งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

จัดทำโดย นายธีระศักดิ์ เจริญศรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "จัดทำโดย นายธีระศักดิ์ เจริญศรี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปการฝึกงาน ประจำปีการศึกษา2554 ณ บริษัทเจริญโภคภัณฑ์อาหารจำกัด(มหาชน) (CPF)
จัดทำโดย นายธีระศักดิ์ เจริญศรี สาขาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

2 ระยะเวลาในการฝึกงาน ฟาร์มปักธงชัย 1 ฟาร์มปักธงชัย 3 โรงฟักปักธงชัย
วันที่ 21 – 31 มีนาคม 2555 ฟาร์มปักธงชัย 3 วันที่ วันที่ 2 – 21 เมษายน 2555 โรงฟักปักธงชัย วันที่ 23 เมษายน – 15 พฤษภาคม 2555

3 ขอบเขตของการฝึกงาน การเตรียมโรงเรือน (ไม่อยู่ในช่วง)
การเลี้ยงไก่พ่อแม่พันธุ์ระยะไก่เล็กอายุ 0-5 สัปดาห์ (ไม่อยู่ในช่วง) การเลี้ยงไก่พ่อแม่พันธุ์ระยะ 5-24 สัปดาห์ (16 สัปดาห์) การเลี้ยงไก่ระยะให้ผลผลิต การจัดการโรงฟัก

4 การเลี้ยงไก่พ่อ-แม่พันธุ์
หัวใจหลัก การเลี้ยงไก่พ่อ-แม่พันธุ์ 1.การให้อาหาร 2.การให้น้ำ 3.การสุขาภิบาล 4.การจัดการสภาพแวดล้อม

5 การให้อาหาร อุปกรณ์การให้อาหาร Duopan Genesis Choretime 16-18 ตัว
14-16 ตัว Choretime 10-12 ตัว

6 การให้อาหาร(ต่อ) การให้อาหารไก่เพศผู้ และเพศเมีย
จะต้องมีการเตรียมอาหารก่อนที่จะถึงเวลาให้อาหาร คือ เตรียมเย็น ให้เช้า ทางฟาร์มจะเตรียมตอน น. ก่อนไฟดับ เดินอาหารให้กระจายครบทุกๆเพลน ลดระดับเพลนให้อาหารเพศผู้ลงหลังจากเดินรางอาหารตัวเมียเสร็จ ประมาณ 3 นาที การจัดการไก่รุ่นระยะนี้ จะใช้ระบบการเลี้ยงแบบ Black out คือ จำกัดเวลาการให้แสงแค่ 8 ชม./วัน เริ่มเปิดแสงตอน น. – น. เหตุผลที่ต้องเตรียมอาหารเอาไว้ตั้งแต่ตอนเย็นเพราะ Choretime และ Duopan ใช้เวลานานในการเดินอาหารให้ครบรอบ การลดระดับเพลนอาหารตัวเมียลงก่อนประมาณ 3 นาที เพื่อสอนให้ไก่ตัวเมียรู้ว่าเป็นเพลงอาหารของมัน

7 การให้อาหาร(ต่อ) การตรวจเช็คระบบให้อาหารอัตโนมัติ
การตรวจเช็คระบบการให้อาหารเพศผู้ และ เพศเมีย ตรวจดูระดับให้ได้ระดับเดี่ยวกันทั้งโรงเรือน ต้องเป็นเส้นตรง และขนานกันไปตามแนวยาวของโรงเรือน ลวดสลิงที่ใช้ยึดต้องมีครบทุกเส้น ไม่มีขาด หรือหย่อน ข้อต่อของรางอาหารแต่ล่ะท่อน ต้องเชื่อมกันให้สนิท ตรวจเช็คมอเตอร์ เกียร์ ให้พร้อมใช้งาน ถังบรรจุอาหารต้องประกอบกับชุดรางอาหาร ให้พร้อมใช้งาน ตรวจสอบสายไฟ สวิตช์ควบคุมระบบต่างๆ ให้พร้อมใช้งาน

8 การให้น้ำ อุปกรณ์ในการให้น้ำ (Nippie)
ภายในเล้าจะมีนิปเปิลเป็นอุปกรณ์ให้น้ำเพียงอย่างเดียว ควรเช็คอัตราการไหลของน้ำจากหัวนิปเปิลอย่างสม่ำเสมอ ถ้าระดับแรงดันของน้ำสูงหรือต่ำเกินไป ต้องทำการปรับระดับน้ำให้เหมาะสม โดยจะปรับที่เครื่อง เลคกูเลเตอร์ (ตัวปรับแรงดันน้ำ) ติดตั้งอยู่ที่กลางเล้า โดยปกติแล้ว ไก่จะกินน้ำ>อาหารประมาณ เท่า ถ้าไก่กินน้ำได้น้อยลง นั้นก็แสดงว่าเกิดความผิดปกติขึ้นแล้ว สันนิฐานว่าอาจจะเป็นเพราะหัวนิปเปิลเสื่อม หรือปริมาณคลอรีนมากเกินไป วิธีการตรวจเช็คอัตราการไหล จะทำการวัด 3 จุดคือ ต้นเล้า กลางเล่า ท้ายเล้า โดยใช้ Zylinder ขนาด 100 ML ไปแตะที่ปลายนิปเปิล จับเวลา 1 นาที แล้วนำค่าที่ได้มาหาค่าเฉลี่ย ค่าที่ได้ต้องอยู่ในช่วง ML ชึ่งเป็นค่าปกติ ต้องมีการปรับความสูงของนิปเปิ้ลตามอายุของไก่

9 การสุขาภาบาล การกำจัดซากไก่ตาย และไก่คัดทิ้ง
ซากไก่ จะต้องมีการตรวจเช็คไก่ตายทุกวัน เมื่อพบให้เก็บซากไก่ใส่ในถุงดำ แล้วนำไปทิ้งในถังขยะที่หน้าเล้า ไก่คัดทิ้ง เมื่อพบเห็นควรรีบคัดออกจากฝูงทันที เพราะอาจจะส่งผลต่อผลผลิต ก่อนที่จะนำไปทำลายก็ต้องทำให้ตายก่อนโดยการดึงที่คอ ซากไก่ตาย และไก่คัดทิ้งจะทำลายโดยการเผา

10 การจัดการสภาพแวดล้อม
การวัดความเร็วลม การวัดความเข้มแสง ความเร็วลมที่เหมาะสม จะอยู่ในช่วง CFM ความเข้มแสงที่เหมาะสม จะอยู่ในช่วง 8-10 Lux Anemometer Lux meter

11 Hatchery processing Eggs receiving Hatching eggs disinfectant
Storage hatching eggs Holding room Eggs setting Setter Eggs transfer Hatcher Checked DOC hatching before pull chick pull chick Grading and vaccine process Chick storage Chick room Transportation

12 Eggs receiving รถส่งไข่ ชานรับไข่

13 Hatching eggs disinfectant
เครื่องสเปรย์ยา สเปรย์ฆ่าเชื้อ

14 Holding room

15 ไข่ที่พร้อมเข้าตู้ฟัก
Setter เอาไข่ขึ้นรถตู้ฟัก ไข่ที่พร้อมเข้าตู้ฟัก

16 Hatcher ตู้ฟักแบบ Multi stage system
จากสไลด์ สิ่งที่สังเกตได้เริ่มต้นเลยคือ อายุของไข่ที่เข้าฟักมันไม่เท่ากัน ยิ่งไข่ที่มีอายุเข้าฟักมาก ความร้อนที่เกิดจากฟองไข่ยิ่งมากตามไปด้วย หลักการทำงานของตู้ฟักแบบ Mullti stage คือ การนำความร้อนจากไข่ที่มีอายุมากมากกไข่ทีทีอายุน้อย

17 Hatcher

18 ยกเลิกการกลับไข่ที่ 14 วัน
Checked DOC hatching before pull chick แขวนผ้าม่าน ต่อสายลมกลับไข่ ใส่ฝาครอบล้อ ยกเลิกการกลับไข่ที่ 14 วัน

19 pull chick โต๊ะส่องไข่ การส่องไข่ลม

20 Grading and vaccine process
การโกยไก่ การคัดเพศ

21 Grading and vaccine process
การฉีดเข้าใต้ผิวหนัง (Subcutaneous Injection) วัคซีนนิวคาสเซิล (เชื้อตาย) และ วัคซีนกัมโบโร (เชื้อเป็น) เป็นการทำวัคซีนเชื้อเป็น และวัคซีนเชื้อตายในลูกไก่ โดยการฉีดเข้าใต้ผิวหนัง บริเวณคอลูกไก่ ให้วัคซีนลูกไก่ 1 ตัว ชนิดละ 0.1 cc.หรือ 1 โด๊ส ก่อนส่งมอบไปยัง ไปยังฟาร์มไก่กระทง Dovac Double injection 1)วัคซีนนิวคลาสเชิล (เชื้อตาย) 2)วัคซีนกัมโบโร (เชื้อเป็น)

22 Grading and vaccine process
การจะมีการสเปรย์วัคซีนหลอดลมอักเสบ (เชื้อเป็น) +นิวคาสเซิล (เชื้อเป็น) โดยสเปรย์ครั้งละ 7 cc . ต่อลูกไก่ 102 ตัว และทิ้งไว้ 3 วินาที Vaccine spray 1)หลอดลมอับเสบ (เชื้อเป็น) 2)นิวคลาสเชิล (เชื้อเป็น)

23 Chick room การจัดเก็บลูกไก่ในห้องจัดเก็บ ปั้มตราประทับ ห้องเก็บลูกไก่
อุณหภูมิ 75 – 85 ⁰F ความชื้น 50 – 60 %RH ความเร็วลม 50 CFM/10000 ตัว ความเข้มแสง 2-8 Lux แรงดันภายในห้อง เป็นลบเล็กน้อย ปั้มตราประทับ ห้องเก็บลูกไก่

24 Transportation รถขนส่งลูกไก่ จุดรับลูกไก่

25 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt จัดทำโดย นายธีระศักดิ์ เจริญศรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google