งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Parasitology Medical Protozoalogy

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Parasitology Medical Protozoalogy"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Parasitology Medical Protozoalogy
Amporn Thiengtrongdee 29/2/12 สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1

2 Protozoa เป็นสัตว์เซลล์เดียวอยู่เป็นกลุ่ม ขนาดเล็กต้องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ รูปร่างไม่แน่นอนเปลี่ยนตามการเคลื่อนไหว มี 1-8 นิวเคลียส ดำรงชีวิตแบบ free living, mutualism, parasitism เคลื่อนไหวโดยใช้ขาเทียม (pseudopodia), หนวด(flagella), ขน (cilia) สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ

3 ชนิดของ ProtoZoa Amoeba เคลื่อนที่โดยใช้ Psudopodia
Flagellate เคลื่อนที่โดยใช้ Flagella Ciliate เคลื่อนที่โดยใช้ cilia Sporozoa ไม่มีอวัยวะพิเศษในการเคลื่อนที่ แต่มีการสืบพันธุ์โดยอาศัยเพศในวงจรชีวิต เช่น Malaria Genus Plasmodium Microsporidium ไม่มีอวัยวะพิเศษในการเคลื่อนที่ แต่มีสปอร์

4 คำจำกัดความ ระยะ Trophozoite ระยะที่เชื้อโปรโตซัวมีการกินอาหาร เคลื่อนที่ได้ แบ่งตัวได้ ระยะ Cyst ระยะที่ไม่มีการกินอาหาร ไม่เคลื่อนที่ มีเปลือกหุ้ม (cyst wall) เพื่อป้องกันอันตราย

5 Trophozoite นิวเคลียส มี Karyosome ขนาดเล็กอยู่ตรงกลาง มี Psudopodia

6 Amoeba ที่มีความสำคัญทางการแพทย์
เป็นปรสิตและก่อโรค (Pathogenic) คือ Entamoeba histolytica เป็นปรสิตแต่ไม่ก่อโรค (nonpathogenic) คือ Entamoeba coli, Iodamoeba buetchlii, Endolimax nana ดำรงชีพอย่างอิสระบางครั้งก่อโรคในคน (free living) เช่น Acanthamoeba spp., Naegleria fowleri

7 Entamoeba histolytica
โรค : บิดอะมีบา (Amoebiasis) การติดต่อ : กินระยะ Cyst ที่มี 4 นิวเคลียส Diagnosis : พบ Trophozoite ในอุจจาระเหลว พบ cyst ในอุจจาระแข็ง ควรตรวจภายใน 1 ชั่วโมงหลังจากได้อุจจาระจากผู้ป่วย ตรวจทางอิมมูโนวิทยา Treatment : Metronidazole mg ครั้ง/วัน นาน 5-10 วัน

8 Amoebiasis มีหลายชนิด
เกิดโรค บิดมีตัว (amoebic dysentery) ฝีบิดในตับ (amoebic liver abscess) ฝีบิดที่สมอง (amoebic brain abscess) อาศัยอยู่ในลำไส้ใหญ่ของคน กรณีที่ผู้ป่วยไม่มีอาการจะเป็นผู้ที่แพร่เชื้อได้ เรียก พาหะ (carrier)

9 การติดต่อ E. histolytica
กิน Cyst ระยะ 4 นิวเคลียส ซึ่ง cyst ระยะนี้จะพบในอุจจาระแข็ง Cyst แตกตัวเจริญเป็น Trophozoite ในลำไส้

10 Entamoeba histolytica
Trophozoite Pseudopodia นิวเคลียส 1 อัน Trophozoite ตรวจพบในอุจจาระเหลว เม็ดเลือดแดง ที่ Trophozoite กิน

11 วงจรชีวิต Entamoeba histolytica

12

13 ฝีบิดในตับ (amoebic liver abscess)
หนองจากฝีบิด สีกะปิ การเจาะหนองในตับ ตับโต

14 พยาธิสภาพของ E. histolytica
Trophozoite จะทำลาย mucasa ของลำไส้ใหญ่ ทำให้เกิดแผล ผู้ป่วยจะถ่ายอุจจาระเป็นมูกเลือด ปวดบิด

15 การป้องกัน E. histolytica
ถ่ายอุจจาระถูกสุขลักษณะ ดื่มน้ำที่สะอาด ต้มสุก ไม่ให้แมลงวัน แมลงสาบ ตอมอาหาร หลีกเลี่ยงผักสด ผู้ที่เป็นโรคนี้ ควรงดปรุงอาหาร เพราะเป็น Carrier ภาวะแทรกซ้อน ของ E.histolytica ฝีบิดในตับ (amoebic liver abscess) มีไข้ เจ็บตับ ฝีหนองในตับ สีกะปิ ฝีบิดที่สมอง (amoebic brain abscess) หากรักษาไม่ถูกต้องเป็นเรื้อรัง

16 Entamoeba coli โรค : ไม่ก่อโรคในคน เป็นโปรโตซัวที่อยู่ในลำไส้คน
การติดต่อ : กิน Cyst ที่มี 8 นิวเคลียส Diagnosis : พบ Trophozoit หรือ cyst ในอุจจาระ Treatment : ไม้ต้องรักษา

17 Entamoeba coli trophozoite cyst

18 Flagellate ที่มีความสำคัญทางการแพทย์
ในลำไส้ Giardia intestinalis Giardia lamblia ทำให้อุจจาระร่วง ในระบบสืบพันธุ์ Trichomonas vaginalis ในเนื้อเยื่อและโลหิต Trypanosoma เป็นเชื้อฉวยโอกาส ในผู้ป่วยภูมิคุ้มกันต่ำ, Leishmania

19 Giardia lambia โรค : อุจจาระร่วง Giardiasis
การติดต่อ : กิน Cyst ระยะ 4 นิวเคลียส Diagnosis : ตรวจอุจจาระพบ Cyst และ Trophozoite ตรวจทางภูมิคุ้มกันเพื่อหาแอนติเจน Treatment : Metronidazole mg วันละ 3 ครั้ง นาน 5-10 วัน Tinidazole 2 gm ครั้งเดียว

20 Giardia lambia Host คน หนู แมว สุนัข เชื้ออยู่ในลำไส้เล็กส่วนต้น
อาการ เริ่มแรก ท้องเสีย 2-3 วัน ไม่ปวดท้องเป็น Traveller’s diarrhea ระยะหลังอุจจาระเป็นฟอง กลิ่นเหม็นจัด มีไขมัน แต่ไม่มีเลือด ปวดท้องมาก พบในเด็กเล็กมากกว่าผู้ใหญ่

21 Giardia lamblia Cyst Cyst 4 นิวเคลียส เป็นระยะติดต่อ รูปร่างกลมรี
มี axoneme เป็นเส้นพาดกลางตามยาว

22 Giardia lamblia Trophozoite
คล้ายลูกแพร์ มี 2 นิวเคลียส flagella 4 คู่ Median body อยู่กลางลำตัว เคลื่อนไหวแบบใบไม้ร่วง (falling leaf)

23

24 Giardia lamblia การป้องกัน ล้างมือบ่อยๆ อาหาร น้ำดื่มควรต้มสุก
ถ่ายลงส้วม ควบคุม สุนัข แมว ซึ่งเป็นตัวแพร่เชื้อ Cyst มาสู่คน รักษาผู้ป่วยให้หายขาด

25 Trichomonas vaginalis
โรค : Trichomoniasis การติดต่อ : เพศสัมพันธ์ ใช้ของร่วมกัน Diagnosis : พบ trophozoite จาก vaginal swab ใส่ใน 0.9% NSS หรือจากปัสสาวะ มีการเคลื่อนไหวแบบกระตุก Treatment : Metronidazole mg วันละ 3 ครั้ง นาน 5-10 วัน Tinidazole 2 gm ครั้งเดียว อาการ : คันช่องคลอด ตกขาวมีฟองคล้ายมูกสีเขียวอ่อน กลิ่นเหม็น ผู้ชาย 90% ไม่มีอาการ

26 Trichomonas vaginalis
Trophozoite คล้ายลูกแพร์ มี 1 นิวเคลียส มี flaglla ที่หัวเห็นชัดเจน การสืบพันธ์แบบ Binary fistion

27 Trichomonas vaginalis
วงจรชีวิต Trophozoite เข้าช่องคลอด แบ่งตัวตามยาว (longitudinal binary fission) ในภาพแสดงการเริ่มแบ่งตัว  พยาธิสภาพ ทำให้เยื่อบุช่องคลอดถลอก trophozoite หลั่งน้ำย่อย ออกมาย่อยเยื่อบุช่องคลอด เม็ดเลือดขาวมาแทรกอยู่

28 Trichomonas vaginalis
การป้องกัน ล้างช่องคลอดด้วยกรดอ่อนๆ ใช้ถุงยาง หรือไม่ร่วมเพศกับคนที่เป็นโรค รักษาทั้งสามี ภรรยา หลีกเลี่ยงการนั่งโถส้วมสาธารณะ ไม่ใช้ของร่วมกัน

29 Malaria Genus Plasmodium
Plasmodium falciparum ทำให้เกิด cerebral malaria Plasmodium vivax เป็นแล้วกลับซ้ำเป็นได้อีกเพราะมีติดเชื้อในเซลล์ของตับ Plasmodium malariae Plasmodium ovalae เป็นกลับซ้ำ

30 ยุงก้นปล่อง Anopheles เป็นพาหะ
A. dirus A. maculatus A. minimus

31 วงจรของเชื้อมาลาเรียในคน
ยุงก้นปล่องกัดปล่อย Sporozoites เข้าสู่กระแสเลือด ครึ่งชม. จะเข้าไปเซลล์ตับ ต่อมา 7-10 วัน เป็น merozoite เซลล์ตับแตก เชื้อเข้าสู่เม็ดเลือดแดง

32 วงจรของเชื้อมาลาเรียในคน
เชื้อเข้าสู่เม็ดเลือดแดง มีการเจริญและแบ่งตัวแบบ asexual ใน RBC ย้อม Giemsa stain จะเห็น Cytoplasm ติดสีฟ้าเป็นเรือนแหวน Nucleus ติดสีชมพูแดงเป็นหัวแหวนเรียกระยะนี้ว่า Ring form

33 Ring form

34 Erythrocytic cycle Cytoplasm ขยายตัวเพิ่มขนาด เจริญในเม็ดเลือดแดงไม่มีการแบ่งตัวเรียก trophozoite Nucleus แบ่งตัวเรียก schizont

35 Erythrocytic cycle Cytoplasm แบ่งตัวและรวมกับ Nucleus เรียก merozoite เป็นระยะสุดท้ายก่อนเม็ดเลือดแดงแตก เมื่อเม็ดเลือดแดงแตก merozoite ก็เข้าเม็ดเลือดแดงอื่นก็เริ่มเป็น ring form ใหม่จนถึง merozoite วนเวียนเช่นนี้ ทำให้เม็ดเลือดแดงแตกมากมายเป็นระยะๆ ทำให้มีอาการไข้ จึงเรียกว่า ไข้จับสั่น

36 Erythrocytic cycle ในระยะRing form นี้ บางตัวไม่เป็น schizont หรือ merozoite แต่ cytoplasm จะหนาขึ้น neucleus ก็โตขึ้น pigment มากขึ้น แล้วเจริญเป็น sex cell เรียกว่า gametocyte มีทั้งตัวผู้ (microgametocyte) และ ตัวเมีย (macrogametocyte) ซึ่งจะพบหลังเป็นโรคได้ระยะหนึ่ง ซึ่ง grametocyte นี้เป็นตัวสำคัญที่ทำให้เชื้อแพร่สู่ผู้อื่นได้โดยผ่านยุง

37 Microgametocyte, Macrogametocyte

38 Erythrocytic cycle P. vivax, P. ovale มีการเจริญของเชื้อในเซลล์ตับหลังเชื้อเข้าสู่เม็ดเลือดแดงแล้ว ทำให้เกิดอาการไข้กลับ (relapse) ใช้เวลาเป็นเดือน เป็นปี

39 วงจรชีวิตของเชื้อมาลาเรียในยุง
มีการเจริญแบบ sexual ยุงดูดเลือดผู้ป่วยที่มี Gametocyte เข้าไปในกระเพาะอาหาร microgametocyte มี exflagellation ผสมพันธุ์กับ macrogametocyte เป็น zygote และเป็น ookinete เคลื่อนผ่านผนังกระเพาะสู่ด้านนอก เจริญเป็น oocyst และแตกออก sporozoite เดินทางผ่านช่องว่างในตัวยุงเข้าสู่ต่อมน้ำลาย และแพร่ไปสู่คนเมื่อยุงกัดคน

40 วงจรชีวิตของเชื้อมาลาเรียในยุง

41 ภายในกระเพาะยุง ที่มี Sporozoite

42

43

44

45

46

47

48 อาการของมาลาเรีย Cold (Chill) stage หนาวสั่น ตัวเย็น ซีดจากเม็ดเลือดแดงแตก ครั่นเนื้อครั่นตัว ปวดศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน นาที Hot (fever) stage ไข้ตัวร้อนจัด จากเม็ดเลือดแดงแตก ปวดศีรษะมาก หน้าแดง คลื่นไส้อาเจียน กระสับกระส่าย 1-2 ขม. Sweating ระยะเหงื่อออกจนผ้าเปียก อุณหภูมิลดลง หายใน 1 ชม. ผู้ป่วยรู้สึกสบายขึ้น อ่อนเพลียและหลับไป

49 ภาวะแทรกซ้อน น้ำท่วมปอดเฉียบพลัน ตัวเหลือง ตาเหลือง จาก RBC แตก
ไตวายเฉียบพลัน Acute hemolysis ปัสสาวะสีน้ำโคล่า Cerebral malaria เกิดจาก RBC จับกันเป็นก้อนในหลอดเลือดสมอง ทำให้เนื้อเยื่อสมองขาดออกซิเจน ผู้ป่วยมีอาการ ซึม ไม่รู้สติ เพ้อ ความรู้สึกตัวเลวลง ชักเกร็ง มักพบในผู้ป่วยที่ติดเชื้อ P. falciparum

50 Cerebral malaria ปอดบวมน้ำ ภาวะความเป็นกรดในเลือดสูง (Lactic acidosis)
น้ำตาลในเลือดต่ำ การควบคุมการหายใจผิดปกติ

51 ปอดบวมน้ำและจ้ำเลือดตามร่างกาย
Decerebrate rigidity (การชักเกร็งมือบิดเข้าด้านใน) ใน Cerebral malaria

52 Haemoglobinuria

53 Cerebral malaria เลือดออกในกระเพาะอาหาร Retina มีจุดเลือดออก

54 การรักษามาลาเรีย ฆ่าเชื้อระยะไม่อาศัยเพศในเม็ดเลือดแดง
-P. Falciparum ให้ยา Quinine -P. Vivax ให้ยา Chloroquine ร่วมกับPrimaquine ฆ่าเชื้อที่อยู่ในเนื้อเยื่อ ใช้ Primaquine ฆ่าเชื้อระยะอาศัยเพศ gametocyte ใช้ Primaquine ยับยั้งการเกิด sporozoite ใช้ Primaquine

55 การตรวจวินิจฉัยมาลาเรีย
Thick blood film พบเชื้อมากกว่า Thin film เท่า โดยนับจำนวนของ ปรสิตจะพบ trophozoites, schisonts, gametocytes เมื่อย้อมด้วย Giemsa หรือ wright stain 1-10 per 100 high power fields..+ per 100 high power fields..++ 1-10 in every high power fields..+++ มากกว่า10 in every high power fields.++++

56 การตรวจวินิจฉัยมาลาเรีย
Thin blood film ใช้ตรวจหาเชื้อมาลาเรียเมื่อ ไม่สามารถตรวจด้วย Thick blood film ได้เพื่อประมาณค่าระดับความรุนแรงของการติดเชื้อ การรายงานผล mild, moderate, heavy infection

57 การป้องกันมาลาเรีย ทายากันยุง สวมเสื้อผ้าให้มิดชิด
ใช้มุ้งชุบ permethrin, deltamethrin มุ้งลวด หากสร้างบ้านใกล้แหล่งน้ำควรอยู่เหนือลม ฉีดยากันยุง quick knock down เช่น ไพริทัม ทำให้สิ่งแวดล้อมไม่เหมาะกับการอาศัยของยุง ใช้ abate (temephos) และปล่อยปลาหางนกยูง หรือใช้ Bacillus thuringiensis ใช้ยาฆ่าแมลง malathion ห้ามกินยา ป้องกันเด็ดขาด เพราะนอกจากทำให้เชื้อดื้อยาแล้วยังไม่สามรถตรวจพบเชื้อเมื่อป่วย

58 Prevention better than cure

59 เพื่อน คอยเตือน ยามเพื่อนพลั้ง คอยฟัง ยามเพื่อนขอ คอยรอ ยามเพื่อนสาย คอยพาย ยามเพื่อนพัก คอยทัก ยามเพื่อนทุกข์ คอยปลุก ยามเพื่อนหลับ คอยจับ ยามเพื่อนล้ม คอยอบรม ยามเพื่อนผิด


ดาวน์โหลด ppt Parasitology Medical Protozoalogy

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google