งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กองทุนโรคไตวาย 6 มีนาคม 2555

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กองทุนโรคไตวาย 6 มีนาคม 2555"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กองทุนโรคไตวาย 6 มีนาคม 2555
โครงการการผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ และโครงการปลูกถ่ายตับในเด็กกรณีท่อน้ำดีตีบตันแต่กำเนิด และสาเหตุอื่นๆ ปีงบประมาณ 2555 กองทุนโรคไตวาย 6 มีนาคม 2555

2 HEART TRANSPLANTATION

3 หลักการและเหตุผล เป็นการรักษาที่มีค่าใช้จ่ายสูงมาก อาจทำให้ล้มละลายจากการเจ็บป่วยได้ (Catastrophic illness) ภาระงบประมาณโดยรวม (Budget impact) ไม่สูงมาก เนื่องจากจำนวนผู้ป่วยน้อย ช่วยเสริมระบบรับบริจาคอวัยวะให้เข้มแข็งมากขึ้น เป็นประโยชน์กับการขยายการปลูกถ่ายไต ซึ่งช่วยลดภาระงบประมาณระยะยาวได้ การประเมินต้นทุนประสิทธิผลอรรถประโยชน์ (Cost-utility analysis) อยู่ในเกณฑ์ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์

4 ผังการรักษาโรคหัวใจวาย
4

5 ประมาณการณ์ผู้ป่วยสะสมและภาระงบประมาณใน 10 ปี
ค่ารักษาพยาบาล (ล้านบาท) จำนวนผู้ป่วย (ราย) ราคาค่อยปรับ จำนวนผู้ป่วยสิทธิ์ UC ที่จะได้รับการเปลี่ยนหัวใจมากสุด: 30 ราย/ปี, Survival Analysis: 1 Yr: 79%, 3 Yr: 75%, 5 Yr: 64%

6 การครอบคลุมสิทธิประโยชน์ HEART TRANSPLANTATION ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ผ่านการพิจารณาของคณะอนุกรรมการพัฒนาสิทธิประโยชน์ฯ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2554 ผ่านการพิจารณาของคณะอนุกรรมการประสานยุทธศาสตร์ เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2554 ผ่านการอนุมัติของคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2554 ใช้คำว่า ผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการหลักฯ เรียงลำดับจากอนุฯ พัฒนาสิทธิ์ฯ  อนุฯ ประสานยุทธ  คณะกรรมการหลักฯ 6

7 เป้าหมายการบริการ งบประมาณ
จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ 30 ราย งบประมาณ งบกองทุนโรคไตวาย

8 แนวทางการบริหารจัดการ
๑. คุณสมบัติของหน่วยบริการ เป็นหน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และผ่านการประเมินและรับรองจากศูนย์รับบริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย ๒. เกณฑ์การคัดเลือกผู้ป่วยเข้าร่วมโครงการ ๒.๑ เป็นผู้มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ๒.๒ เป็นผู้ป่วยหัวใจวายอย่างรุนแรงและไม่สามารถรักษาด้วยวิธีอื่น ๒.๓ เป็นผู้ป่วยที่สุขภาพแข็งแรงเพียงพอสำหรับการรักษาโดยการผ่าตัด ๒.๔ ได้รับการประเมินจากแพทย์ว่า มีความเหมาะสมที่จะได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ

9 ๓. การจัดสรรอวัยวะ (Organ allocation)
ให้เป็นไปตามประกาศของศูนย์รับบริจาคอวัยวะสภากาชาดไทยเรื่อง เกณฑ์การจัดสรรอวัยวะ ๔. การใช้ยากดภูมิคุ้มกันและแนวทางการรักษาผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ ให้เป็นไปตามแนวทางการรักษาของสมาคมปลูกถ่ายอวัยวะแห่งประเทศไทย

10 Antibody mediated rejection
HEART TRANSPLANTATION Donor Recipient Deceased Donor TX Period Discharge Protocol HTX-ACR Graft dysfunction HTX-II HTX-I HTX-IV HTX-III เลือก 1 protocol Acute cellular rejection Antibody mediated rejection HTX-AMR ECMO IABP No complication NO Other complications Protocol HTX-R HTX-VI

11 การจ่ายชดเชยฯให้หน่วยบริการ
ค่าใช้จ่ายในการให้บริการผ่าตัด จะจ่ายชดเชยให้แก่หน่วยบริการตั้งแต่ขั้นตอนการจัดเตรียม การผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ และการดูแลหลังผ่าตัด เป็นไปตามแบบแผนการรักษา ( Protocol ) ของสมาคมปลูกถ่ายอวัยวะแห่งประเทศไทยเสนอ ค่าใช้จ่ายหลังการผ่าตัด ค่ายากดภูมิคุ้มกัน

12 Antibody mediated rejection
ค่าใช้จ่ายในการให้บริการผ่าตัด HEART TRANSPLANTATION Donor Recipient Deceased Donor TX Period Discharge Protocol HTX-ACR Graft dysfunction HTX-II HTX-I HTX-IV HTX-III เลือก 1 protocol Acute cellular rejection Antibody mediated rejection HTX-AMR ECMO IABP No complication กรณีที่ผู้ป่วยต้องมีการ admit เพื่อทำ cardiac catheterrization สามารถเบิกเพิ่มเติมจากระบบ DRGs + เบิกค่าอุปกรณ์ NO Other complications DRGs Protocol HTX-R HTX-VI แจ้ง สปสช. เพื่อเบิกเพิ่มเติม 30,000 บาท 310,000 320,000 375,000 380,000 455,000 465,000 300,000

13 ค่าใช้จ่ายหลังการผ่าตัด
แผนการรักษาชุดบริการ (Protocol) รายการที่รวมอยู่ชุดบริการ ราคาเหมาจ่าย Protocol -Myocardium biopsy ค่าทำ Echocardiogram ค่าอุปกรณ์ ค่าตรวจชิ้นเนื้อ ค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการ ค่าบริการทางการแพทย์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องโดยตรง ๓๐,๐๐๐

14 อัตราการจ่ายค่าบริการต่อเดือน
ค่ายากดภูมิคุ้มกัน เกณฑ์การให้ยากดภูมิคุ้มภายหลังการผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ ต้องเป็นไปตามแนวทางของสมาคมปลูกถ่ายอวัยวะแห่งประเทศไทย ทั้งนี้อัตราที่จ่ายนี้ครอบคลุมการตรวจรักษา ตรวจทางห้องปฏิบัติการเบื้องต้นและการตรวจระดับยากดภูมิคุ้มกันหลังการผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ โดยแบ่งตามระยะเวลาหลังผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจดังนี้ เงื่อนไขการรับยา อัตราการจ่ายค่าบริการต่อเดือน หลังผ่าตัด ๑- ๖ เดือน ๓๐,๐๐๐ หลังผ่าตัด ๗ - ๑๒ เดือน ๒๕,๐๐๐ หลังผ่าตัด ๑๓ - ๒๔ เดือน ๒๐,๐๐๐ หลังผ่าตัด ๒๕ เดือนขึ้นไป ๑๕,๐๐๐

15 หน่วยบริการที่เข้าร่วมโครงการ
โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลราชวิถี

16 PEDIATRIC LIVER TRANSPLANTATION

17 หลักการและเหตุผล ผู้ป่วยเด็กโรคท่อน้ำดีตีบตันแต่กำเนิด (Biliary atresia) มีอุบัติการณ์ประมาณ 1 ใน 15,000 ของทารกคลอดมีชีวิต (0.007%) และจากการประมาณการพบว่า มีอุบัติการณ์ราว คนต่อปี ในจำนวนนี้ ร้อยละ 50 ที่มีความจำเป็นต้องได้รับการผ่าตัดปลูกถ่ายตับ กล่าวคือ ประมาณ รายต่อปี (รวมทุกสิทธิ) ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดเพียงไม่ถึงร้อยละ 20 ของรายที่มีความจำเป็นต้องได้รับการผ่าตัดทั้งหมด เด็กแรกเกิดในประเทศไทยราว คนต่อปีที่ป่วยเป็นโรคท่อน้ำดีตีบตันแต่กำเนิด และในจำนวนนี้ร้อยละ 50 ที่จำเป็นต้องได้รับการผ่าตัดปลูกถ่ายตับ

18 ผู้ป่วยเด็กหลังจากที่รักษาด้วยการผ่าตัดปลูกถ่ายตับ มีอัตราการรอดชีวิตในปีแรกสูงถึงร้อยละ และอัตราการรอดชีวิตในปีที่ 5 อยู่ระหว่างร้อยละ 82-92 ด้านคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยพบว่า เด็กส่วนใหญ่เติบโต มีพัฒนาการ และสามารถเข้าเรียนได้เหมือนเด็กปกติ การประเมินต้นทุนประสิทธิผลอรรถประโยชน์ (Cost-utility analysis) ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์

19 ประมาณการณ์ผู้ป่วยสะสมและภาระงบประมาณใน 10 ปี
ประมาณการมีเด็กต้องการปลูกถ่ายตับ 40 รายต่อปี และมีอัตราการรอดชีวิตในปีที่ 1 ร้อยละ 85, ปีที่ 5 ร้อยละ 82, และปีที่10 ร้อยละ 82 และเด็กมีชีวิตรอดจนถึงอายุ 70 ปี 19

20 การครอบคลุมสิทธิประโยชน์ PEDIATRIC LIVER TRANSPLANTATION ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ผ่านการพิจารณาของคณะอนุกรรมการพัฒนาสิทธิประโยชน์ฯ เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2554 ผ่านการพิจารณาของคณะอนุกรรมการประสานยุทธศาสตร์ เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2554 ผ่านการอนุมัติของคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2554 เอกสารอ้างอิง 1. กุมารี พัชนี และภูษิต ประคองสาย. ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และผลกระทบ ด้านงบประมาณสำหรับการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในเด็ก เข้าสู่ชุดสิทธิประโยชน์ระบบ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า. สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข (เอกสารรายงานผลการศึกษาวิจัย) 2. สำนักนโยบายและแผน สปสช. สรุปการประชุมระดมสมองและแลกเปลี่ยน ความเห็นต่อผลการศึกษาวิจัยเรื่อง “ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และผลกระทบ ด้านงบประมาณสำหรับการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในเด็กเข้าสู่ชุดสิทธิประโยชน์ระบบ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า” เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2553 ณ ห้องประชุม 203 ชั้น 3 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (เอกสารรายงานการประชุม)

21 เป้าหมายการบริการ งบประมาณ
จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการปลูกถ่ายตับในเด็ก 30 ราย งบประมาณ งบกองทุนโรคไตวาย

22 แนวทางการบริหารจัดการ
๑. คุณสมบัติของหน่วยบริการ เป็นหน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และผ่านการประเมินและรับรองจากศูนย์รับบริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย ๒. เกณฑ์การคัดเลือกผู้ป่วยเข้าร่วมโครงการ ๒.๑ เป็นผู้มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ๒.๒ เป็นผู้ป่วยเด็กตับวายจากท่อน้ำดีอุดตันตั้งแต่กำเนิดหรือตับวายจากสาเหตุอื่นๆ ๒.๓ เป็นผู้ป่วยที่สุขภาพแข็งแรงเพียงพอสำหรับการรักษาโดยการผ่าตัด ๒.๔ ได้รับการประเมินจากแพทย์ว่า มีความเหมาะสมที่จะได้รับการผ่าตัดปลูกถ่ายตับ

23 ๓. การจัดสรรอวัยวะ (Organ allocation)
ให้เป็นไปตามประกาศของศูนย์รับบริจาคอวัยวะสภากาชาดไทยเรื่อง เกณฑ์การจัดสรรอวัยวะ ๔. การใช้ยากดภูมิคุ้มกันและแนวทางการปลูกถ่ายตับในเด็ก ให้เป็นไปตามแนวทางการรักษาของสมาคมปลูกถ่ายอวัยวะแห่งประเทศไทย

24 Donor Recipient TX Period Discharge LIVER TRANSPLANTATION
Protocol OLT-R TX Period Deceased Donor Living Donor เลือก 1 protocol Protocol OLT-I Protocol OLT-II Protocol OLT-III Protocol OLT-IV Other complications No complication Acute cellular rejection Protocol OLT-ACR Discharge

25 การจ่ายชดเชยฯให้หน่วยบริการ
ค่าใช้จ่ายในการให้บริการผ่าตัด จะจ่ายชดเชยให้แก่หน่วยบริการตั้งแต่ขั้นตอนการจัดเตรียม การผ่าตัดปลูกถ่ายตับ และการดูแลหลังผ่าตัด เป็นไปตามแบบแผนการรักษา ( Protocol ) ของสมาคมปลูกถ่ายอวัยวะแห่งประเทศไทยเสนอ ค่าใช้จ่ายหลังการผ่าตัด ค่ายากดภูมิคุ้มกัน

26 ค่าใช้จ่ายในการให้บริการผ่าตัด
LIVER TRANSPLANTATION Donor Recipient Deceased Donor TX Period Discharge Protocol OLT-ACR OLT-II OLT-I OLT-IV OLT-III เลือก 1 protocol Acute cellular rejection No complication Other complications DRGs Protocol OLT-R Living Donor ค่าใช้จ่ายผู้บริจาคที่มีชีวิตระหว่างเข้ารับการผ่าตัด 30,000 บาท 410,000 420,000 555,000 40,000 บาท 100,000 บาท 565,000 ค่าเตรียมผู้บริจาคที่มีชีวิต ก่อนเข้ารับการผ่าตัด

27 ค่าใช้จ่ายหลังการผ่าตัด
แผนการรักษาชุดบริการ (Protocol) รายการที่รวมอยู่ชุดบริการ ราคาเหมาจ่าย Protocol -Liver biopsy ค่าตรวจ ultrasound ค่าอุปกรณ์ ค่าตรวจชิ้นเนื้อ ค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการ ค่าบริการทางการแพทย์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องโดยตรง ๑๐,๐๐๐

28 อัตราการจ่ายค่าบริการต่อเดือน
ค่ายากดภูมิคุ้มกัน เกณฑ์การให้ยากดภูมิคุ้มภายหลังการปลูกถ่ายตับต้องเป็นไปตามแนวทางของสมาคมปลูกถ่ายอวัยวะแห่งประเทศไทย ทั้งนี้อัตราที่จ่ายนี้ครอบคลุมการตรวจรักษา ตรวจทางห้องปฏิบัติการเบื้องต้นและการตรวจระดับยากดภูมิคุ้มกันหลังการ ปลูกถ่ายตับ โดยแบ่งตามระยะเวลาหลังผ่าตัดปลูกถ่ายตับ ดังนี้ เงื่อนไขการรับยา อัตราการจ่ายค่าบริการต่อเดือน หลังผ่าตัด ๑- ๖ เดือน ๓๐,๐๐๐ หลังผ่าตัด ๗ - ๑๒ เดือน ๒๕,๐๐๐ หลังผ่าตัด ๑๓ - ๒๔ เดือน ๒๐,๐๐๐ หลังผ่าตัด ๒๕ เดือนขึ้นไป ๑๕,๐๐๐

29 หน่วยบริการที่เข้าร่วมโครงการ
โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โรงพยาบาลรามาธิบดี โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลราชวิถี รพ.ศรีนครินทร์ ขอนแก่น

30 ขั้นตอนการเข้ารับบริการของประชาชน
แนะนำผู้ป่วยให้เข้ารับการรักษายังหน่วยบริการตามสิทธิ และขอหนังสือส่งตัวไปยังหน่วยบริการที่เข้าร่วมโครงการฯ

31 ขอบคุณครับ 31


ดาวน์โหลด ppt กองทุนโรคไตวาย 6 มีนาคม 2555

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google