งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การดำเนินการจัดการระบบการเลี้ยง และสุขภาพสัตว์ และ สัตว์ป่าให้ปลอดโรค อย่างไร้พรมแดน บุษบง กาญจนสาขา หัวหน้ากลุ่มงานวิจัยสัตว์ป่า สำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

2 แผนผังหน่วยงานภายในกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
อธิบดี สำนักบริหาร งานกลาง CITES กองนิติการ สำนักป้องกัน ปราบปรามและควบคุมไฟป่า สำนักแผนงานและสารสนเทศ สำนักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ ตามคำสั่งคณะกรรมการอำนวยการเตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ ที่ 24/2556 เรื่องการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการการจัดการระบบการเลี้ยง และและสุขภาพสัตว์ และสัตว์ป่า ลงวันที่ 11 มิถุนายน 2556 โดยมีการแต่งตั้งอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เป็นอนุกรรมการและเลขานุการร่วม และมีผู้อำนวยการสำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติฯ เป็นอนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการร่วม แนวทางการดำเนินงานภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ 2 ซึ่งจะครอบคลุมถึง การระบบการเลี้ยงสัตว์และตรวจโรคให้มีมาตรฐาน รวมถึงเฝ้าระวังโรคติดต่ออุบัติใหม่ แบ่งเป็น 8 กลยุทธ์ด้วยกัน ดังนี้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช สำนักสนองงานพระราชดำริ สำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า สำนักอุทยานแห่งชาติ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1-16

3 การจัดการระบบการเลี้ยงและสุขภาพสัตว์ป่า
สัตว์ป่าในธรรมชาติ สัตว์ป่าในกรงเลี้ยง สัตว์ป่าของกลาง

4 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดการระบบการเลี้ยงและสุขภาพสัตว์ และสัตว์ป่า ให้ปลอดโรค
ปรับปรุงและพัฒนารูปแบบการเลี้ยงสัตว์รายย่อย และการเลี้ยงสัตว์เชิงอุตสาหกรรม ป้องกันการนำเข้าโรคติดต่ออุบัติใหม่จากต่างประเทศ พัฒนาบุคลากรและถ่ายทอดความรู้ให้แก่กลุ่มเสี่ยงในกิจการเลี้ยงสัตว์ ส่งเสริมระบบการฆ่าสัตว์ให้มีมาตรฐาน ฟื้นฟูระบบการเลี้ยง สายพันธุ์ และการตลาดของสัตว์เลี้ยงและสัตว์ปีกสวยงาม หลังได้รับผล กระทบจากปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ จัดทำระบบการตรวจสอบย้อนกลับใน อุตสาหกรรมสัตว์เชิงธุรกิจ ศึกษาและวิจัยด้านการปรับระบบการเลี้ยง สัตว์และปัจจัยเสี่ยงของโรคติดต่ออุบัติใหม่ ในสัตว์ 8. ศึกษาความมั่นคง และความหลากหลาย ทางชีวภาพ และพันธุกรรมของสัตว์ป่า ตามคำสั่งคณะกรรมการอำนวยการเตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ ที่ 24/2556 เรื่องการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการการจัดการระบบการเลี้ยง และและสุขภาพสัตว์ และสัตว์ป่า ลงวันที่ 11 มิถุนายน 2556 โดยมีการแต่งตั้งอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เป็นอนุกรรมการและเลขานุการร่วม และมีผู้อำนวยการสำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติฯ เป็นอนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการร่วม แนวทางการดำเนินงานภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ 2 ซึ่งจะครอบคลุมถึง การระบบการเลี้ยงสัตว์และตรวจโรคให้มีมาตรฐาน รวมถึงเฝ้าระวังโรคติดต่ออุบัติใหม่ แบ่งเป็น 8 กลยุทธ์ด้วยกัน ดังนี้

5 กลยุทธ์ที่ 1 ปรับปรุงและพัฒนารูปแบบการเลี้ยงสัตว์รายย่อย และการเลี้ยงสัตว์เชิงอุตสาหกรรม
การดำเนินงานที่ผ่านมา 1. จัดระบบการเลี้ยงสัตว์ป่า การตรวจรักษาโรค และเฝ้า ระวังโรคระบาดในสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า 2. ตั้งคณะทำงานจัดทำมาตรฐานและหลักเกณฑ์ในการ พิจารณาอนุญาตให้จัดตั้งและดำเนินกิจการสวนสัตว์ สาธารณะ 3. จัดทำเอกสารเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าชนิดต่างๆ กลยุทธ์ที่ 1 ปรับปรุงและพัฒนารูปแบบการเลี้ยงสัตว์รายย่อย และการเลี้ยงสัตว์เชิงอุตสาหกรรม การดำเนินงานที่ผ่านมาของกรมอุทยานแห่งชาติฯ ได้แก่ การจัดการระบบการเลี้ยงสัตว์ การตรวจรักษาโรค และเฝ้าระวังโรคระบาดในสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า การตรวจสุขภาพสัตว์ป่าในสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ปา อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 2. การแต่งตั้งคณะทำงานจัดทำร่างมาตรฐานและหลักเกณฑ์ในการพิจารณาอนุญาตให้จัดตั้งและดำเนินกิจการสวนสัตว์สาธารณะ คำสั่งกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่ 1809/2555 ลงวันที่ 20 กันยายน 2555 ร่วมกับองค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูปถัมภ์และมหาวิทยาลัยต่างๆ เช่นมหาวิทยาลัยมหิดล 3. จัดทำเอกสารเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าชนิดต่างๆ ให้ปลอดโรค เช่น การเพาะเลี้ยงกวางป่า

6 กลยุทธ์ที่ 1 ปรับปรุงและพัฒนารูปแบบการเลี้ยงสัตว์รายย่อย และการเลี้ยงสัตว์เชิงอุตสาหกรรม
แผนการดำเนินงานในอนาคต 1. จัดทำมาตรฐานกรงเลี้ยงสัตว์ และมาตรฐานสวนสัตว์ สาธารณะ 2. จำกัดพื้นที่ที่มีการใช้ประโยชน์ร่วมกันของคน สัตว์ และสัตว์ ป่า 3. รณรงค์ให้งดการให้อาหารแก่สัตว์ป่าที่อาศัยอยู่ใกล้เขตชุมชน 4. จัดทำสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าปลอดโรค และอบรมสัตว แพทย์/เจ้าหน้าทีประจำสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า ในการดูแลสัตว์ ป่าให้ปลอดโรคตามหลักความปลอดภัยทางชีวภาพ กลยุทธ์ที่ 1 ปรับปรุงและพัฒนารูปแบบการเลี้ยงสัตว์รายย่อย และการเลี้ยงสัตว์เชิงอุตสาหกรรม แผนการดำเนินงานในอนาคต 1. จัดทำมาตรฐานกรงเลี้ยงสัตว์ และมาตรฐานสวนสัตว์สาธารณะ 2. จำกัดพื้นที่ที่มีการใช้ประโยชน์ร่วมกันของคน สัตว์ และสัตว์ป่า 3. รณรงค์ให้งดการให้อาหารแก่สัตว์ป่าที่อาศัยอยู่ใกล้เขตชุมชน 4. ศึกษาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการจัดตั้งสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า 5. จัดทำสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าปลอดโรค และอบรมสัตวแพทย์/เจ้าหน้าทีประจำสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า ในการดูแลสัตว์ป่าให้ปลอดโรคตามหลักความปลอดภัยทางชีวภาพ

7 กลยุทธ์ที่ 2 ป้องกันการนำเข้าโรคติดต่ออุบัติใหม่จากต่างประเทศ
กลยุทธ์ที่ 2 ป้องกันการนำเข้าโรคติดต่ออุบัติใหม่จากต่างประเทศ การดำเนินการที่ผ่านมา 1. ตรวจค้นโรคไข้หวัดนกในนกอพยพเพื่อเฝ้าระวังการนำโรคเข้าสู่ประเทศในช่วงฤดูการอพยพของนก 2. ร่วมมือกับกรมปศุสัตว์ควบคุมการนำเข้าสัตว์ป่าบริเวณด่านศุลกากร เพื่อตรวจใบรับรองสุขภาพ รวมทั้งกักกันโรคอย่างเข้มงวด โดยเฉพาะในช่วงมีการระบาดของโรคสัตว์สู่คนที่รุนแรง 3. ตั้งด่านตรวจสัตว์ป่า 37 แห่ง เพื่อตรวจสอบการลักลอบนำเข้า/นำผ่านสัตว์ป่าตาม พ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ และตามอนุสัญญา CITES ปัญหาและอุปสรรค สัตว์ต่างถิ่นบางชนิด ไม่อยู่ภายใต้ พ.ร.บ. และความรับผิดชอบของหน่วยงานใด เช่น อัลปาก้า และชูก้าไกลเดอร์ กลยุทธ์ที่ 2 ป้องกันการนำเข้าโรคติดต่ออุบัติใหม่จากต่างประเทศ การดำเนินการ 1. ตรวจค้นโรคไข้หวัดนกในนกธรรมชาติเพื่อเฝ้าระวังการนำโรคเข้าสู่ประเทศในช่วงฤดูการอพยพของนก 2. ร่วมมือกับกรมปศุสัตว์ตรวจการนำเข้าสัตว์ป่าบริเวณด่านศุลกากร เพื่อตรวจใบรับรองสุขภาพ รวมทั้งกักกันโรคอย่างเข้มงวด โดยเฉพาะในช่วงมีการระบาดของโรคสัตว์สู่คนที่รุนแรง 3. จัดตั้งด่านตรวจสัตว์ป่าเพื่อตรวจสอบการลักลอบนำเข้า/นำผ่าน สัตว์ป่าตาม พ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ และตามอนุสัญญา CITES ปัญหาและอุปสรรค - สัตว์ต่างถิ่นบางชนิด ไม่อยู่ภายใต้พ.ร.บ และความรับผิดชอบของหน่วยงานใด เช่น อัลปาก้า และชูก้าไกลเดอร์

8 กลยุทธ์ที่ 2 ป้องกันการนำเข้าโรคติดต่ออุบัติใหม่จากต่างประเทศ
กลยุทธ์ที่ 2 ป้องกันการนำเข้าโรคติดต่ออุบัติใหม่จากต่างประเทศ แผนการดำเนินงาน โครงการพัฒนาองค์ความรู้เรื่องโรคติดต่ออุบัติใหม่ให้กับเจ้าหน้าที่ประจำด่านตรวจสัตว์ป่าตามอนุสัญญา CITES รวมทั้งกฎระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กลยุทธ์ที่ 2 ป้องกันการนำเข้าโรคติดต่ออุบัติใหม่จากต่างประเทศ แผนการดำเนินงาน โครงการพัฒนาองค์ความรู้เรื่องโรคติดต่ออุบัติใหม่ให้กับเจ้าหน้าที่ประจำด่านตรวจสัตว์ป่า ตามอนุสัญญา CITES รวมทั้งกฎระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

9 กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาบุคลากรและถ่ายทอดความรู้ให้แก่กลุ่มเสี่ยงในกิจการเลี้ยงสัตว์
การดำเนินงานที่ผ่านมา 1. ส่งสัตวแพทย์เข้าร่วมโครงการอบรมนักระบาดวิทยาภาคสนาม (FETP-V/W) 2. พัฒนาองค์ความรู้ด้านโรคติดต่ออุบัติใหม่ ให้แก่สัตวแพทย์ เจ้าหน้าที่ประจำด่านตรวจสัตว์ป่า และเจ้าหน้าที่ป่าไม้ที่ ปฏิบัติงานในการเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่ในสัตว์ป่า 3. จัดทำคู่มือการปฏิบัติงานสำหรับเจ้าที่เพื่อป้องกันและควบคุม โรคติดต่ออุบัติใหม่ในสัตว์ธรรมชาติ 4. จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อให้ความรู้เรื่องโรคติดต่ออุบัติใหม่ในสัตว์ป่าแก่ประชาชน กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาบุคลากรและถ่ายทอดความรู้ให้แก่กลุ่มเสี่ยงในกิจการเลี้ยงสัตว์ การดำเนินงานที่ผ่านมา 1. ส่งสัตวแพทย์เข้าร่วมโครงการอบรมนักระบาดวิทยาภาคสนาม (FETP-V/W) 2. พัฒนาองค์ความรู้ด้านโรคติดต่ออุบัติใหม่ ให้แก่สัตวแพทย์และเจ้าหน้าที่ ป่าไม้ที่ปฏิบัติงานในการเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่ในสัตว์ป่า 3. จัดทำคู่มือการปฏิบัติงานสำหรับเจ้าที่เพื่อป้องกันและควบคุม โรคติดต่ออุบัติใหม่ในสัตว์ธรรมชาติ 4. จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อให้ความรู้เรื่องโรคติดต่ออุบัติใหม่ในสัตว์ป่า แก่ประชาชน

10 โครงการพัฒนาบุคลากร เจ้าหน้าที่ด่านตรวจสัตว์ป่าของกองคุ้มครองพันธุ์พืชป่าและสัตว์ป่าตามอนุสัญญา ณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูหลวง จ.เลย วันที่ ธันวาคม 2557 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการพัฒนาบุคลากร การอบรมเจ้าหน้าที่ด่านตรวจสัตว์ป่าของกองคุ้มครองพันธุ์พืชป่าและสัตว์ป่าตามอนุสัญญา ตามแนวชายแดนพม่า ลาว และเขมร เพื่อให้ความรู้ด้านโรคในสัตว์ป่า และโรคจากสัตว์สู่คน การจำแนกชนิดพันธุ์นก ดำเนินการอบรมโดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญเรื่องการจำแนกชนิดนก หัวหน้าสถานีวิจัยสัตว์ป่าภูหลวง สัตว์แพทย์ และเชิญวิทยากรจากกองสารวัตและกักกัน กรมปศุสัตว์มาเป็นวิทยากรบรรยายในเรื่องแนวทางการเฝ้าระวังโรคตามแนวชายแดน

11 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการพัฒนาบุคลากร
โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการพัฒนาบุคลากร เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานกับสัตว์ป่า โดยการให้ความรู้ด้านโรค และโรคจากสัตว์สู่คนการจำแนกชนิดพันธุ์นก ดำเนินการอบรมโดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญเรื่องการจำแนกชนิดนก และสัตว์แพทย์ รุ่นที่ 1 ที่ศูนย์ศึกษาธรรมชาติบึงบอระเพ็ด จ.นครสวรรค์ ในวันที่ ในวันที่ 13 – 14 พฤศจิกายน 2557 และรุ่นที่ 2 ที่ อุทยานแห่งชาติแก่งตะนะ จ.อุบลราชธานี ในวันที่ 27 – 28 พฤศจิกายน ๒๕๕7

12 กลยุทธ์ที่ 5 ฟื้นฟูระบบการเลี้ยง สายพันธุ์ และการตลาดของสัตว์เลี้ยงและสัตว์ปีกสวยงาม หลังได้รับผล กระทบจากปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ การดำเนินงานที่ผ่านมา - เฝ้าระวังโรคติดต่ออุบัติใหม่ในสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า สวนสัตว์เอกชน สวนสัตว์สาธารณะ โดยหน่วยงานส่วนภูมิภาค 16 แห่ง กลยุทธ์ที่ 5 ฟื้นฟูระบบการเลี้ยง สายพันธุ์ และการตลาดของสัตว์เลี้ยงและสัตว์ปีกสวยงาม หลังได้รับผล กระทบจากปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ การดำเนินงาน เฝ้าระวังโรคติดต่ออุบัติใหม่ในสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า สวนสัตว์เอกชน สวนสาธารณะ โดยหน่วยงานส่วนภูมิภาค 16 แห่ง สำหรับยุทธศาสตร์นี้ กรมอุทยานฯ ยังไม่มีแผนการดำเนินในอนาคต

13 กลยุทธ์ที่ 6 จัดทำระบบการตรวจสอบย้อนกลับในอุตสาหกรรมสัตว์เชิงธุรกิจ
การดำเนินงานที่ผ่านมา - จัดทำและพัฒนาระบบการทำเครื่องหมายระบุตัวสัตว์ ในกรณีสัตว์ป่าที่อนุญาตให้เพาะพันธุ์ได้ และในสถานี เพาะเลี้ยงสัตว์ป่า - ฐานข้อมูลสวนสัตว์เอกชน และสวนสัตว์สาธารณะ (ที่ตั้ง ชนิดพันธุ์ จำนวนสัตว์ ฯลฯ) แผนการดำเนินงานในอนาคต พัฒนาระบบทะเบียนสัตว์ป่า และฐานข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์ป่า ในสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า และสวนสัตว์เอกชน กลยุทธ์ที่ 6 จัดทำระบบการตรวจสอบย้อนกลับในอุตสาหกรรมสัตว์เชิงธุรกิจ การดำเนินงานที่ผ่านมา - จัดทำและพัฒนาระบบการทำเครื่องหมายระบุตัวสัตว์ ในกรณีสัตว์ป่าที่อนุญาตให้เพาะพันธุ์ได้ และในสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า - ฐานข้อมูลสวนสัตว์เอกชน และสวนสัตว์สาธารณะ (ที่ตั้ง ชนิดพันธ์ จำนวนสัตว์ ฯลฯ) แผนการดำเนินงานในอนาคต พัฒนาระบบทะเบียนสัตว์ป่า และฐานข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์ป่า ในสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า และสวนสัตว์เอกชน

14 กลยุทธ์ที่ 7 ศึกษาและวิจัยด้านการปรับระบบการเลี้ยงสัตว์และปัจจัยเสี่ยงของโรคติดต่ออุบัติใหม่ในสัตว์
การดำเนินงานที่ผ่านมา 1. จัดทำคู่มือการเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าชนิดต่างๆ เช่น การเพาะเลี้ยงกวางป่า กระจง เก้ง และไก่ฟ้าสายพันธุ์ต่างๆ 2. สำรวจโรคติดต่ออุบัติใหม่ เช่น โรคไข้หวัดนก ในตลาดค้าสัตว์ร่วมกับกรมปศุสัตว์ กทม. และกรมควบคุมโรค 3. การสำรวจโรคติดต่ออุบัติใหม่ในบริเวณแหล่งรวมสัตว์ต่างๆ เช่น บริเวณแหล่งพักนอนของค้างคาวที่อยู่ใกล้ชุมชน และบริเวณแหล่งอาศัยของลิงที่อยู่ใกล้ชุมชน 4. สำรวจแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าที่อยู่รวมกลุ่มกันเป็นจำนวนมาก เช่น ค้างคาว ลิง นกน้ำ เพื่อสนับสนุนข้อมูลการเฝ้าระวังโรคติดต่ออุบัติใหม่สู่ปศุสัตว์ กลยุทธ์ ที่ 7 ศึกษาและวิจัยด้านการปรับระบบการเลี้ยงสัตว์ และปัจจัยเสี่ยงของโรคติดต่ออุบัติใหม่ในสัตว์ การดำเนินงานที่ผ่านมา 1. สำรวจโรคติดต่ออุบัติใหม่ เช่น โรคไข้หวัดนก ในตลาดค้าสัตว์ร่วมกับ กรมปศุสัตว์ กทม. และกรมควบคุมโรค 2. การสำรวจโรคติดต่ออุบัติใหม่ในบริเวณแหล่งรวมสัตว์ต่างๆ เช่น บริเวณแหล่งพักนอนของค้างคาวที่อยู่ใกล้ชุมชน และบริเวณแหล่งอาศัยของลิงที่อยู่ใกล้ชุมชน 3. สำรวจแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าที่อยู่รวมกลุ่มกันเป็นจำนวนมาก เช่น ค้างคาว ลิง นกน้ำ เพื่อสนับสนุนข้อมูลการเฝ้าระวังโรคติดต่ออุบัติใหม่สู่ปศุสัตว์

15 กลยุทธ์ที่ 7 ศึกษาและวิจัยด้านการปรับระบบการเลี้ยงสัตว์และปัจจัยเสี่ยงของโรคติดต่ออุบัติใหม่ในสัตว์
แผนการดำเนินงานในอนาคต - ศึกษาความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของเชื้อโรคระหว่างสัตว์ป่าและสัตว์เลี้ยงบริเวณรอยต่อระหว่างพื้นที่ป่าอนุรักษ์และชุมชน - จัดทำคู่มือการเคลื่อนย้ายสัตว์ป่า การปล่อยสัตว์ป่าคืนสู่ธรรมชาติ ให้ปลอดโรค กลยุทธ์ ที่ 7 ศึกษาและวิจัยด้านการปรับระบบการเลี้ยงสัตว์ และปัจจัยเสี่ยงของโรคติดต่ออุบัติใหม่ในสัตว์ แผนการดำเนินงานในอนาคต - ศึกษาความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของเชื้อโรคระหว่างสัตว์ป่าและสัตว์เลี้ยงบริเวณรอยต่อ ระหว่างพื้นที่ป่าอนุรักษ์และชุมชน - จัดทำคู่มือการเคลื่อนย้ายสัตว์ป่า การปล่อยสัตว์ป่าคืนสู่ธรรมชาติ ให้ปลอดโรค

16 กลยุทธ์ที่ 8 ศึกษาความมั่นคง และความหลากหลายทางชีวภาพ และพันธุกรรมของสัตว์ป่า
การดำเนินงานที่ผ่านมา 1. จัดตั้งคลินิกสัตว์ป่าในสำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ 5 แห่ง 2. ตรวจสอบและสำรวจโรคติดต่ออุบัติใหม่ในชนิดพันธุ์สัตว์ ต่างประเทศที่ลักลอบนำเข้ามาจากต่างประเทศ 3. ฐานข้อมูลพันธุกรรมสัตว์ป่าในกรงเลี้ยง 4. การศึกษาชนิดพันธุ์สัตว์ต่างถิ่นใน ประเทศไทย แผนการดำเนินงานในอนาคต - จัดตั้งห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์โรค เบื้องต้นในสัตว์ป่า กลยุทธ์ที่ 8 ศึกษาความมั่นคง และความหลากหลายทางชีวภาพ และพันธุกรรมของสัตว์ป่า การดำเนินงานที่ผ่านมา 1. จัดตั้งคลินิกสัตว์ป่าในสำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ 5 แห่ง เพื่อจัดการสุขภาพสัตว์ป่าในธรรมชาติ และสัตว์ป่าในสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า 2. ตรวจสอบและสำรวจโรคติดต่ออุบัติใหม่ในชนิดพันธุ์สัตว์ต่างประเทศที่ลักลอบนำเข้ามาในต่างประเทศ 3. ฐานข้อมูลพันธุกรรมสัตว์ป่าในกรงเลี้ยง 4. การศึกษาชนิดพันธุ์สัตว์ต่างถิ่นในประเทศไทย แผนการดำเนินงานในอนาคต - จัดตั้งห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์โรคเบื้องต้นในสัตว์ป่า

17 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google