งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดการองค์กรและการกำกับดูแล ด้านระบบขนส่งทางราง ดร. ณรงค์ ป้อมหลักทอง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (องค์การมหาชน)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดการองค์กรและการกำกับดูแล ด้านระบบขนส่งทางราง ดร. ณรงค์ ป้อมหลักทอง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (องค์การมหาชน)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดการองค์กรและการกำกับดูแล ด้านระบบขนส่งทางราง ดร. ณรงค์ ป้อมหลักทอง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (องค์การมหาชน) กระทรงการคลัง 1 ณ ห้องประชุมยงยุทธ สาระสมบัติ ชั้น 5 อาคาร สนข. วันศุกร์ที่ 8 สิงหาคม 2557

2 การจัดการองค์กรและการกำกับดูแลด้านระบบขนส่งทางราง 1. ทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลก 2. โอกาสการเชื่อมโยงการขนส่งทางรถไฟกับประเทศเพื่อนบ้าน 4. แนวทางการพัฒนาระบบราง 3. ความจำเป็นและความพร้อม 2

3 1. ทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลก A continued imbalance Density In population growth “ Inter link Efficiency More constraints on key resources High density An accelerating shift of Investment city ” economic power to Asia Universal data access Planning 3

4 การเชื่อมโยงการขนสงทางรถไฟกับประเทศเพื่อนบาน ที่มา: โครงการวิจัยการใชประโยชนจากระบบรถไฟที่เชื่อมโยงประเทศเพื่อนบานเพื่อใหไทยเปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจและการทองเที่ยวของภูมิภาค. สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. 2555. 4 2. โอกาส

5 แนวคิดการพัฒนารถไฟเพื่อรองรับการขนสงกับประเทศเพื่อนบาน ทิศทางการพัฒนาสงเสริมใหรถไฟ ในลักษณะการความตองการในเปนรูปแบบการพัฒนารถไฟไปสู รวมกลุมของการเคลื่อนยายคนขนสงทางเลือกการเปนรูปแบบ ประเทศสมาชิกและสินคามากขึ้นเพื่อลดการติดขัดการขนสงหลัก เชน ASEAN, GMSในการขนสง 5

6 แนวเสนทางเชื่อมโยงการขนสงทางรถไฟกับประเทศเพื่อนบาน แนวทางที่ 1เสนทางการขนสงสินคาทางรถไฟกับประเทศเพื่อนบานเพื่อ สนับสนุนใหไทยเปนประตูการคาและศูนยรวบรวมและกระจาย สินคาของภูมิภาค แนวทางที่ 2เสนทางการขนสงสินคาทางรถไฟเชื่อมโยงทะเลฝงอันดามัน และอาวไทย แนวทางที่ 3เสนทางการสรางความเชื่อมโยงดานการทองเที่ยวทางรถไฟ 6

7 แนวทางที่ 1 เสนทางการขนสงสินคาทางรถไฟ กับประเทศเพื่อนบานเพื่อสนับสนุนใหไทยเปน ประตูการคาและศูนยรวบรวมและกระจายสินคา ของภูมิภาค มูลคาการคาระหวางไทยและจีน เพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง การพัฒนามณฑลยูนนานใหเปนศูนยกลาง และเปนสะพานสําคัญเชื่อมสูประเทศเพื่อน บานทางภาคตะวันตกเฉียงใตของจีน การสรางเสนทางรถไฟของจีน เพื่อเชื่อมตอกับประเทศเวียดนาม ลาว และพมา การพัฒนาเสนทางรถไฟสาย เดนชัย-เชียงราย-เชียงของ ซึ่งทางรัฐบาล มอบ หมายใหกระทรวงคมนาคม (การรถไฟ แหงประ เทศไทย) รับไปพิจารณาเพิ่มเติม ที่มา: โครงการวิจัยการใชประโยชนจากระบบรถไฟที่เชื่อมโยงประเทศเพื่อนบาน เพื่อใหไทยเปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจและการทองเที่ยวของภูมิภาค. TDRI. 2555. 7

8 แนวทางที่ 2 เสนทางการขนสงสินคาทาง รถไฟเชื่อมโยงทะเลฝงอันดามันและอาวไทย การพัฒนาทาเรือน้ําลึกทวายของพมา เพื่อเปดประตูการคาฝงทะเลอันดามัน ทาเรือน้ำลึกทวายจะเสริมศักยภาพของการ เปนศูนยกลางโลจิสติกสของประเทศไทย และเปนจุดยุทธศาสตรที่สําคัญในการ กระจายสินคาในระดับโลก 427 km 877 km ลดระยะเวลาการขนสงจากทะเลจีนใตมายัง Leam Chabang Seaport ทะเลอันดามัน หรือจากเวียดนามมายังพมา 1,304 km Dawei Ho Chi Minh เปดเสนทางการคาใหมเชื่อมโยงระหวาง ทวาย-แหลมฉบัง-โฮจิมินห ที่มา: โครงการวิจัยการใชประโยชนจากระบบรถไฟที่เชื่อมโยงประเทศเพื่อนบาน เพื่อใหไทยเปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจและการทองเที่ยวของภูมิภาค. TDRI. 2555. 8

9 แนวทางที่ 3 เสนทางการสรางความเชื่อมโยง ดาน การทองเที่ยวทางรถไฟ อัตราการขยายตัวของนักทองเที่ยวจากจีน และกลุมอาเซียนมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น โครงการกอสรางรถไฟความเร็วสูง เพื่อเชื่อมโยงระหวางประเทศจีน และ สปป.ลาว โครงการกอสรางรถไฟความเร็วสูง เสนทางกรุงเทพฯ - หนองคาย และ กรุงเทพฯ - เชียงใหม การเชื่อมตอกับการทองเที่ยวทางรถไฟ ระหวางประเทศเสนทาง กรุงเทพฯ-มาเลเซีย-สิงคโปร (Oriental Express Luxury Train) ที่มา: โครงการวิจัยการใชประโยชนจากระบบรถไฟที่เชื่อมโยงประเทศเพื่อนบาน เพื่อใหไทยเปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจและการทองเที่ยวของภูมิภาค. TDRI. 2555. 9

10 ผลของการเชื่อมตอทางดานการรถไฟกับประเทศเพื่อนบาน ประเทศไทยตองทําหนาที่เปนประตูการคา ศูนยรวบรวมและกระจายสินคาของภูมิภาค และศูนยกลางดานการทองเที่ยวทางรถไฟ อุดรธานี-นครพนม แมสอด-พิษณุโลก การพัฒนาการเชื่อมตอทางรถไฟเสนหลัก (252กิโลเมตร) (250 กิโลเมตร) (Trunk line) ในแนวเหนือ-ใต ถือเปนกาวสําคัญ ของการเชื่อมโยงโครงขายการขนสงทางรถไฟ ระหวางประเทศ การขนสงทางรถไฟเปนแกนหลักของการ ขอนแกน-มุกดาหาร (243กิโลเมตร) ขนสงโดยมีการขนสงทางถนนสนับสนุน (feeder) การกระจายสินคา ในลักษณะของ การขนสงแบบวิ่งผลัด เนื่องจากระยะทางการขนสงจากแนวรถไฟ เสนหลักไปยังดานชายแดนมีระยะทางที่ไม ไกลมากนัก (ประมาณ 250 กิโลเมตร) ที่มา: โครงการวิจัยการใชประโยชนจากระบบรถไฟที่เชื่อมโยงประเทศเพื่อนบาน เพื่อใหไทยเป นศูนยกลางทางเศรษฐกิจและการทองเที่ยวของภูมิภาค. TDRI. 2555. 10

11 สิ่งอํานวยความสะดวก การขนสงสินคาทางราง สถานีบรรจุและแยกสินคากลอง (Inland Container Depot: ICD) และยานกองเก็บตูสินคา (Container Yard: CY) มีทั้งสิ้น 12 แหง ในอนาคตมีแผนจะสราง ICD/CY อีก 10 แหง ไดแก 1) ลําพูน6) จัตุรัส 2) บานตูม7) บุงหวาย 3) หนองคาย8) กบินทรบุรี 4) หวยเกิ้ง9) ทุงมะเมา 5) โนนพะยอม10) นามวง เพื่อใหการขนสงเนื่องหลายรูปแบบ (multi-modal) จําเปนตองมีจุดพักรถที่กวางขวางปลอดภัย และตอง สรางกิจกรรมการคาใหเกิดขึ้นโดยรอบ เพื่อสราง บรรยากาศการคาใหสามารถสรางกิจกรรมทาง เศรษฐกิจอื่นๆ ที่ตอเนื่องใหเติบโตไดอยางยั่งยืน อยางไรก็ตาม ตองมีการทําการศึกษาเชิงลึกในระดับ พื้นที่ ทั้งดานความตองการของชุมชนในพื้นที่ และ อุตสาหกรรมตอเนื่อง ที่มา:การรถไฟแหงประเทศไทย 11

12 ผลของการเชื่อมตอทางดานการรถไฟกับประเทศเพื่อนบาน แนวเสนทาง SKRL หรือ GMS rail link และลําดับในการพัฒนาเสนทางอาจมี การ เปลี่ยนแปลงได หากมีปจจัยหรือโครงการพัฒนาอื่นๆ เขามากระทบ เชน - โครงการกอสรางทาเรือน้ำลึกและ นครคุนหมิง นิคมอุตสาหกรรมทวาย - การพัฒนาเสนทางรถไฟเชื่อมโยง เพื่อนบานของจีนเพื่อขนสงออก ทางทาเรือ และการเชื่อมตอดาน ความมั่งคงทางพลังงาน ทาเรือเจียวเพียว เสนทางเชื่อมโยงทาเรือ - ส ถ า น ก า ร ณ ท า ง ก า ร เ มื อ ง ที่ (แหลมฉบัง - ทวาย) เปลี่ยนไปของพมา ทาเรือน้ําลึกและนิคม อุตสาหกรรมทวาย ลําดับในการพัฒนาเสนทางอาจ เสนทางรถไฟ เริ่มตนจากการเชื่อมเสนทางรถไฟ เสนทางที่มีอยู missing link ทาเรือแหลมฉบัง ระหวางทาเรือแหลมฉบัง - ทวาย 12

13 เสนทางการขนสงสินคาทางรถไฟเชื่อมโยงทะเลฝงอันดามันและอาวไทย มีศักยภาพในการเปดประตูการคาฝงตะวันตกของภูมิภาค เพื่อสรางความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ และการคาระหวางประเทศในภูมิภาคอาเซียนกับตลาดตะวันตก เชน เอเซียใต แอฟริกา และยุโรป โดยเปน “เสนทางลัดโลจิสติกส” เสนทางใหมของภูมิภาคโดยไมตองผานชองแคบมะละกา การขนสงระหวางกรุงเทพฯ กับเมืองเชนไน เดิมตองผานสิงคโปรใชเวลาทั้งสิ้น 6 วัน หากมีทาเรือ ทวายจะใชเวลาลดลงเหลือ 3 วัน และการขนสงระหวางกรุงเทพฯ กับยุโรป จะใชเวลาลดลง ประมาณ 7 วัน ดังนั้น หากสามารถเชื่อมโยงการขนสง ทางรถไฟจะทําใหเกิดความสะดวกและ ประหยัดมากขึ้น โดยเฉพาะเสนทาง ระหวางทวาย -แหลมฉบัง -โฮจิมินห ระยะทาง 1,304 กิโลเมตร แตเสนทางนี้ ยังมี missing link ทางรถไฟอยูประมาณ 667 กิโลเมตร (ชวงทวาย -กาญจนบุรี ชวงอรัญประเทศ-คลองลึก ชวงปอยเปต- ศรีโสภณ และชวงพนมเปญ-โฮจิมินห) ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 13

14 ทําไมภาครัฐจําเป็นต้องมีบทบาทพัฒนา โครงสร้างพื้นฐาน 14 3. ความจำเป็นและความพร้อม

15 ปัญหาที่ระบบขนส่งทางรางทั่วโลกมักเผชิญ ผลประกอบการขาดทุน โครงสร้างพื้นฐานทรุดโทรม การเงินมีปัญหาขาดเงินลงทุน ส่วนแบ่งการตลาดลดลง ขาดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ ขาดความเป็นอิสระในการบริหารงาน 15

16 ผลตอบแทนทางการเงิน v.s. ผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์ Financial เมื่อ R E, R F > 0 Return RERE EIRR < R E EIRR > R E FIRR > R F RFRF Economics 0 Return EIRR < R E EIRR > R E FIRR < R F 16

17 ลักษณะของอุตสาหกรรมการขนส่งทางราง ลักษณะ ผลสืบเนื่องต่อการกํากับดูแล Multi-product เกิดปัญหาทางบัญชี มีการตัดสินใจรวม การบริหารจัดการบูรณาการหรือแยกส่วน - ระหว่างโครงสร้างพื้นฐานและบริการ ? - ระหว่างบริการทางรางต่างๆ ? โครงสร้างต้นทุน ปัญหาในด้านนิยามของต้นทุนทางราง ปัญหาการจัดสรรต้นทุน โครงสร้างพื้นฐาน ขนาดที่เหมาะสมของรถไฟ ? การแยกระหว่างโครงสร้างพื้นฐานและการปฏิบัติการ ค่าใช้โครงข่ายทางราง ความไม่สามารถแบ่งแยกได้ ปัญหาในการกําหนดราคาและระดับการบริการที่เหมาะสม (indivisibilities) นโยบายการลงทุน PSOs ปัญหาทางการเงิน นิยามของราคาและระดับการบริการ ผลกระทบภายนอก การกําหนดราคา (ทางสังคม) ที่เหมาะสม การควบคุมผลกระทบภายนอก: อุบัติเหตุ มลพิษ พลังงาน เปนตน 17

18 สภาพปญหาการพัฒนาดานรถไฟในปจจุบัน ไมมีหนวยราชการที่เปนเจาภาพถาวร มีภาระหนี้สินสะสมและผลประกอบการขาดทุน โครงสรางพื้นฐานทรุดโทรม ประสิทธิภาพการดําเนินงาน รฟท. และการดําเนินงานลาชา คุณภาพและปริมาณทรัพยากรมนุษยดานรถไฟ 18

19 ประสบการณการปฏิรูปและแปรรูปการรถไฟในตางประเทศ โครงสรางตลาด ความเปน การแยก กรอบการกํากับเหตุผลในการ เจาของการ เจาของ โครงสราง ดูแล ปฏิรูป ประเทศ รถไฟ โครงสราง พื้นฐานและ พื้นฐาน การบริการ กอนการปฏิรูปมีการแขงขันบริษัทเอกชนมีสิทธิในการควบคุมราคาและ การรถไฟเปน ใชรางไมมีการยกเลิก ผลประกอบการ เจาของ เสนทางที่ขาดทุน ขาดทุน สวนแบงตลาด หลังการปฏิรูปมีการแขงขันโดยมีมีสิทธิในการ บริษัทเอกชนการรถไฟเปนมีอิสระดานราคา ลดลง บริษัทใหญเปนหลัก ใชราง เจาของและมีการยกเลิก และมีบริษัทเล็กๆ(Amtrack) เสนทางที่ขาดทุน เปนจํานวนมาก กอนการปฏิรูปผูกขาดโดยรัฐบาล British Rail รัฐบาลเปนการจัดการมีอิสระดานราคา หนวยงานของ เจาของแบบรวมศูนยยกเวนบริการบาง รัฐที่มีความ ประเภท เปนอิสระใน การจัดการ ใชเงินอุดหนุน หลังการปฏิรูปบริษัทเอกชนมีอิสระดานราคา สูง การแขงขันเพื่อสัมปทานแบงแยกอยาง (Railtrack)ใชระบบ RPI-X ใน ปรับปรุง ตลาด มีแฟรนไชนเอกชนและการสิ้นเชิง การกําหนดราคา ประสิทธิภาพ การขนสงผูโดยสารใหเชาหัวรถ การเขาถึง 25 แฟรนไชนจักรกับ และแฟรนไชนการบริษัทเอกชน ขนสงสินคา 2 แฟรนไชน 19

20 ประสบการณการปฏิรูปและแปรรูปการรถไฟในตางประเทศ (ตอ) โครงสรางตลาดความเปน การแยกกรอบการกํากับเหตุผลในการ เจาของการเจาของโครงสรางดูแลปฏิรูป ประเทศ รถไฟโครงสรางพื้นฐานและ พื้นฐานการบริการ กอนการปฏิรูป ผูกขาดโดยรัฐบาลหนวยงานของรัฐบาลเปนการจัดการควบคุมราคา รัฐซึ่งมีความเจาของแบบรวมศูนย เปนอิสระเพียง ใชเงินอุดหนุน เล็กนอย สูง ลดการขาดทุน หลังการปฏิรูประบบแฟรนไชนการจัดการของ บริษัทเอกชนเครือขายของรัฐกําหนดระดับราคา ปรับปรุง โดยมีแฟรนไชนการบริษัท ดําเนินการที่เปดกวางสูงสุด ความถี่และ ประสิทธิภาพ ขนสงผูโดยสารและมีสิทธิในการ ภายใตแฟรนใหกับบุคคลที่คุณภาพบริการขั้น แฟรนไชน การใชราง ขนสงสินคาอยางละ ไชนสาม ต่ำ 6 แฟรนไชน กอนการปฏิรูป ผูกขาดโดยรัฐบาลแผนกของรัฐบาลเปนการจัดการควบคุมราคา รัฐบาลเจาของแบบรวมศูนย ใชเงินอุดหนุน หลังการปฏิรูปจัดการโดยการใหบริการการควบคุมเรื่อง ผูกขาดในโครงสรางบริษัท สูง หนวยงานของดําเนินโดยราคาลดนอยลง พื้นฐานและกึ่งสาธารณะที่มี ลดการขาดทุน รัฐ (Banverket)บริษัทเล็กๆ ผูกขาดในการความเปนอิสระ ปรับปรุง และหนวยงาน บริการ อยางกวางขวาง ทองถิ่น ประสิทธิภาพ โครงสราง และมีบริษัท พื้นฐานจัดการ เล็กๆอื่น โดย Banverket ที่มา:Javier Compos, Pedro Cantos, “Rail Transport Regulation” Policy Research Working Paper No. WPS2064. The World Bank. Washington. 20

21 กรอบการแบงภาระหนาที่ และประเภทของตลาด ประเภทตลาด ภาระหนาที่ ขนสงสินคาและหีบหอ ขนสงผูโดยสาร สินคา หีบหอ ทางไกลภูมิภาค ชานเมือง ความเร็วสูง ความเปนเจาของโครงสรางพื้นฐาน การปรับปรุงโครงสรางพื้นฐาน การบํารุงรักษาโครงสรางพื้นฐาน การควบคุมการปฏิบัติการ การเคลื่อนยายรถไฟ อุปกรณ (ซอมบํารุง) ขนสงตอเนื่อง (multimodal) การตลาด การรับผิดชอบทางการเงิน 21

22 รูปแบบหลักของการปรับโครงสรางองคกร Vertical Integration มีการรวมกลุมในแนวดิ่งอยางสมบูรณ โดยมีองคกรเดียวเปนเจาของรถไฟ และโครง สรางพื้นฐาน ใหบริการเดินรถเอง กอสรางและบํารุงรักษาทาง รถไฟ โครงสราง สัญญาณ ควบคุมการเดินรถ ตลอดจนการบํารุงรักษารถไฟ Competitive Access Integrated operator(ปกติ คือ ภาครัฐ) จัดหา rail facilities ใหผูประกอบการ ราย อื่นๆสามารถเขาใชอยางเปนธรรมและเทาเทียม รูปแบบนี้มีประโยชน ดานการประหยัดต อขนาด ลดตนทุน และทําใหระบบโดยรวมมีประสิทธิภาพ Vertical Separation เกิดการแบงแยกในแนวดิ่ง โดยแยก ownership of facilities ออกจาก rail functions ออกเปนผูจัดการโครงสรางพื้นฐาน กับผูใหบริการเดินรถ และ ระหวางผูจัดการเดินรถกับผูบํารุงรักษา 22

23 Lines-of-Business Options (British Rail, 1980’s) ประเภทของตลาดที่เนน ภาระหนาที่ การขนสง การขนสงผูโดยสารการขนสงประจําการขนสงโครงขาย หีบหอสินคาระหวางเมืองทองถิ่น/จังหวัดตะวันออกเฉียงใต ความเปนเจาของ Fixed Facility การปรับปรุง Fixed Facility การบํารุงรักษา Fixed Facility ภาระกิจหนาที่ดําเนินการโดยพื้นที่ตางๆ สําหรับทุกตลาด การควบคุมการปฏิบัติการ การเคลื่อนยายรถไฟ อุปกรณ (ซอมบํารุง) การตลาด ภาระกิจหนาที่ดําเนินการโดย การรับผิดชอบทางการเงิน ผูประกอบการแตละประเภทธุรกิจ PSO 23

24 รูปแบบการบริหารงานการรถไฟของประเทศเยอรมนี ประเภทของตลาด หนาที่ การขนสงสินคาการขนสงผูโดยสารระยะการขนสงผูโดยสารระยะทางสั้น ทางไกลและนักทองเที่ยว(Regional service) ความเปนเจาของ Fixed Facility DB Holding (German Rail Network)or or Bundesländer การปรับปรุง Fixed Facility DB Netz AG DB Station and Service or Bundesländer การควบคุมการปฏิบัติการ การเดินรถ Raillion GmbH DB Travelling and Bundesländer การบํารุงรักษาอุปกรณ Tourism AG การตลาด การรับผิดชอบการเงิน PSO 24

25 รูปแบบการบริหารงานระบบการขนสงทางรถไฟ แบงแยกกิจการสาขารถไฟออกเปนสวนๆ ตามลักษณะ ตลาด ไดแก ธุรกิจการขนสงสินคาและพัสดุ ธุรกิจการขนสงผูโดยสาร ในเมือง หรือชานเมือง และธุรกิจการขนสงผูโดยสารทางไกล แบงแยกลักษณะงาน (function) ออกเปน 6 ดานหลัก ไดแก การจัดการเกี่ยวกับโครงสรางพื้นฐาน (ปรับปรุง ลงทุน และ บํารุงรักษา) การจัดหาและบํารุงรักษาอุปกรณที่ใชในการเดินรถ (หัวรถจักร แครบรรทุก ) การควบคุมการปฏิบัติงานเดินรถ การใหบริการเดินรถ บริหารการตลาด บริหารการเงิน 25

26 รูปแบบการบริหารงานระบบการขนสงทางรถไฟชวงเปลี่ยนผาน ประเภทของตลาด ภาระหนาที่ การขนสงผูโดยสาร การขนสงสินคาและ พัสดุ ชานเมืองระหวางเมือง ความเปนเจาของโครงสรางฯ รฟท. ปรับปรุงโครงสรางพื้นฐาน รฟท. (เงินงบประมาณจากรัฐบาลผานกรมการขนสงทางราง) บํารุงรักษาโครงสรางพื้นฐาน จัดหา/บํารุงรักษาอุปกรณเดินรถ บริษัทลูกของ รฟท. / บริษัทเอกชน ควบคุมการปฏิบัติการ รฟท. เดินรถ บริษัทลูกของ รฟท. บริหารการตลาดบริษัทเอกชน / บริษัทเอกชน บริหารการเงิน 26

27 Transformation Trend: Financial Losses Efficient Market - Oriented + More Commercial Outlook Create Competition Regulators New Regulatory Framework 27

28 - กำกับดูแล - หาแหล่งเงินทุน - รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี 4. แนวทางการพัฒนาระบบราง 28

29 กฎหมายกับการกํากับดูแล ความหมายการกํากับดูแลกํากับ = ดูแล, ควบคุม ใครกํากับดูแล หนวยงานของรัฐ โดยใชอํานาจตามกฎหมายมหาชน 1. เพื่อควบคุม กํากับดูแลทําไม 2. สงเสริม 3. คุมครอง กํากับดูแลใคร กํากับดูแลผูประกอบการ เกิด ระหวางมีชีวิต ตาย (อนุญาตให (ดูแลการ (เพิกถอน ประกอบการ) ใบอนุญาต) 29

30 ผู้กํากับดูแลด้านการขนส่งทางราง Regulators 1) Central 3) Other Government Agencies Departments 2) Regulatory Agencies 30

31 ประเด็นความรับผิดชอบด้านกํากับดูแล Tasks 1) Government2) Regulator3) Other agencies Legal framework Sectorial policy Planning Privatization design Taxes and subsidies Procurement auctions Concessioning Franchising Pricing Control and penalties Technical regulation Quality standard Environmental regulation Health and Safety Antitrust policy 31

32 Rail Transport Regulation การปฏิรูปและกํากับดูแลดานโครงสราง การกํากับดูแล (Rail Reform and Regulation) ดาน เศรษฐศาสตร การกํากับดูแลดานราคา (Price Regulation) การกํากับดูแล การกํากับดูแลดานคุณภาพ ดานความ (Quality Regulation) ปลอดภัย 32

33 แนวทางการปรับโครงสรางสาขาการขนสงทางรถไฟของประเทศไทย ที่มา: โครงการศึกษาเพื่อการปรับโครงสรางสาขาการขนสงทางรถไฟของประเทศ. TDRI. 2552. 33

34 การสงเสริมใหเอกชนเขามามีสวนรวมในโครงการพัฒนาของรัฐ โครงสรางตลาด ความพรอมดานกํากับดูแลความพรอมของเอกชน ปจจัยที่ตองคํานึงถึงในขั้นตอนการประเมิน ผลผลิตที่คาดวาจะไดจากการดําเนินโครงการ (output specification) ความคุมคาของการลงทุน (value for money) การประเมินความเสี่ยง (risk assessment) การประเมินความเปนไปไดของภาคเอกชนในการลงทุน ทั้งทางดาน การเงินและความชํานาญ (bankability and expertise) ขอกฎหมายที่เกี่ยวของ (legal viability) 34 หาแหล่งเงินทุน

35 ดานการคลัง ดานเศรษฐศาสตร ดานสังคม ดานการเมือง 1. ภาระหนี้ภาครัฐ1. ความรวดเร็ว1. การโอนถาย1. ความตองการ1. บทบาทใหม เทคโนโลยีของรัฐ 2. ความคุมคา2. ความทันสมัย2. การฝกอบรม2. มาตรฐานการ2. ความมั่นคง ครองชีพทางการเมือง 3. การจัดสรร3. ความนาเชื่อถือ3. การคนควา3. สิ่งแวดลอม ความเสี่ยง 4. ตนทุนที่เหมาะสม4. ประสิทธิภาพ4. ความสมดุล สังคม-พาณิชย 5. เงินทุนตางประเทศ ดานเทคโนโลยี 6. ตลาดทุนภายใน 35 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากรูปแบบ PPP

36 UltimateDur- Types of PPPs Acronym O&M Entry ment ownership ation Management contract Contract PrivatePublic 3-5 Leasing Contract PrivatePublic Semi-private 8-15 Build-Operate-TransferBOT Greenfield Private Semi-private Private20-30 Build-Own-Operate-Transfer BOOT Greenfield Private Semi-private Private30+ Build-Own-OperateBOO Greenfield Private 30+ Build-Lease-OwnBLO Greenfield Private 30+ Rehabilitate-Operate-Transfer ROT Concession Private Public Semi-private 20-30 Rehabilitate-Lease/Rent- RLRT Concession Private Public More-private 20-30 Transfer Build-Rehabilitate-Operate- BROT Concession Private PublicPrivate 20-30 Transfer Partial Privatization Divesture Private 30+ Full Privatization Divesture Private Indef. Source: Thomsen (2005), OECD Secretariat, World Bank’s PPI database, and authors' assessments. Market risk Invest- Mode of 36 ภาพรวมการมีส่วนร่วมของเอกชนในสาขารถไฟ

37 ปจจัยหลักที่ตองพิจารณา ในการออกแบบสัญญาสัมปทาน (concession contract) Contract type Contract Infrastructure award procedures Concession Quality Contract Duration Regulation PriceContract ControlContents 37

38 ตัวแปรสําคัญของการออกแบบ concession contract ประเภทของสัญญา ขนาดที่เหมาะสม (package size) ขึ้นอยูกับความประหยัดตอขนาด / ขอบเขต และ ความสามารถในการแขงขัน Horizontal concessions (ตามภูมิศาสตร) ขึ้นอยูกับคุณลักษณะของประเทศ Vertical concessions (ตามหนาที่) ขึ้นอยูกับคุณลักษณะของโครงขาย (network) Mixed Packages ขึ้นอยูกับความสามารถในการทํากําไร และขอจํากัดทางการ เงิน ของผูประมูล การสัปทานในดานสินคา และผูโดยสาร ขึ้นอยูกับสัดสวนโดยเปรียบเทียบของ การขนสง (relative traffic shares) ระยะเวลา ประเภทของการประมูล การเลือกขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของรัฐบาล (การคลัง ความเทาเทียม หรือ ประสิทธิภาพ) ระยะเวลา ระยะสั้น หรือระยะยาว สาระสําคัญ Concessionaire: - obligations: - rights Regulator: - risk sharing - asset ownership 38

39 ตัวแปรสําคัญของการออกแบบ concession contract (ตอ) การควบคุมราคา การควบคุมราคาขึ้นอยูกับอํานาจการผูกขาด และวัตถุประสงคทางสังคม เกณฑในอุดมคติ: Marginal Cost Rules กลไกในทางปฏิบัติ: Rate of Return Regulation and Price Cap Schemes Other Schemes: Price Discrimination and Cross-Subsidization การกํากับดูแลดาน นิยามของเปาหมายดานคุณภาพในการขนสงทางราง คุณภาพ- คุณภาพการบริการ - ความปลอดภัยและผลกระทบ - คุณภาพ เชิงพลวัตร: การลงทุน เครื่องมือสําหรับ การควบคุมคุณภาพ โครงสรางพื้นฐาน คาใชโครงขายทางราง ความรวมมือและการแขงขันระหวางหมวดการขนสง 39

40 วงจรแหงความลมเหลว Bureaucracy ขาดแคลน งบประมาณ ขาดทุนรายป ลงทุนและ และสะสม บํารุงรักษาไม เพิ่มขึ้น เพียงพอ การใชบริการบริการขาด ลดลงคุณภาพ Union 40

41 ความคาดหวัง: รูปแบบธุรกิจที่ชวยทําใหหลุดพนจากวงจร  เพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงาน  กระจายความเสี่ยง  ลดภาระการคลังของรัฐ  ไมขัดกับกรอบกฎหมายที่มีผลบังคับใชอยู 41

42 42 Innovation application space Source: Assink,2006 รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี

43 43 Different policies for different type of innovations Source: Machiba (2010)

44 44 A sectoral system of innovation Source: Arnold et al., 2001

45 45 The innovation system railways Source: GHG-TransPoRD, published in Leduc et al. (2010)

46 Roadmap การพัฒนาอุตสาหกรรมระบบรางและอุตสาหกรรม เกี่ยวเนื่อง เปาหมายคือ % Local Content 1.วิจัย และพัฒนา ผูผลิตชิ้นสวน ชิ้นสวนที่มี ไทยเขาไปเปน 1.ยกระดับมาตรฐาน เทคโนโลยีสูง ผูผลิตชิ้นสวนไทย Supply Chain 2.ยกระดับ 2.สรางความ มาตรฐานหอง อุตสาหกรรม 1.ตั้งสถาบันพัฒนา เชี่ยวชาญดาน ทดสอบ ระบบรางฯ ระบบรางของ เทคโนโลยีในการ 3.สงเสริมใหผูผลิต 2.กําหนดเงื่อนไขการ ผลิตชิ้นสวน สงออกชิ้นสวนสู โลกได ประมูลเพื่อสงเสริม 3.วิจัยและพัฒนา ตลาดโลก ใหภาคเอกชนมี ชิ้นสวนระบบรางที่มี สวนรวมมากขึ้น ศักยภาพ 3.ใหการศึกษา และ 4.พัฒนาหลักสูตร ฝกอบรมชาง รายวิชาชั้นสูงดาน เทคนิค และวิศวกร เทคโนโลยีระบบราง ที่จบการศึกษาใหม เพื่อเขาสูงานดาน ระบบราง (พ.ศ. 2553 - 2556)(พ.ศ. 2557 - 2561)(พ.ศ. 2562 - 2573) 46


ดาวน์โหลด ppt การจัดการองค์กรและการกำกับดูแล ด้านระบบขนส่งทางราง ดร. ณรงค์ ป้อมหลักทอง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (องค์การมหาชน)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google