งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภารกิจสำนักงานประกันสังคม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภารกิจสำนักงานประกันสังคม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภารกิจสำนักงานประกันสังคม
กองทุนเงินทดแทน กองทุนประกันสังคม

2 กฎหมายประกันสังคม เป็นกฎหมายที่สร้างหลักประกันให้กับลูกจ้างโดยบังคับ
กับสถานประกอบการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป (เป็นสมาชิกตามมาตรา 33 ของกฎหมาย) เป็นกฎหมายที่เปิดโอกาสให้กับผู้ที่เคยเป็นสมาชิกของกองทุนประกันสังคมเมื่อออกจากงานแล้วสามารถสมัครเป็นสมาชิกของกองทุนประกันสังคมได้ (เป็นสมาชิกตามมาตรา 39 ของกฎหมาย) บุคคลทั่ว ๆ ไปก็สามารถสมัครเป็นสมาชิกของกองทุนประกันสังคมได้เช่นกัน(เป็นสมาชิกตาม มาตรา 40 ของกฎหมาย)

3 นายจ้าง ลูกจ้าง รัฐบาล
กองทุนประกันสังคม(สำหรับผู้ที่เป็นลูกจ้าง) ขึ้นทะเบียน นายจ้าง นายจ้าง ลูกจ้าง รัฐบาล จ่ายเงินสมทบ รับประโยชน์ ลูกจ้าง

4 สิทธิประโยชน์ของกองทุนประกันสังคม(สำหรับผู้ที่เป็นลูกจ้าง)
เจ็บป่วย ว่างงาน คลอดบุตร 7 กรณี ทุพพลภาพ ชราภาพ ตาย สงเคราะห์บุตร

5 ลูกจ้างจะได้รับการคุ้มครองจากกองทุนประกันสังคมเมื่อนายจ้าง และลูกจ้างได้จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุน...กี่เดือน... เจ็บป่วยหรือประสบอันตรายต้องจ่ายเงินสมทบไม่ต่ำกว่า 3 เดือน ทุพพลภาพ 3 เดือน ตาย 1 เดือน คลอดบุตร 7 เดือน ว่างงาน 6 เดือน ชราภาพ(บำนาญ) 15 ปี อายุ 55 ปี สงเคราะห์บุตร 12 เดือน 23

6 เงินสมทบ นายจ้าง/ลูกจ้างต้องนำส่งทุกเดือน (ฐานค่าจ้าง 1,650–15,000 บาท) หรือ ปัจจุบันอัตราร้อยละ 5 เท่ากับ บาท ทั้งนี้รัฐบาลจะออกเงินสมทบเข้ากองทุน อีกส่วนหนึ่ง (ร้อยละ 2.75)

7 เจ็บป่วย หรือประสบอันตราย
1. ได้รับบริการทางการแพทย์ 2. เงินทดแทนการขาดรายได้ (ร้อยละ 50 ของค่าจ้าง ตามที่หยุดงานจริง/ตามคำสั่งแพทย์แต่ไม่เกิน 90 วันต่อครั้ง และไม่เกิน 180 วันต่อปี เว้นแต่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง (ไม่เกิน 365 วัน) 3. ค่าบริการทางการแพทย์กรณีถอน/อุดฟัน ขูดหินปูน ฟันปลอม ฐานปลาสติก 4. ค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณ์บำบัดโรค การบำบัดทดแทนไต โดยการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม 6. การล้างช่องท้องด้วยน้ำยาแบบถาวร การปลูกถ่ายไต 7. การปลูกถ่ายไขกระดูก 8. การผ่าตัดเปลี่ยนกระจกตา

8 กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน
สถานพยาบาลของรัฐ ผู้ป่วยนอก เบิกค่ารักษาได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น ผู้ป่วยใน เบิกค่ารักษาได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น ภายใน 72 ชม. (ยกเว้นค่าห้องและอาหารไม่เกินวันละ 700 บาท) สถานพยาบาลของเอกชน ผู้ป่วยนอก เบิกค่ารักษาได้เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 1,000 บาท จะจ่ายเกิน 1,000 บาท ได้หากมีการตรวจรักษา ตามรายการในประกาศ ฯ ผู้ป่วยใน เบิกค่ารักษาได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น ภายใน 72 ชม. จ่ายตามอัตราและหลักเกณฑ์

9 เจ็บป่วย หรือประสบอันตราย (ต่อ)
กรณีประสบอันตราย/กรณีฉุกเฉิน ไม่จำกัดจำนวนครั้ง กรณีมีความจำเป็นต้องรับหรือส่งตัวผู้ป่วยไปตรวจ หรือรักษาต่อ รพ.อื่น ภายในระยะเวลา 72 ชม. สามารถ เบิกค่าพาหนะได้ภายในเขตจังหวัด ไม่เกิน 500 บาท ต่อครั้ง และ 300 บาทต่อครั้งสำหรับพาหนะรับจ้าง หรือส่วนบุคคล ข้ามเขตจังหวัด จ่ายเพิ่มจากกรณี ภายในเขตจังหวัด กม.ละ 6 บาท เมื่อเข้ารักษาที่ รพ.อื่น ให้ ผปต./ญาติ/ผู้เกี่ยวข้อง แจ้ง รพ.ตามบัตรรับรองสิทธิทราบโดยด่วน เพื่อรับผิดชอบ ค่ารักษาพยาบาล มิฉะนั้นต้องจ่ายค่ารักษาต่อจาก 72 ชม. เอง

10 กรณีคลอดบุตร เงินค่าคลอดบุตร จ่ายครั้งละ 13,000 บาท คนละไม่เกิน 2 ครั้ง เงินสงเคราะห์การหยุดงาน จ่ายเฉพาะ ผปต.หญิง ในอัตรา 50 ของค่าจ้างเฉลี่ยเป็นเวลา 90 วัน

11 กรณีทุพพลภาพ - เงินค่าบริการทางการแพทย์ เงินทดแทนการขาดรายได้ จ่ายรายเดือน ในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้าง ตลอดชีวิต - ค่าอวัยวะเทียม ตามอัตราและชนิดตามประกาศ ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพ จ่ายเท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นไม่เกิน 40,000 บาท ต่อราย - ค่าทำศพ และเงินสงเคราะห์กรณีตาย

12 กรณีตาย เงินค่าทำศพ 40,000 บาท เงินสงเคราะห์กรณีตาย จ่ายเงินสมทบ 3 ปี ได้รับเท่ากับค่าจ้างเฉลี่ย หนึ่งเดือนครึ่ง - จ่ายเงินสมทบ 10 ปี ขึ้นไป ได้รับเท่ากับค่าจ้าง เฉลี่ย 5 เดือน

13 กรณีสงเคราะห์บุตร เงินสงเคราะห์บุตร เหมาจ่าย 400 บาท ต่อบุตร 1 คน สำหรับบุตรโดยชอบด้วยกฎหมาย มีอายุไม่เกิน 6 ปี คราวละไม่เกิน 2 คน

14 กรณีว่างงาน - กรณีถูกเลิกจ้าง ได้รับเงินทดแทนในอัตราร้อยละ 50 ของ ค่าจ้าง ครั้งละไม่เกิน 180 วัน - กรณีลาออก/สิ้นสุดสัญญาจ้างที่มีกำหนด ระยะเวลา ได้รับเงินทดแทนในอัตราร้อยละ 30 ของค่าจ้าง ครั้งละไม่เกิน 90 วัน หมายเหตุ ผปต.ต้องขึ้นทะเบียนผู้ว่างงานที่ สำนักจัดหางานของรัฐภายใน 30 วัน เพื่อมิให้ เสียสิทธิ

15 กรณีชราภาพ มีอายุครบ 55 ปี และความเป็น ผปต
กรณีชราภาพ มีอายุครบ 55 ปี และความเป็น ผปต. สิ้นสุดลง หรือเมื่อเป็นผู้ทุพพลภาพ หรือเมื่อเสียชีวิต 1. บำเหน็จชราภาพ 2. บำนาญชราภาพ

16 1. บำนาญชราภาพ (จ่ายเป็นรายเดือนตลอดชีวิต) จ่ายเงินสมทบครบ 180 เดือน ได้รับในอัตราร้อยละ 20 ของค่าจ้าง เฉลี่ย 60 เดือนสุดท้ายที่ใช้เป็นฐานในการคำนวณเงินสมทบ ก่อน ความเป็น ผปต. สิ้นสุดลง กรณีจ่ายเกิน 180 เดือน ให้ปรับเพิ่มขึ้นอีก ร้อยละ 1.5 ทุก ๆ ปี

17 2. บำเหน็จชราภาพ (จ่ายครั้งเดียว) จ่ายเงินสมทบต่ำกว่า 12 เดือน ได้รับคืนเท่ากับจำนวนเงินสมทบ ผปต.+ นายจ้าง จ่ายเงินสมทบตั้งแต่ 12 เดือนขึ้นไป ได้รับคืนเท่ากับจำนวนเงินสมทบ ผปต.+ นายจ้าง + ผลปย ผู้รับบำนาญตายภายใน 60 เดือน จ่ายเป็นบำเหน็จให้ 10 เท่าของเงินบำนาญ รายเดือน

18 กองทุนเงินทดแทน

19 กองทุนเงินทดแทน ขึ้นทะเบียน จ่ายเงินสมทบ รับประโยชน์ นายจ้าง นายจ้าง
ลูกจ้าง

20  เจ็บป่วยหรือประสบอันตราย
สิทธิประโยชน์ที่ลูกจ้างได้รับเมื่อเป็นสมาชิกของ กองทุนเงินทดแทนมีอะไรบ้าง ได้รับการคุ้มครอง  เจ็บป่วยหรือประสบอันตราย  สูญเสียอวัยวะ  ตายหรือสูญหาย  ทุพพลภาพ ที่เกิดจากการทำงานให้นายจ้าง 11 20

21 อัตราเงินสมทบของกองทุนเงินทดแทน (อยู่ระหว่าง 0.2 - 1% ของค่าจ้าง)
ประเภทกิจการ อัตราเงินสมทบ การขุดดิน กรวด การดูดทราย การฆ่าสัตว์ การผลิตเครื่องดื่ม การถนอมอาหาร การผลิตอาหาร การผลิตน้ำแข็ง การทำป่าไม้ การเลื่อยไม้ การแปรรูปไม้ การผลิตเครื่องเรือน เครื่องตกแต่ง เครื่องใช้ หรือผลิตจากไม้ 1.0 บริการซัก อบ รีด ภัตตาคาร ร้านขายอาหาร โรงแรม สถาบันการเงิน การศึกษา ฯลฯ 8 21

22 สำหรับอาชีพอิสระ (มาตรา 40)
กองทุนประกันสังคม สำหรับอาชีพอิสระ (มาตรา 40)

23 เงินสมทบ 100 150 รูปแบบที่ 1 รูปแบบที่ 2 ประชาชนจ่าย 70 บาท
รูปแบบที่ 1 ประชาชนจ่าย 70 บาท 100 รัฐบาลอุดหนุน 30 บาท รูปแบบที่ 2 ประชาชนจ่าย 100 บาท 150 รัฐบาลอุดหนุน 50 บาท

24 สิทธิประโยชน์ รูปแบบที่ 1 เงินทดแทนขาดรายได้เมื่อนอนเป็นผู้ป่วยใน ตั้งแต่ 2 วันขึ้นไป ได้รับเงินทดแทนเมื่อเสียชีวิต ได้เงินทดแทนเมื่อเป็นผู้ทุพพลภาพ รูปแบบที่ 2 เงินทดแทนขาดรายได้เมื่อนอนเป็นผู้ป่วยใน ตั้งแต่ 2 วันขึ้นไป ได้รับเงินทดแทนเมื่อเสียชีวิต ได้เงินทดแทนเมื่อเป็นผู้ทุพพลภาพ เงินออมกรณีชราภาพ

25 การสมัคร เป็นบุคคลอายุระหว่าง ปี (เฉพาะปี 2557 ปีเดียว คนที่อายุ ปี สามารถสมัครได้ สมัครได้ถึงวันที่ 9 ธันวาคม 2557) นี้

26 ต้องการรายละเอียดเพิ่มเติมให้ติดต่อสอบถามที่สำนักงานประกันสังคมจังหวัดทั่วประเทศ หรือสายด่วน 1506

27 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt ภารกิจสำนักงานประกันสังคม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google