งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ยุทธศาสตร์เพื่อ เศรษฐกิจสีเขียว CEO Energy Forum, 5 มิถุนายน 2556

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ยุทธศาสตร์เพื่อ เศรษฐกิจสีเขียว CEO Energy Forum, 5 มิถุนายน 2556"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ยุทธศาสตร์เพื่อ เศรษฐกิจสีเขียว CEO Energy Forum, 5 มิถุนายน 2556

2 หัวข้อการนำเสนอ ยุทธศาสตร์หลักในการพัฒนาประเทศตามนโยบายรัฐ
กรณีศึกษา : อุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลของไทย ประเด็นเพื่อพิจารณา

3 ยุทธศาสตร์หลักในการพัฒนาประเทศตามนโยบายรัฐ

4 ยุทธศาสตร์และเป้าหมายการเติบโตตามแผนการบูรณาการยุทธศาสตร์ประเทศ
New Growth Model Goal in Years หลุดพ้นจากประเทศรายได้ปานกลาง ลดความเหลื่อมล้ำ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม Growth & Competitiveness รายได้ต่อหัวเพิ่มขึ้นเป็น 12,400 ดอลลาร์สรอ.ต่อปี (ปี 2554 อยู่ที่ 4,420 ดาลลาร์) higher income country ต้องมีรายได้มากกว่า 12,275 ดอลลาร์ สรด.ต่อปี อัตราการขยายตัวของ GDP อยู่ที่ร้อยละ ต่อปี – เฉลี่ยปี อยู่ที่ร้อยละ 4.2 เพิ่มการลงทุนด้าน R&D ให้มากกว่าร้อยละ 1 ต่อ GDP – ปี 2554 อยู่ที่ร้อยละ 0.24 Inclusive Growth GINI coefficient ปรับลดลงเหลือ 0.40 หรือน้อยกว่า – ปี2554 อยู่ที่ 0.476 เพิ่มสัดส่วน SMEs ต่อ GDP ให้มากกว่าร้อยละ 40 ต่อ GDP – ปี 254 อยู่ที่ร้อยละ 36.6 ปีการศึกษาเฉลี่ยอยู่ที่ 15 ปี และอัตราการอ่านออกเขียนได้อยู่ที่ร้อยละ 100 – ปี 2554 การศึกษาเฉลี่ยอยู่ที่ 8.2 ปี และปี2548อัตราการอ่านออกเขียนได้อยู่ที่ร้อยละ 93.1 Green Growth ลดการปล่อย GHG ในภาคพลังงาน ให้ต่ำกว่า 4 ตัน/คน/ปี ปี 2553 อยู่ที่ 3.3 ตัน/คน/ปี และจากการศึกษาคาดว่าอีกปีจะเพิ่มขึ้นเป็น 5 ตัน/คน/ปี (ภาคพลังงานปล่อย 70% ของทั้งหมด) เพิ่มพื้นที่ป่าไม้ให้ได้ 40% ของพื้นที่ทั้งหมด (128 ล้านไร่) – ปี 2552 อยู่ที่ร้อยละ 33.6 (107 ล้านไร่) เน้นการเติบโตด้านเศรษฐกิจและสังคมแบบยั่งยืนที่คำนึงถึงการรักษาสิ่งแวดล้อมด้วยธุรกิจสีเขียว(Green Economic)

5 เป้าหมายการเติบโตตามแผนการบูรณาการยุทธศาสตร์ประเทศ
หลุดพ้นจากประเทศรายได้ปานกลาง รายได้ต่อหัวเพิ่มขึ้น เป็นศูนย์กลางการเชื่อมโยงเศรษฐกิจในภูมิภาค เป็นศูนย์กลางด้านการค้า การลงทุน ของภูมิภาค ที่มีระบบโครงข่ายคมนาคมและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) ที่ทันสมัย เชื่อมโยงอาเซียนกับโลก ความเหลื่อมล้ำน้อยลง ประชาชนทุกกลุ่มมีมาตรฐานการดำรงชีวิตที่มีคุณภาพ ด้วยระบบการศึกษา สาธารณสุข และระบบยุติธรรมที่มีประสิทธิภาพและทั่วถึง ศักยภาพในการแข่งขันสูง แหล่งผลิตอาหารคุณภาพของโลก ศูนย์กลางอุตสาหกรรมยานยนต์ของเอเชีย เมืองหลวงแห่งการท่องเที่ยวของอาเซียน ผู้นำด้านการออกแบบบริการของอาเซียน เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ยุทธ์ศาสตร์ประเทศ Green Economic เน้นการเติบโตด้านเศรษฐกิจและสังคมแบบยั่งยืนที่คำนึงถึงการรักษาสิ่งแวดล้อมด้วยธุรกิจสีเขียว(Green Economic)

6 ไทยต้องหลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลางโดยส่งเสริมภาคเกษตรให้มีรายได้ต่อหัวที่สูงขึ้น
ปัญหาของภาคเกษตรกรรมและมีผลกระทบต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจของไทย พืชผลทางการเกษตรให้ผลผลิตต่ำลง (Low Productivity) ต้นทุนค่าใช้จ่ายการทำการเกษตรเพิ่มขึ้น ความเหลื่อมล้ำและโอกาสในการเข้าถึงแหล่งทุนต่างๆ ปัญหาสังคมและวัฒนธรรมจากการอพยพย้ายถิ่นของแรงงานในชนบทเข้ามาหางานทำในเมือง หากไม่สามารถแก้ไขปัญหาภาคเกษตรกรรมที่มีประชากรส่วนใหญ่ของประเทศกว่าร้อยละ 60 ที่เกี่ยวข้อง อาจจะส่งผลให้ประเทศไทยไม่อาจหลุดพ้นจากประเทศที่มีรายได้เฉลี่ยต่อหัวปานกลาง เพื่อก้าวไปสู่ประเทศรายได้สูง (รายได้ประชากรเฉลี่ยต่างจอคนสูงเกินกว่า USD 12,476)

7 วิกฤติด้านพลังงาน: ไทยต้องพึ่งพาและนำเข้าพลังงาน
สูงเกือบ 90% ในอีก 20 ปี ประเทศไทยได้มีการเติบโตและขยายตัวทางเศรษฐกิจมากขึ้น ทำให้มีการนำเข้าพลังงานในปริมาณที่เพิ่มขึ้นช่นกัน มีการคาดการณ์ว่าในปี 2035 ไทยต้องพึ่งพานำเข้า น้ำมันและก๊าซธรรมชาติเช่นเดียวกับประเทศญี่ปุ่นในปัจจุบัน แต่โครงสร้างทางเศรษฐกิจของญี่ปุ่นมีความเข้มแข็งกว่าไทย ดังนั้นถ้าไทยยังต้องพึ่งพาการนำเข้าพลังงานอาจจะเป็นปัญหาในการพัฒนาประเทศในอนาคต ที่มา :สถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , ปตท.

8 ปัญหาวิกฤตการณ์อาหารโลก ปัญหาวิกฤตการณ์อาหารโลก ( World Food Crisis )
ทั่วโลกก็กำลังประสบปัญหาวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตอาหารสำหรับคนและสัตว์มีราคาพุ่งสูงขึ้นโดยมิได้คาดการณ์มาก่อนและนำไปสู่การเกิด “วิกฤตการณ์อาหารโลก” ( World Food Crisis ) ซึ่งจากราคาอาหารที่สูงขึ้นเป็นประวัติการณ์ทำให้บางประเทศเริ่มขาดแคลนอาหารหลัก (Food-deficit) จนต้องนำเข้าอาหารและโภคภัณฑ์เป็นจำนวนมาก ปัญหาวิกฤตการณ์อาหารโลก ( World Food Crisis ) วิกฤติ หรือ โอกาส ???

9 พืชเศรษฐกิจ 6 ชนิด

10 พืชเกษตร 6 ชนิด พืชเศรษฐกิจ 6 ชนิดได้แก่ ข้าว อ้อย ปาล์มน้ำมัน มันสำปะหลัง ยางพาราและข้าวโพด เป็นพืชเศรษฐกิจที่ควรดำเนินการนำร่อง เพราะมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจาก : มูลค่าสินค้าเกษตรทั้ง 6 ชนิด มีสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 54.7 ต่อผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ (จีดีพี) มีพื้นที่เพาะปลูกรวมถึง 137 ล้านไร่ ประชาชนกว่าร้อยละ 60 ของประชากรทั้งประเทศมีความเกี่ยวเนื่อง ทั้งเกษตรกรและอุตสาหกรรมการเกษตร ตลอดจนเศรษฐกิจชุมชน ภาคอุตสาหกรรมตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายลายน้ำที่มีศักยภาพและเข้มแข็ง เป็นพืชอาหารและพลังงานที่สำคัญ ที่มา : จากประชุมเชิงปฏิบัติการ “การบูรณาการการจัดทำโซนนิ่งภาคเกษตร และทิศทางการพัฒนาภาคและ การพัฒนากลุ่มจังหวัด” ณ ตึกสันติไมตรีหลังใน ทำเนียบรัฐบาล เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2555

11 ปัญหาของพืชเกษตร 6 ชนิดที่รอการแก้ไขอย่างยั่งยืน
ชนิดพืชเศรษฐกิจ ปัญหาและอุปสรรค ข้าว มีการปลูกในพื้นที่ที่ไม่เหมาะสม ทำให้ได้ผลผลิตต่ำ ไม่คุ้มกับราคาขาย ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น อายุเฉลี่ยของเกษตรกรอยู่ในช่วงผู้สูงวัย(57-58 ปี) ขาดระบบชลประทานที่ดี รวมถึงการจัดเก็บข้าวที่ไม่ได้มาตรฐาน อ้อย ระเบียบและเงื่อนไขการเปิดโรงงานน้ำตาล การขยายพื้นที่ในการเพาะปลูก มันสำปะหลัง ขาดความรู้ในการบริหารจัดการ ทำให้ได้ผลผลิตต่ำ ไม่คุ้มกับราคาขาย ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น ปาล์ม ราคารับซื้อมีความผันผวน นโยบายด้านไบโอดีเซลไม่ชัดเจน รวมถึงขาดการส่งเสริมอุตสาหกรรมต่อเนื่องเพื่อเพิ่มมูลค่าตามห่วงโซ่ผลิตภัณฑ์ ยางพารา ราคารับซื้อมีความผันผวน รวมถึงปริมาณความต้องการในตลาดโลก มีแนวโน้มลดต่ำลง มีการปลูกในพื้นที่ที่ไม่เหมาะสม ทำให้ได้คุณภาพน้ำยางต่ำ ขาดอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ไม่สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า ข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น การขนส่ง การจัดเก็บ ขาดระบบชลประทานที่ดี

12 มีการปลูกข้าวในพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมถึง 30 ล้านไร่
และกำลังจะเพิ่มขึ้นจากการแทรกแซงราคา พืชเศรษฐกิจ 6 ชนิด รวมพื้นที่ปลูกจริง (ไร่) พื้นที่เหมาะสม (ไร่) พื้นที่ไม่เหมาะสม (ไร่) ข้าว 84.5 53.8 30.7 มันสำปะหลัง 10 3.2 6.8 อ้อยโรงงาน 6.7 4.4 2.3 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 7.9 2.1 5.8 ยางพารา 24 11 13 ปาล์มน้ำมัน 3.8 2.2 1.6 ปัจจุบันมีการปลูกข้าวในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมน้อย อยู่ถึง 30 ล้านไร่ โดยส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ภาคกลางตอนบนและตอนกลาง เช่น พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี และนครนายก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนและตอนล่าง เช่น บุรีรัมย์ สุรินทร์ อุบลราชธานี นครพนม และหนองคาย ซึ่งส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาดอน ที่ให้ผลผลิตต่ำ พื้นที่ปลูกข้าวเพิ่มขึ้นจาก 65 ล้านไร่ เป็น 84.5 ล้านไร่ เนื่องมากจากนโยบายแทรกแซงราคาต่างๆทำให้มีการปลูกข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสมมากขึ้น ที่มา : จากประชุมเชิงปฏิบัติการ “การบูรณาการการจัดทำโซนนิ่งภาคเกษตร และทิศทางการพัฒนาภาคและ การพัฒนากลุ่มจังหวัด” ณ ตึกสันติไมตรีหลังใน ทำเนียบรัฐบาล เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2555

13 รายได้ของชาวนาที่ปลูกข้าวนาปี มีรายได้ที่ไม่คุ้มค่าการลงทุน
ส่งผลให้ต้องมีการชดเชยด้วยมาตรการแทรกแซงต่างๆ เปรียบเทียบรายได้สุทธิของพืชที่ปลูกในพื้นที่ภาคอีสาน รายการ ข้าว อ้อยโรงงาน ปาล์มน้ำมัน มันสำปะหลัง ยางพารา ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง อ้อยปลูก อ้อยตอ 1.ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่/ปี) 330 683 1,300 1,000 2,876 3,000 263 697 2.ต้นทุนเฉลี่ย (บาท/ไร่) 4,499 5,010 11,740 6,400 8,628 3,840 16,881 4,293 3.ราคาเฉลี่ย (บาท/ตัน) 13,000 1,100 5,340 2,000 87,150 7,630 4.รายได้ 4,290 8,879 14,300 11,000 15,358 6,000 22,920 5,318 5. รายได้สุทธิเฉลี่ย(บาท/ไร่) -209 3,869 2,510 4,600 6,730 2,160 6,038 1,025 ที่มา : สำนักงานเศรฐกิจ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2555

14 การโซนนิ่งภาคเกษตร

15 การจัดทำเขตเกษตรกรรม (Zoning)
การวิเคราะห์ผลผลิต การบริโภค และการตลาดที่เหมาะสม การจัดทำเขตเกษตรกรรม การซ้อนทับแผนที่ผลผลิต คมนาคม การแปรรูป (Layer) การประเมินความเหมาะสมของดินและน้ำ การจัดแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดิน (Master Map) ขั้นต้นการจัดทำเขตเกษตรกรรม เพื่อให้ยุทธศาสตร์การจัดทำเขตเกษตรกรรมบรรลุตามเป้าหมายภาครัฐ ต้องส่งเสริมการปลูกพืชที่เหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ให้ผลตอบแทนสูง เพื่อให้เกษตรมีผลผลิตที่สร้างรายได้อย่างยั่งยืน มีการส่งเสริมให้เกิดอุตสาหกรรมต่อเนื่องเพื่อเพิ่มมูลค่าและเพิ่มรายได้ให้ประเทศ รวมถึงสร้างความมั่นคงทางด้านอาหารและพลังงานอย่างครบวงจร

16 การโซนนิ่งภาคเกษตรและส่งเสริมปลูกพืชให้เหมาะสมกับพื้นที่
การนำร่องส่งเสริมให้ปลูก อ้อย ปาล์มน้ำมัน ยางพารา และมันสำปะหลัง ทดแทนการปลูกข้าวในพื้นที่นาดอนหรือพื้นที่ไม่เหมาะสม จะเป็นโครงการต้นแบบที่ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรให้ดีขึ้น รวมถึงส่งเสริมให้เกิดอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปและอุตสาหกรรมต่อเนื่องในพื้นที่ เช่น อุตสาหกรรมอาหาร ไฟฟ้า เอทานอล ปาล์มน้ำมันและอื่นๆ ซึ่งจะทำให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น เกิดการจ้างงานและกระจายรายได้สู่ชนบท อีกทั้งเมื่อเชื่อมโยงกับระบบขนส่งแบบราง หาตลาดใหม่ๆที่เป็นนโยบายกระตุ้นการเติบโตของระบบเศรษฐกิจในภูมิภาคจะทำให้ภาคอุตสาหกรรมในภูมิภาคเติบโตอย่างรวดเร็ว เพิ่มศักยภาพของพื้นที่ในด้านการลงทุน เพราะสามารถลดต้นทุนในการขนส่งแข่งขันกับคู่แข่งจากประเทศอื่นๆได้ รวมทั้งแก้ปัญหาให้กับภาคเกษตรอย่างยั่งยืน การลดพื้นที่ปลูกข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสม จะลดภาระของภาครัฐที่ต้องใช้งบประมาณ การแทรกแซงราคา การรับจำนำหรือประกันราคาพืชเกษตร จะจำกัดเฉพาะที่ปลูกในพื้นที่ การโซนนิ่งภาคเกษตร ซึ่งจะช่วยลดงบประมาณภาครัฐและเป็นการแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน !!!

17 แนวทางการดำเนินการแก้ไขอย่างยั่งยืน
เขตเกษตรกรรม(Zoning) ชลประทาน(Irrigation) โครงสร้างพื้นฐาน(Facilities) การจูงใจ(Intensive) ส่งเสริมตลาด(Marketing) หาตลาดใหม่ๆและความร่วมมือระหว่างรัฐ ปรับปรุงกฎหมาย/ระเบียบเพื่อช่วยเอกชนให้สามารถแข่งขันกับต่างประเทศได้ ระบบขนส่งทางน้ำและระบบรางเพื่อลดต้นทุนการขนส่ง ท่าเรือน้ำลึก เพิ่มโอกาสการแข่งขัน ปรับปรุงระบบสายส่ง(Smart Grid & DG) มาตรการส่งเสริมอุตสาหกรรมต่อเนื่องแบบครบวงจรและเพิ่มมูลค่าตามห่วงโซ่ผลิตภัณฑ์ ให้สิทธิประโยชน์เฉพาะพื้นที่โซนนิ่ง Financial / Subsidy / Soft loan / Adder ก่อสร้างระบบชลประทานเพื่อให้เกษตรกรเข้าถึงแหล่งน้ำ ปรับปรุงพันธ์/เพิ่มผลผลิต/เกษตรอินทรีย์ ส่งเสริมการบริหารจัดการและ Mechanization of Harvesting จัดทำแผนที่และระบบฐานข้อมูลระดับตำบล ประเมินความเหมาะสมตามศักยภาพพื้นที่ จัดแบ่งพื้นที่และกำหนดหน่วยงานกำกับดูแล

18 SUCCESS CASE อุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลของไทย

19 อ้อยและน้ำตาล- Product Champion ของไทย
มูลค่าตรงของธุรกิจน้ำตาล ปีการผลิต 2554/55 รวม 190,700 ล้านบาท ประเทศไทยมีผลผลิตอ้อยสูงเป็นอันดับที่ 4 ของโลกและใหญ่ที่สุดใน ASEAN ประเทศไทยอยู่ในพื้นที่ที่เหมาะสมสำหรับปลูกอ้อย Country Area Harvested Production Yield (Ha) Ranking (Tonnes/ha) (Tonnes) Brazil 8,490,000 1 73.03 620,000,000 India 4,810,000 2 70.80 340,540,000 China 1,780,000 3 69.66 124,000,000 Thailand 1,200,000 4 79.75 95,700,000 Pakistan 1,011,000 5 53.41 54,000,000 Mexico 675,000 6 67.33 45,450,000 Australia 353,000 7 77.76 27,450,000 Philippines 390,000 8 66.41 25,900,000 USA 359,766 9 64.71 23,281,082 Colombia 171,633 10 118.12 20,272,600 Cuba 431,400 11 26.19 11,300,000 แผนที่พื้นที่ที่เหมาะสมกับการปลูกอ้อยโรงงาน (World Sugar Cane Belt) ที่มา : World's potentates in production of sugar cane , หมายเหตุ : * เป็นปริมาณอ้อยปีเพาะปลูก 2009/10

20 Sugar Balance in Major Countries
ไทยส่งออกน้ำตาลเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจาก Brazil Sugar Balance in Major Countries Canada -1.18 USA -2.61 Brazil Argentina +0.14 Chile -0.49 Mexico +1.03 Colombia +0.78 Guatemala +1.71 Cuba +0.78 EU -1.63 Russia -0.56 China -0.70 India +0.82 Thailand +6.80 Indonesia -3.30 Malaysia -1.48 Australia +3.30 Japan -1.41 S.Korea -1.29 Algeria -1.36 Nigeria -1.28 S.Africa +0.35 Swaziland +0.47 Mauritius +0.40 Saudi Arabia -1.05 Iran -1.38 Egypt -0.95 Venezuela -0.63 Pakistan +0.57 Source: LMC, Sugar and Sweeteners Quarterly, Quarter 4, December 2012

21 โอกาสการสร้างมูลค่าเพิ่มในอุตสาหกรรมอ้อย
น้ำตาลและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับน้ำตาล 10 ล้านตัน 100 ล้านตัน ปาร์ติเกิลบอร์ด ผลิตขาย 400 MW อ้อย ศักยภาพ 2,000 MW ชานอ้อย ไฟฟ้าชีวมวล ผลิตจริง 900 ล้านลิตร ศักยภาพ 1,200 ล้านลิตร โมลาส เอทานอล ปุ๋ย

22 โครงการสร้างอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลของประเทศไทย

23 บราซิล : โมเดลแห่งความสำเร็จ
ประเภทของพลังงาน อัตราส่วน Petroleum 37.4% Biomass 31.1% (sugarcane 15.9%) (wood/charcoal 12%) (others 3.2%) Hydroelectric 14.9% Natural gas 9.3% Coal 6.0% Nuclear energy 1.4% ประเทศ Renewable energy Non renewable energy ทั่วโลก 14% 86% บราซิล 46% 54% สหรัฐอเมริกา 7% 93% ประเทศ OECD 6% 94% การจัดโซนนิ่งภาคเกษตร ส่งเสริมการปลูกพืชที่เหมาะสมกับศักยภาพในพื้นที่ ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตพืช โดยเฉพาะอ้อยเพิ่มผลผลิตจาก 200 ล้านตันเป็น 600 ล้านตัน การส่งเสริมอุตสาหกรรมการเกษตรและธุรกิจเกี่ยวเนื่อง โดยเฉพาะอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาล ด้วยการส่งเสริมการผลิตเอทานอลเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงในภาคภาคขนส่ง ตลอดจนส่งเสริมอุตสาหกรรมรถประเภท FFV เพื่อรองรับเอทานอลที่ผลิตในประเทศ ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน และพัฒนาแหล่งพลังงานสำรองของประเทศ ส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน โดยมีสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนมากกว่าร้อยละ 46 โดยเฉพาะพลังงานจากชีวมวลมีการใช้ถึงร้อยละ 31

24 ศักยภาพอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาล
ต่อพลังงานหมุนเวียน

25 Current Status of Biomass Power Plant of Thailand’s Sugar Mills
การใช้ระบบ High Pressure จะช่วยลดความสูญเสียในระบบผลิตพลังงานและเปลี่ยนเป็นไฟฟ้าที่เหลือส่งเข้าระบบ Grid ได้มากขึ้น ระบบหม้อน้ำแรงดันต่ำ ด้วยการปรับเปลี่ยนหม้อไอน้ำแบบแรงดันต่ำไปใช้แบบแรงดันสูง(High Pressure) โรงงานน้ำตาลในไทยจะผลิตไฟฟ้าเข้าระบบได้มากขึ้น 5-6 เท่า Current Status of Biomass Power Plant of Thailand’s Sugar Mills Number of mills Installed Capacity, MW Exported Power, MW Exported Unit, GWH Sugar Cane, million ton Exported Power, kWH/TC Total 47 1008 397 1626* 95.35 17 With High Pressure 2 105 76 577 7.99 72 With Medium /low Pressure 45 903 321 1049* 87.36 12 ระบบหม้อน้ำแรงดันสูง * Estimated from these assumptions: - SPP firm : 330 day running with 95% Plant Factor - SPP non-firm &VSPP : 150 running day with 80% Plant Factor - Countercheck with database from EPPO โรงงานหีบอ้อย 1 ล้านตัน/ปี จะผลิตไฟฟ้าส่งเข้าระบบ – กำลังไฟฟ้า MW – ปริมาณไฟฟ้า 100 ล้านหน่วย

26 อุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลกับการพัฒนาสังคม
ประเทศไทยมีการจัดตั้งสถาบันเกษตรกรในรูปแบบของสมาคมชาวไร่อ้อยกว่า 31 องค์กรครอบคลุมครัวเรือนเกษตรกรกว่า 300,000 ครัวเรือนเพื่อการดูแลผลประโยชน์ของเกษตรกร การมีสถาบันเกษตรกรในลักษณะนี้เป็นส่วนหนึ่งของความเข้มแข็งของอุตสาหกรรมที่ทุกส่วนของสายโซ่การผลิตมีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ มีความเป็นธรรมและแบ่งปันผลประโยชน์การแปรรูปผลผลิตอย่างเสมอภาคและโปร่งใส ยังผลให้อุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลของประเทศเป็นอุตสาหกรรมที่เข้มแข็ง สามารถเลี้ยงตัวเองได้โดยไม่ต้องมีการอุดหนุนทางตรงจากภาครัฐ เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการขายพืชผลการเกษตรและเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรที่มากขึ้นอย่าง ต่อเนื่องและมั่นคง ลดความเลื่อมล้ำ(Reduce disparity) จากการเพิ่มรายได้และการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรให้ดีขึ้น เมื่ออ้อยสามารถนำไปแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าขึ้นได้ทั้งไฟฟ้าและเอทานอล ทำให้ราคาอ้อยมีความมั่นคงไม่ผันผวน เกิดการจ้างงานจากอุตสาหกรรมต่อเนื่องและขั้นปลาย ที่จะตั้งในภูมิภาคใกล้กับแหล่งวัตถุดิบ ลดการโยกย้ายถิ่นฐาน และลดผลกระทบอันเนื่องมาจากการอพยพแรงงานสู่เมือง ช่วยทำให้สังคมมีใน ท้องถิ่นมีความสุขมากขึ้น และสืบทอดวัฒนธรรมอันดีงานในท้องถิ่นต่อไป รายได้ภาษีท้องถิ่นที่จัดเก็บจากกลุ่มอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ซึ่งสามารถนำไปพัฒนาท้องถิ่นและลดภาระจาก ส่วนกลาง ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในประเทศให้เข้าถึงพลังงานอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง

27 ประเด็นเพื่อพิจารณา

28 ขอขอบคุณ ที่ให้ความสนใจฟัง


ดาวน์โหลด ppt ยุทธศาสตร์เพื่อ เศรษฐกิจสีเขียว CEO Energy Forum, 5 มิถุนายน 2556

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google