส่วนราชการระดับกอง ภาครัฐขาดแคลนและ เป็น R&D ทางเทคโนโลยี่ หรือ เป็นงานกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สิน

8

9 ประเภทสายงานของตำแหน่งข้าราชการ
สายงานควบเริ่มต้นจากระดับ 1 เจ้าหน้าที่.... ,ช่าง สายงานควบเริ่มต้นจากระดับ 2 เจ้าพนักงาน. ...,นายช่าง...,ชื่อเฉพาะ สายงานควบเริ่มต้นจากระดับ 3 นัก...., เจ้าหน้าที่......,ชื่อเฉพาะ สายงานควบเริ่มต้นจากระดับ 4 ชื่อเฉพาะ เช่น นายแพทย์ สายงานเดี่ยว 4,5,6,7,8 เจ้าหน้าที่บริหาร......

10 มาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่
หลักการและแนวทางในการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่ 1. ดำเนินการตามบทบัญญัติในร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง 2. รูปแบบมาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่ปรับปรุงจากมาตรฐานกำหนดตำแหน่งปัจจุบันประกอบแนวทางการจัดทำเอกสารสรุปลักษณะงาน (Role Profile) 3. ให้ส่วนราชการเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่ด้วย เพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะงานที่ปฏิบัติจริงของแต่ละส่วนราชการ

11 การจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่ (ต่อ)
4. ยุบเลิก/ยุบรวมสายงาน ให้เหลือเท่าที่จำเป็นเพื่อนำไปจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่ โดยมีหลักการ ดังนี้ (1) การยุบเลิกสายงาน (1.1) ยุบเลิกสายงานที่ ก.พ. มิได้กำหนดตำแหน่งในส่วนราชการแล้ว และบทบาทภารกิจของส่วนราชการเปลี่ยนแปลงไปภายหลังการปฏิรูประบบราชการ ทำให้ไม่มีความจำเป็นต้องกำหนดตำแหน่งเหล่านี้อีกต่อไป (1.2) ยุบเลิกสายงานเจ้าหน้าที่บริหารงาน …. ซึ่งเป็นสายงานร่วม ทั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับข้อบัญญัติเกี่ยวกับการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งตามร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ....

12 การจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่ (ต่อ)
(2) การยุบรวมสายงาน (2.1) ยุบรวมสายงานที่มีตำแหน่งเริ่มต้นจากระดับ 1 และระดับ 2 เข้าด้วยกัน สำหรับสายงานที่มีลักษณะงานที่ปฏิบัติและคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งคล้ายคลึงกันหรือใกล้เคียงกัน (2.2) ยุบรวมสายงานที่มีตำแหน่งเริ่มต้นจากระดับ 3 เข้าด้วยกัน สำหรับสายงานที่มีลักษณะงานที่ปฏิบัติและคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งคล้ายคลึงกันหรือใกล้เคียงกัน * สรุปมาตรฐานกำหนดตำแหน่งปัจจุบัน 464 สายงาน เหลือ ประมาณ 230 สายงาน

13 การจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่ (ต่อ)
ตัวอย่างการยุบเลิกสายงาน สายงานที่กำหนดไว้ในปัจจุบัน จำนวน 464 สายงาน มีสายงานที่อาจยุบเลิกได้ประมาณ 104 สายงาน เช่น สายงานเจ้าหน้าที่ บริหารงาน …… จำนวน 56 สายงาน และสายงานอื่นๆ เช่น -สายงานการโทรคมนาคม -สายงานผดุงครรภ์สาธารณสุข -สายงานนักประชาสงเคราะห์ -สายงานการไปรษณียโทรเลข -สายงานเจ้าพนักงานพัฒนาชนบท เป็นต้น

14 การจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่ (ต่อ)
5. ปรับปรุงชื่อสายงานและชื่อตำแหน่งให้สื่อถึงประเภทตำแหน่งที่บัญญัติไว้ในร่าง พ.ร.บ.ฯ เช่น -ตำแหน่งประเภทวิชาการจะใช้คำนำหน้าว่า “นัก……………..” -ตำแหน่งประเภททั่วไปจะใช้คำนำหน้าว่า “เจ้าพนักงาน ……..” ยกเว้นชื่อสายงานและ ชื่อตำแหน่งที่มีลักษณะเฉพาะ เช่น ตำแหน่ง “อาลักษณ์” ซึ่งเป็นตำแหน่งพิเศษเฉพาะที่ปฏิบัติเกี่ยวกับพระราชพิธี

15 การจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่ (ต่อ)
* ส่วนแตกต่างที่สำคัญบางประการในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่ 1. หน้าที่ความรับผิดชอบ ครอบคลุมและชัดเจนขึ้น -แยกด้านให้เห็นชัดเจน -รายละเอียดในแต่ละด้านระบุเป้าหมาย/ผลสัมฤทธิ์ที่จะได้รับ -ส่วนราชการร่วมเขียน 2. คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง -คุณวุฒิการศึกษาเปิดกว้างให้ส่วนราชการเจ้าสังกัดเป็นผู้พิจารณา -เพิ่มระดับความรู้และทักษะให้ชัดเจน 3. กำหนดสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงาน

16 ความก้าวหน้าในอาชีพ ... ประเภทบริหาร ระดับสูง ฿ ระดับต้น ฿
วุฒิการศึกษาปริญญาตรี อายุงาน ความรู้/ทักษะที่ต้องการ สมรรถนะที่ต้องการ ระดับสูง ฿ อายุงาน บรรลุ KPIs 3 ปีติดต่อกัน ความรู้/ทักษะที่ต้องการ สมรรถนะที่ต้องการ ระดับต้น ฿ ระดับทรงคุณวุฒิ ฿ ระดับทักษะพิเศษ ฿ ระดับเชี่ยวชาญ ฿ ระดับอาวุโส ฿ ประเภททั่วไป ชำนาญการพิเศษ ฿ ประเภทวิชาการ ระดับชำนาญงาน ฿ ระดับชำนาญการ ฿ ระดับปฏิบัติงาน ฿ ระดับปฏิบัติการ ฿ ระดับสูง ฿ ระดับต้น ฿ อายุงาน ความรู้/ทักษะที่ต้องการ สมรรถนะที่ต้องการ ประเภทอำนวยการ 16

17 อำนาจในการกำหนดตำแหน่ง ( มาตรา 47 -48)
ก.พ. จัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง หลักเกณฑ์ อ.ก.พ. กระทรวง กำหนดตำแหน่งได้ตามหลักเกณฑ์ จำนวน ประเภท สายงาน ระดับ

18 หลักเกณฑ์การปรับตำแหน่งสูงขึ้นในตำแหน่ง ประเภททั่วไป และประเภทวิชาการ
ตำแหน่งประเภททั่วไปและตำแหน่งประเภทวิชาการบางตำแหน่งที่กำหนดไว้หลายระดับ ตามบัญชีจัดตำแหน่ง 1) ตำแหน่งประเภททั่วไป ได้แก่ ตำแหน่งระดับปฏิบัติงาน หรือชำนาญงาน 2) ตำแหน่งประเภทวิชาการ ได้แก่ (1) ตำแหน่งระดับปฏิบัติการ หรือชำนาญการ (2) ระดับปฏิบัติการ หรือชำนาญการ หรือ ชำนาญการพิเศษ

19 หลักเกณฑ์การปรับตำแหน่งสูงขึ้นในตำแหน่งประเภททั่วไป และประเภทวิชาการ
หน้าที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมในสาระสำคัญถึงขนาดต้องปรับ ปรับสูงขึ้นได้คราวละ 1 ระดับโดยผ่านเกณฑ์ประเมินค่างาน ต้องเป็นไปเพื่อผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ และตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ค่าใช้จ่ายด้านบุคคลภาครัฐไม่ให้เพิ่มสูงขึ้น อ.ก.พ. กรม กลั่นกรอง และเสนอ อ.ก.พ. กระทรวง พิจารณา

20 โครงสร้างตำแหน่งและชั้นงานของกระทรวง ฯ
กระทรวงสาธารณสุข บริหาร สป. กรม บริหาร สำนัก/กอง บริหาร อำนวยการ หรือ เฉพาะด้าน สสจ. อำนวยการเฉพาะด้าน(แพทย์) สสอ. รพศ./รพท อำนวยการเฉพาะด้าน (แพทย์) สอ. รพช. วิชาการ หรือทั่วไป วิชาการ

21 ปัญหา การรวบสายงาน สิทธิประโยชน์ ความก้าวหน้า

22 สิ่งที่กระทรวง/ สป.ต้องดำเนินการ
การคงสิทธิที่เคยมียู่เดิม เช่นการปรับสายงานจากประเภททั่วไป เป็นวิชาการ สสอ. หรือ สอ. ที่มีวุฒิ ป. ตรี ความก้าวหน้า


ดาวน์โหลด ppt การบริหารกำลังคนภาครัฐ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google