งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น จำกัดตามเนื้อหาของสิ่งพิมพ์ประเภทใดประเภทหนึ่ง ตามระดับผู้อ่าน ตามระดับคุณสมบัติของห้องสมุด ตามรูปแบบสิ่งพิมพ์ ตามระยะเวลาหรือปีที่พิมพ์ ตามผู้แต่งคนใดคนหนึ่ง หรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง

2 การประเมินค่าบรรณานุกรม
ผู้ผลิต วัตถุประสงค์ ขอบเขตของบรรณานุกรม ระยะเวลาของบรรณานุกรม รายการที่ลงมีความถูกต้อง ผู้ผลิต : หน่วยงานใด ความน่าเชื่อถือ obj : เพื่อบุคคลใด ขอบเขต : สาขาวิชา? รูปแบบ? ระยะเวลา : ปีที่พิมพ์บรรณานุกรม

3 โฆษณาและแจ้งความ เป็นการโฆษณาหนังสือและสิ่งพิมพ์ของสำนักพิมพ์ ผู้ผลิตหรือร้านจำหน่ายหนังสือ การโฆษณาและแจ้งความดังกล่าว จะให้รายละเอียดทางบรรณานุกรม ราคา การติดต่อสั่งซื้อ บางครั้งอาจมีภาพหน้าปก และบรรณนิทัศน์ ความดีเด่นและประโยชน์ของสิ่งพิมพ์นั้นๆด้วย 1. การโฆษณาและแจ้งความอาจทำได้หลายวิธี เช่น ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ วารสาร หรือในหนังสือบางเล่ม จัดพิมพ์เป็นแผ่นปลิวจัดส่งไปตามห้องสมุด หน่วยงานต่างๆหรือผู้ที่สนใจ

4 รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศที่จัดทำโดยร้านค้า
สำนักพิมพ์หรือร้านจำหน่ายหนังสือ มักจะจัดพิมพ์รายชื่อสิ่งพิมพ์ที่ตนจัดพิมพ์หรือจัดจำหน่ายออกเผยแพร่แก่ผู้ที่สนใจ สำหรับสำนักพิมพ์ของไทย จะจัดพิมพ์เป็นรูปเล่มบางๆแบบ จุลสาร อาจให้ข้อมูลแตกต่างกัน บางแห่งอาจมีการแยกสาขาวิชา หรือกลุ่มผู้อ่านไว้ เพื่อสะดวกในการเลือก เช่น หมวดวรรณคดีฉบับการ์ตูน หมวดตำราภาษาอังกฤษ อาจให้รายละเอียดต่างกัน เช่น ภาพปก บรรณนิทัศน์ รายการบรรณานุกรม

5 บทวิจารณ์และแนะนำทรัพยากรที่มีในท้องตลาด
วารสารหรือนิตยสารทั่วไป หนังสือพิมพ์ สิ่งพิมพ์ของห้องสมุด เป็นการแนะนำหรือชักจูงให้ซื้อ ต้องประเมินค่าอีกครั้ง แต่ถ้าเป็นบทวิจารณ์จะผ่านการประเมินค่ามาแล้ว ส่วนใหญ่จะเป็นพวกวรรณกรรม ไม่ใช่หนังสือวิชาการหรือสารคดี

6 ประเภทของหนังสือที่แนะนำมักจะเป็นไปตามประเภทของนิตยสารหรือวารสารนั้น รายละเอียดที่ให้ เป็นเพียงแนะนำให้รู้ว่า เรื่องอะไร ใครเขียน มีสาระสำคัญย่อๆ ว่าอย่างไร เพื่อผู้อ่านจะพอตัดสินใจได้ว่าควรหาอ่านหรือซื้ออ่านหรือไม่ เป็นการแนะนำชื่อเรื่อง ผู้แต่ง สาระของหนังสือ ตลอดจนวิจารณ์อย่างละเอียด บอกทั้งข้อดีและข้อเสีย เสนอข่าวเกี่ยวกับความเคลื่อนไหวของนักเขียนและตลาดหนังสือ

7 รายชื่อทรัพยากรห้องสมุดต่างๆ
ปัจจุบันใช้การสืบค้นผ่านทาง website ห้องสมุดต่างๆ หากห้องสมุดมีงบประมาณจำกัด อาจใช้วิธีการยืมระหว่างห้องสมุดได้ หากห้องสมุดใดมีการจัดทำวารสารหรือจุลสาร ก็จะมีการตีพิมพ์รายชื่อทรัพยากรใหม่ของห้องสมุดลงไปด้วย ห้องสมุดบางแห่งอาจจัดทำรายชื่อทรัพยากรห้องสมุดในรูปของเอกสารอัดสำเนา รายชื่อทรัพยากร อาจประกอบด้วย รายการบรรณานุกรม เลขเรียกหนังสือ และอาจจัดส่งไปให้ห้องสมุดต่างๆ

8 แหล่งอื่นๆ บรรณานุกรมที่อยู่ตอนท้ายของบทหรือตอนท้ายของหนังสือ
รายชื่อทรัพยากรที่ผู้สอนหรือผู้ทำวิจัยเสนอแนะให้ห้องสมุดจัดหาเข้ามายังห้องสมุด รายการแนะนำหรือสนทนาเกี่ยวกับหนังสือ เว็บไซต์ร้านหนังสือ สำนักพิมพ์ต่างๆ และห้องสมุดต่างๆ

9 เว็บไซต์ร้านหนังสือและสำนักพิมพ์
เป็นเว็บไซต์เพื่อการค้า จูงใจเพื่อให้ซื้อสินค้า ข้อมูลที่ให้ จะเป็นการแนะนำหนังสือหรือทรัพยากรอื่นๆที่ร้านหนังสือหรือสำนักพิมพ์นั้นมีจำหน่ายเท่านั้น ร้านหนังสือแต่ละแห่งจะเน้นสาขาวิชา หรือเนื้อหาของทรัพยากรไม่เหมือนกัน ให้ความสำคัญต่างกัน เนื่องจากเหตุผลทางการค้า

10 การวิจารณ์หรือแนะนำ จะชี้ให้เห็นเฉพาะด้านดีเท่านั้น
ควรพิจารณาความน่าเชื่อถือ การบริการ ของร้านหนังสือหรือสำนักพิมพ์นั้นด้วย เปรียบเทียบราคาและส่วนลด ของร้านหนังสือหรือสำนักพิมพ์แต่ละแห่ง

11 เว็บไซต์ห้องสมุด เพื่อศึกษาทรัพยากรที่ห้องสมุดแต่ละแห่งมี โดยเฉพาะห้องสมุดที่เน้นทางสาขาใดสาขาหนึ่ง เพื่อเป็นแนวทางในการเลือกทรัพยากรสารสนเทศสาขาวิชานั้นๆ เพื่อเป็นแหล่งในการใช้บริการยืมระหว่างห้องสมุด ตรวจสอบรายการบรรณานุกรม ปีที่พิมพ์ สำนักพิมพ์ เพื่อความถูกต้อง เพื่อพิจารณาว่านักวิจัย / ผู้เชี่ยวชาญ ในสาขาวิชานั้นๆแนะนำทรัพยากรใดบ้าง


ดาวน์โหลด ppt นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google