งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โดย สำนักพัฒนาธุรกิจสหกรณ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โดย สำนักพัฒนาธุรกิจสหกรณ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โดย สำนักพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าว และสร้างมูลค่าเพิ่ม โดยสถาบันเกษตรกร โดย สำนักพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์ 07/04/60

2 เจ้าภาพหลัก : กสส. และ ธ.ก.ส.
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวฯ โดยสถาบันเกษตรกร เจ้าภาพหลัก : กสส. และ ธ.ก.ส. ความสำคัญ ขบวนการสหกรณ์.....ถือได้ว่าเป็นภาคที่มีความสำคัญในการบรรเทาความเดือดร้อนของเกษตรกรสมาชิก ซึ่งทำนาข้าว มีอยู่จำนวนประมาณ 1 ล้านคน การสนับสนุนสินเชื่อรวบรวมข้าวผ่านสถาบันเกษตรกร จะเสริมสร้างศักยภาพการรวมกลุ่ม และสามารถเสริมสร้างประสิทธิภาพการผลิตการตลาดข้าว ในภาพรวม 07/04/60

3 โครงการสนับสนุนสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวฯ โดยสถาบันเกษตรกร
วัตถุประสงค์ เป้าหมาย เพื่อช่วยชะลอปริมาณ ข้าวเปลือกที่เข้าสู่ตลาด ในช่วงที่ข้าวออกมามาก เพื่อเก็บข้าวเปลือกไว้แปรรูป เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มโดยการ แปรรูปเป็นข้าวสาร สนับสนุนสินเชื่อแก่สถาบันเกษตรกร เพื่อรวบรวมข้าวเปลือกเพื่อจำหน่าย และเพื่อการแปรรูป รวมเป็นวงเงินทั้งสิ้น 20,000 ล้านบาท - เพื่อรวบรวมข้าวเปลือกเพื่อจำหน่ายจำนวน ล้านตันข้าวเปลือก วงเงิน 18,000 ล้านบาท - เพื่อรวบรวมข้าวเปลือกเก็บไว้ แปรรูป 400,000 ตันข้าวเปลือก วงเงิน 2,000 ล้านบาท 07/04/60

4 โครงการสนับสนุนสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวฯ โดยสถาบันเกษตรกร
การเตรียมโครงการฯ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ชี้แจงสหกรณ์จังหวัด ผู้ตรวจราชการกรมส่งเสริมสหกรณ์ เตรียมความ พร้อมเบื้องต้น แผนการรวบรวมข้าวเปลือกปี การผลิต 2557/58 เป้าหมาย 4 ล้านตันข้าวเปลือก ชี้แจงจังหวัดหวัดเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2557 ณ โรงแรมรอยัลริเวิอร์ กรุงเทพ ฯ เพื่อให้ทราบมาตรการที่เกี่ยวข้องกับกรมส่งเสริมสหกรณ์ และแผนการรวบรวมข้าวเปลือกของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร (3) จัดประชุมประชุมทางไกลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Web Conference) วันที่ 7 กรกฎาคม ณ ห้องประชุมชั้น 2 ห้อง 226 กรมส่งเสริมสหกรณ์ ผลิต ปี 2557/58 แก่ผู้แทนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ 07/04/60

5 โครงการสนับสนุนสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวฯ โดยสถาบันเกษตรกร
การซักซ้อมโครงการฯ สถาบันเกษตรกร จะต้องเปิดวงเงินกู้เครดิตเงินสดกับ ธ.ก.ส.ใหม่ ตามโครงการนี้ กรณีที่เปิดวงเงินและสหกรณ์ได้กู้เต็มวงเงินแล้ว สหกรณ์สามารถขอขยายวงเงินกู้ได้อีก 3. คุณสมบัติของสถาบันเกษตรกร (1) จดทะเบียนตาม พรบ.สหกรณ์ พ.ศ มาแล้วไม่ตำกว่า 1 ปี (2) มีผลกระกอบการดี 4. สถาบันเกษตรกรจ่าย ดบ.ร้อยละ 1 ต่อปี ระยะเวลาดำเนินการ 1 ต.ค.2557 –30 ก.ย.2558 5. รูปแบบการดำเนินธุรกิจข้าวเปลือก ให้สหกรณ์ใช้วิธี ซื้อมา-ขายไป เว้นแต่สหกรณ์ ที่มีโรงสี หากจะเก็บข้าวเปลือกเพื่อแปรรูป ต้องมีการประกันยุ้งฉางโดยรัฐจ่ายเบี้ยประกัน 6. การกำกับดูแลโครงการฯ ให้มีคณะกรรมการบริหาร โครงการฯ 2 ชุด (1) คณะกรรมการส่วนกลาง (2) คณะอนุกรรมการระดับจังหวัด - ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธาน

6 โครงการสนับสนุนสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวฯ โดยสถาบันเกษตรกร
1. สหกรณ์จังหวัดวางแผนการรวบรวมข้าวเปลือก ปีการผลิต 2557/58 ร่วมกับสถาบันเกษตรกรในจังหวัด แผนรวบรวมฯ 563 แห่ง ล้านตัน 2. สถาบันเกษตรกร จะต้องเปิดวงเงินกู้เครดิตเงินสดกับ ธ.ก.ส. ใหม่ ตามโครงการนี้ 3. กรณีที่เปิดวงเงิน และสหกรณ์ได้กู้เต็มวงเงินแล้ว สหกรณ์สามารถขอขยายวงเงินกู้ได้อีก 4. ให้สหกรณ์เตรียมจัดทำข้อมูลเปิดวงเงินเครดิตเงินสด เพื่อขอกู้เงินจาก ธ.ก.ส ให้สหกรณ์ตรวจสอบวงเงินกู้ยืมฯ นายทะเบียนสหกรณ์ ให้สหกรณ์จังหวัดให้คำแนะนำการจัดทำโครงการ (แผนธุรกิจตามแบบ ธ.ก.ส.) แก่สหกรณ์ ให้สหกรณ์จังหวัดให้คำแนะนำเพิ่มประสิทธิภาพการรวบรวม แปรรูป และการตลาดข้าวแก่สหกรณ์ ให้สหกรณ์จังหวัดกำกับดูแลการดำเนินโครงการฯ ให้เป็น ไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ระดับจังหวัด 07/04/60 6

7 โครงการสนับสนุนสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวฯ โดยสถาบันเกษตรกร
แผนปฏิบัติงานโครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร (Action Plan) กลยุทธ์/แผนงาน/กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินงาน ส่วนงานที่เกี่ยวข้อง ปี 2557 ปี 2558 ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. 1.ประชุมชี้แจงและประชาสัมพันธ์โครงการให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร โดยกำหนดจุดในการประชุมชี้แจงและประชาสัมพันธ์ในพื้นที่จำนวน 5 จุด ได้แก่ 1.1 ภาคเหนือ จำนวน 1 จุด 1.2 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน จำนวน 1 จุด 1.3 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง จำนวน 1 จุด 1.4 ภาคกลาง จำนวน 1 จุด 1.5 ภาคใต้ จำนวน 1 จุด 1.6 เปิดตัวโครงการ (KICK OFF) 1 จุด กสส./กตส./ ธ.ก.ส./กสก. 3. กำหนดหลักเกณฑ์และคู่มือปฏิบัติงาน - จัดทำคำชี้แจง/วิธีปฏิบัติ คณะประสานงาน กสส./กตส./ ธ.ก.ส. 4. เปิดรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการและยื่นเอกสารการขอกู้เงิน 4.1 ตรวจสอบเอกสารและคุณสมบัติของผู้เข้าร่วมโครงการ (ลูกค้ารายใหม่) 4.2 ตรวจสอบเอกสารการขอกู้เงิน พร้อมวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของการให้สินเชื่อ ธ.ก.ส./กสส. คณะอนุกรรม การบริหารโครงการฯ 07/04/60 7

8 โครงการสนับสนุนสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวฯ โดยสถาบันเกษตรกร
แผนปฏิบัติงานโครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร (Action Plan) (ต่อ) กลยุทธ์/แผนงาน/กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินงาน ส่วนงานที่เกี่ยวข้อง ปี 2557 ปี 2558 ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ มี.ค. เม.ย พ.ค มิ.ย. ก.ค 5. การพิจารณาอนุมัติเงินกู้ ธ.ก.ส. 6. อบรมพัฒนาการตรวจสอบคุณภาพข้าว กสส./ธ.ก.ส. 7. จัดทำรายงานผลโครงการ 8. ติดตามตรวจเยี่ยม กสส./กตส./ ธ.ก.ส. 9. ประเมินผลโครงการ หน่วยงานอิสระภายนอก 07/04/60 8

9 แผนการรวบรวมข้าวเปลือก ปี 2557/58
, โครงการสนับสนุนสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวเปลือกและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร แจ้งแผนรวมข้าว 563 แห่ง จาก 60 จังหวัด แผนรวบรวมข้าว 556 แห่ง 4,097,573 ตัน แผนเก็บข้าวเปลือกไว้แปรรูป 103 แห่ง 368,370 ตันข้าวเปลือก ประสงค์ขอกู้จาก ธ.ก.ส. รวม 18, ล้านบาท 07/04/60

10 แผนการรวบรวมข้าวเปลือกปี 2557/58
เขต 3,9 เขต 1,2 ที่ จังหวัด เขต แผนการรวบรวม ปีการผลิต 2557/58 (ตัน) 30 กรุงเทพมหานคร - 31 นนทบุรี 1 32 ปทุมธานี 47,300 33 พระนครศรีอยุธยา 67,685 34 สระบุรี 34,552 35 ชัยนาท 2 30,354 36 ลพบุรี 44,500 37 สิงห์บุรี 29,000 38 อ่างทอง 35,000 รวม 228,557 ที่ จังหวัด เขต แผนรวบรวม ปีการผลิต 2557/58 (ตัน) 1 ฉะเชิงเทรา 3 66,550 2 นครนายก 38,000 ปราจีนบุรี 25,379 4 สมุทรปราการ 5,011 5 สระแก้ว 49,300 6 ชลบุรี 9 3,000 7 จันทบุรี 1,500 8 ตราด 1,400 ระยอง - รวม 789,104 07/04/60 10

11 แผนการรวบรวมข้าวเปลือก ปี 2557/58
เขต 15 , 16 เขต 17 , 18 ที่ จังหวัด เขต แผนรวบรวม ปีการผลิต 2557/58 (ตัน) 39 เชียงใหม่ 15 24,000 40 แม่ฮ่องสอน 100 41 ลำปาง 39,500 42 ลำพูน 15,000 43 เชียงราย 16 108,700 44 น่าน 13,484 45 พะเยา 59,800 46 แพร่ 36,701 รวม 397,285 ที่ จังหวัด เขต แผนรวบรวม ปีการผลิต 2557/58 (ตัน) 47 ตาก 17 12,400 48 พิษณุโลก 48,500 49 เพชรบูรณ์ 51,000 50 สุโขทัย 96,000 51 อุตรดิตถ์ 278,500 52 กำแพงเพชร 18 169,300 53 นครสวรรค์ 190,000 54 พิจิตร 112,400 55 อุทัยธานี 47,000 รวม 1,005,100 07/04/60 11

12 แผนการรวบรวมข้าวเปลือก ปี 2557/58
เขต 10,11,12 เขต 13, 14 ที่ จังหวัด เขต แผนรวบรวม ปีการผลิต 2557/58 (ตัน) 10 หนองคาย 4,000 11 หนองบัวลำภู 18,750 12 อุดรธานี 102,600 13 เลย 3,551 14 บึงกาฬ 2,216 15 นครพนม 64,747 16 มุกดาหาร 23,700 17 สกลนคร 103,859 18 กาฬสินธุ์ 78,920 19 ขอนแก่น 115,280 20 มหาสารคาม 102,181 21 ร้อยเอ็ด 178,300 รวม 1,033,874 ที่ จังหวัด เขต แผนการรวบรวม ปีการผลิต 2557/58 (ตัน) 22 ยโสธร 13 57,700 23 ศรีสะเกษ 151,478 24 อำนาจเจริญ 45,206 25 อุบลราชธานี 182,100 26 ชัยภูมิ 14 83,100 27 นครราชสีมา 181,740 28 บุรีรัมย์ 157,700 29 สุรินทร์ 174,850 รวม 288,577 07/04/60 12

13 แผนการรวบรวมข้าวเปลือก ปี 2557/58
เขต 6 , 8 เขต 4 , 5 ที่ จังหวัด เขต แผนรวบรวม ปีการผลิต 2557/58 (ตัน) 56 กาญจนบุรี 4 35,770 57 ราชบุรี 53,000 58 สุพรรณบุรี 328,642 59 นครปฐม - 60 ประจวบคีรีขันธ์ 5 1,250 61 เพชรบุรี 36,411 62 สมุทรสาคร 63 สมุทรสงคราม รวม 455,073 ที่ จังหวัด เขต แผนรวบรวม ปีการผลิต 2557/58 (ตัน) 64 นครศรีธรรมราช 6 24,000 65 พัทลุง 1,120 66 ยะลา 8 - 67 สงขลา 4,300 รวม 29,420 เขต 6 , 7 สหกรณ์ในพื้นที่จังหวัดไม่ได้รวบรวมข้าวเปลือก คือ กทม. นนทบุรี นครปฐม ชุมพร สุราษฎร์ธานี ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ และตรัง 07/04/60 13

14 โครงการเชื่อมโยงเครือข่ายข้าวสารสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทั้งในและต่างประเทศ
วัตถุประสงค์ : เพื่อเชื่อมโยงข้าวสารของสหกรณ์ที่มีคุณภาพนำไปสู่ผู้บริโภคและผู้ประกอบการ เป้าหมาย : 1.8 แสนตันข้าวสาร งบประมาณ : ใช้งบประมาณปกติ วิธีการ ร่วมกับกระทรวงพาณิชย์ กรมการค้าภายใน จัดหาช่องทางการจำหน่ายตลาดในและต่างประเทศ 1.1 Contact Farming ระหว่างเกษตรกับผู้ทำข้าวถุง ผู้ประกอบการค้าข้าวผู้แปรรูป และ Modern Trade 2.2 ให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร นำข้าวไปประมูลข้าวสารที่ตลาดกลางประมูลข้าวสาร 2.3 เชื่อมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เข้าขายในตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า (AFET) ในระยะต่อไป 2. เชื่อมโยงตลาด โดยใช้ช่องทางตลาดใหม่ในส่วนราชการ และอื่นๆ เช่น โรงพยาบาล ค่ายทหาร สถานกักกัน เรือนจำ ฯลฯ ซื้อข้าวสารจากสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ไปบริโภค แนวทางที่ 1 ช่วยลดต้นทุนการทำนาของสมาชิกสหกรณ์ แนววทางที่ 2, 3 และ 4 เป็นการเสริมกลไกการตลาดในธุรกิจปกติที่สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และตลาดกลางข้าวเปลือกให้ทำหน้าที่กระตุ้นตลาดข้าวเปลือก ผลที่คาดว่าจะได้รับ : 1. เกษตรกรที่ผลิตข้าวคุณภาพ สามารถขายข้าวขายข้าวเปลือกได้ราคาที่เหมาะสมตามกลไกตลาด 2. สร้างแรงจูงใจและความเชื่อมั่นให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร แปรรูปข้าวสารเพิ่มขึ้น 3. เพิ่มช่องทางการตลาดให้กับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 4. ทำให้ระบบเศรษฐกิจในชุมชนหรือในระดับรากหญ้าเกิดความเข้มแข็งในตลาด 07/04/60 14

15 สรุปบทบาทของกรมส่งเสริมสหกรณ์
มาตรการด้านการผลิตและบริการตลาดข้าว ปีการผลิต 2557/58 1. ประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกสหกรณ์ที่มีอาชีพทำนาไปขึ้นทะเบียนกับกรมส่งเสริมการเกษตร 2. แนะนำ ส่งเสริม สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร รวบรวมข้าวเปลือกให้ได้ตามแผน (4 ล้านตัน) 3. แนะนำ ส่งเสริม สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร แปรรูปข้าวสารให้ได้ตามแผน (4 แสนตัน) 4. สนับสนุน ผลักดันการเชื่อมโยงตลาดข้าวสารทั้งในและต่างประเทศ (180,000 ตัน) 07/04/60 15

16 จบการนำเสนอ ขอขอบคุณ... สวัสดี 07/04/60 16


ดาวน์โหลด ppt โดย สำนักพัฒนาธุรกิจสหกรณ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google