งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เทคนิคการสอนเชิงพฤติกรรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เทคนิคการสอนเชิงพฤติกรรม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เทคนิคการสอนเชิงพฤติกรรม
ดร.สมพร หวานเสร็จ ผู้อำนวยการเชี่ยวชาญ โรงเรียนพิบูลประชาสรรค์

2 พฤติกรรม เด็กนักเรียน ของท่านแสดงพฤติกรรมต่อไปนี้หรือไม่
□ ความก้าวร้าวต่อผู้อื่น □ ความวิตกกังวล □ วิ่งหรือวิ่งหนีโดยฉับพลันทันที □ ซึมเศร้า □ ทำลายสิ่งของ □ มีปัญหาในการเปลี่ยนกิจกรรมหรือสภาพแวดล้อม □ ปั่นป่วนมาก □ อยู่ไม่นิ่ง □ ขาดความตั้งใจ □ หัวเราะหรือหัวเราะคิกคักอย่างไม่มีเหตุผล หรือชอบทำแปลก □ กรีดร้องหรือตะโกน As we have discussed, the behavioral characteristics of children with autism vary vastly. When you think of behavior as being a form of communication, it is a very effective and efficient means of communication. This and the following slide list some of the behaviors you may observe in an individual with ASD. Some of the behaviors we have listed include: Aggression towards others, anxiety, depression, destruction of property, a difficulty with transitioning between activities and environments, high agitation, inattention, screaming.

3 ลักษณะพฤติกรรม (ต่อ) □ ไม่สนใจผู้อื่น □ สำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง
□ มีพฤติกรรมย้ำทำหรือย้ำคิดย้ำทำ □ กินสิ่งของที่ไม่น่ากินได้ □ มีทักษะในการช่วยเหลือตนเองต่ำ □ ชอบทำอะไรซ้ำ ๆ ซาก ๆ □ ติดยึดสิ่งของ □ มีพฤติกรรมทำร้ายตัวเอง □ มีพฤติกรรมกระตุ้นตัวเอง □ มีปัญหาการนอน □ มีอารมณ์เกรี้ยวกราด □ ไม่ตระหนักถึงภัยอันตราย You may also observe the individual or student act indifferent towards others. There may be obsessional behaviors as in the need for sameness. Pica is the eating of inedible objects such as cigarette butts or dirt, kinda gross. You may observe poor-self help skills, repetitive behaviors, many times there is seizure activity. Self-injurious behaviors such as head banging. Stacey and I have just begun working with an adult with ASD who engages in a lot of self injurious behavior. As his agitation increases he begins picking chunks of skin off his hands, arms and head. He also jumps up, and he is a tall skinny guy so he gets pretty high, and will land on his knees. He head bangs and put his head throw dry wall on his first hit. We are beginning to put in place PECS so that he has a formal means of communication and are hoping to see some of these SIB behaviors decrease. You may also observe self-stimulatory behaviors which refers to repetitive body movements or repetitive movement of objects. We’ll cover self stimulatory behaviors more in depth in the sensory chapter. Tantrumming and unaware of danger are other characteristics you may possibly observe.

4 การสนับสนุน - พฤติกรรม
มีการใช้กลยุทธ์ที่ใช้การมองเห็น(visual)หรือมีการสนับสนุนด้านสิ่งแวดล้อมอื่นในสภาพแวดล้อมต่างๆกันหรือไม่ □ มี □ ไม่มี ถ้ามี คืออะไรในข้อต่อไปนี้ □ การติดป้ายตามสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ □ การกำหนดพื้นที่เพื่อใช้เป็นขอบเขตสำหรับทำกิจกรรม □ ตารางปฏิบัติที่โดยใช้ภาพหรือวัตถุ (Visual schedules) □ ตารางปฏิบัติงานขนาดเล็ก ๆ (Mini schedules) □ แผ่นกระดานที่มีตัวให้เลือก (Choice boards) □ โปรแกรมทางพฤติกรรมที่ใช้ประโยชน์จากการมองเห็น □ เรื่องเกี่ยวกับสังคม (Social Stories) □ หนังสือสื่อความหมาย (Communication book) □ อื่น ๆ ­___________________________________________ If you flip a few more pages back in the ASD Consultation model you will also find what supports are in place in different environments. For instance, are there visual strategies in place? We can look over what behaviors were marked previously on the form and identify supports that may beneficial to put in place. This and the last slide identify supports that can be integrated into your classroom. We will go over these supports in the intervention Module to come.

5 การสนับสนุน - พฤติกรรม
มีตัวชี้แนะเกี่ยวกับการเปลี่ยนผ่านในสถานที่หรือไม่ □ มี □ ไม่มี ถ้ามี คืออะไรในข้อต่อไปนี้ □ เพลง ไฟกระพริบ หรือ การปรบมือตามปกติ □ วลีที่เขียนเป็นแบบฉบับไว้ (Scripted phrase) □ กระดิ่ง □ การกระตุ้นเตือนทางวาจา (Verbal prompt) □ การจัดการเกี่ยวกับตารางเวลา (Schedule Manipulation) □ การเตือนด้วยกรอบจำกัดของเวลา(Time limit warnings) □ อื่น ๆ ___________________________________

6 การสนับสนุน - พฤติกรรม
มีการนำเอาการกระตุ้นเตือน(prompts) มาใช้หรือไม่ □ มี □ ไม่มี ถ้ามี คือใช้การกระตุ้นเตือนประเภทอะไร □ วาจา □ สายตา □ การเป็นแบบอย่าง □ ร่างกาย □ ท่าทาง □ ภายใน-สิ่งเร้า มีความจำเป็นต้องใช้การกระตุ้นเตือนเพื่อช่วยในการกระทำพฤติกรรมหรือการตอบสนองมากน้อยเพียงใด ______________

7 การสนับสนุน - พฤติกรรม
มีการประเมินผลการกระทำแล้วหรือไม่ □ มี □ ไม่มี มีแผนการปรับพฤติกรรมหรือไม่ □ มี □ ไม่มี มีแผนพฤติกรรมแบบ positive–proactive ใช้ในสถานที่ปฏิบัติการหรือไม่ □ มี □ ไม่มี มีกลยุทธ์ด้านปฏิกิริยาโต้ตอบที่พร้อมใช้งานในภาวะฉุกเฉินหรือไม่ □ มี □ ไม่มี นักเรียนได้รับบริการจัดการกับความโกรธหรือไม่ มีตัวเสริมแรงที่พร้อมใช้กับนักเรียนหรือไม่ ถ้ามี ใช้ตัวเสริมแรงประเภทอะไร □ ตัวเสริมแรงทางวาจา □ ตัวเสริมแรงปฐมภูมิ □ ตัวเสริมแรงทุติยภูมิ มีการใช้การเสริมแรงอย่างสม่ำเสมอหรือไม่

8 หลักการพื้นฐาน (Basic Principles)
การเสริมแรง @ การเสริมแรงทางบวก @ การเสริมแรงทางลบ การปรับแต่งพฤติกรรม การกระตุ้นเตือน การกระทำที่ต่อเนื่องเป็นลูกโช่ การลงโทษ การหยุดยั้ง(Extinction) Discrete Trial Training เหตุการณ์ พฤติกรรม ผลลัพธ์ Listed on this slide are some of the basic principles of ABA. Often times people associate ABA with Lovaas or with discrete trial training. While Lovaas was one of the first individuals to research the efficacy of discrete trial training with children with autism, discrete trial training is just one of the principles of applied behavior analysis. The rest of this presentation will discuss the basic principles of ABA. The principles will be discussed in two main areas; those that increase behavior and those that decrease behavior.

9 การเพิ่มพฤติกรรม (Increasing Behavior)
การเสริมแรง(Reinforcement) เป็นความสัมพันธ์ระหว่างสองสิ่งแวดล้อม คือ เหตุการณ์ที่เป็นพฤติกรรมการตอบสนองของเด็ก และเหตุการณ์ที่เป็นการเพิ่มพฤติกรรมเสริมแรงทางบวกหรือทางลบ การเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement) เป็น การให้สิ่งกระตุ้น(บางอย่างที่เด็กชอบ)ในทันทีทันใดที่มีพฤติกรรมตอบสนองจะช่วยเพิ่มการเกิดพฤติกรรมตอบสนองแบบเดิมมากขึ้นในอนาคต การเสริมแรงทางลบ (Negative Reinforcement)เป็นการถอนสิ่งกระตุ้น(บางอย่างที่เด็กไม่ชอบหรือมักจะหลีกเลี่ยง)ในทันทีที่มีพฤติกรรมตอบสนอง จะเพิ่มอัตราการตอบสนองแบบเดิมมากขึ้นในอนาคต

10 การเสริมแรงเป็นเครื่องมือที่ใช้ได้ทั่วโลก “Reinforcement is a universal tool…”
พวกเราทั้งหมดทำงานเพื่อแสวงหาและทำกิจกรรมที่ทำให้เรามีความยินดี ไม่มีการทำงานที่ทำให้เราพบสิ่งที่ไม่น่ายินดี โดยธรรมชาติเราจะหลีกเลี่ยงสิ่งที่ไม่น่ายินดี สำหรับพวกเราทุกคน อะไรที่เป็นแรงจูงใจ และอะไรทำให้เรามีความสบายใจนั่นคือ ความเป็นเฉพาะบุคคลของเรา Do you seek out things that make you miserable or that you find unpleasant or do you seek out things that bring you joy or pleasure. I think the answer is common sense. What we also need to remember that what we find pleasurable is different for everyone. When I am teaching preservice teachers I always tell them that this is where you make or break your programming. It is important not to use the same reinforcements each year without finding out what is reinforcing for the students. I further prove this point by making a reinforcement menu and writing it on the board. I choose those things that I prefer. The list usually contains time for gardening or pulling weeds, refinishing antiques, a bike ride, or cooking for a large group of friends. Rarely does anyone in the class vote to keep the items on the reinforcement menu. So, remember…what children find motivating or pleasurable is highly individualized. And this is a very important concept to remember particularly when you are supporting children and adolescents with ASD. Because as we all know, their likes and dislikes, can be highly individualized.

11 การจัดหาสิ่งเสริมแรง
สิ่งเสริมแรงจำเป็นต้องถูกกำหนดตามความแตกต่างของแต่ละบุคคล สิ่งเสริมแรงจะไม่ใช่การเสริมแรงถ้าเด็กไม่เลือก สิ่งเสริมแรง จำเป็นต้องแปรผันและขึ้นกับความถี่ด้วย สิ่งเสริมแรงจำเป็นต้องถูกส่งไปทันทีทันใดตามความต้องการของการกระทำหรือพฤติกรรม

12 แนวทางการเสริมแรงในชั้นเรียน
การเสริมแรงที่เหมาะสมเป็นทางเลือก เมื่อเกิดพฤติกรรมขึ้นระหว่างวัน จัดเตรียมสิ่งเสริมแรงเป็นกิจกรรมที่สนุกตลอดวัน ต้องทำตามตาราง (ไม่ใช่เพราะความบังเอิญ) จัดกิจกรรมที่ง่ายๆหรือเรียนรู้มาแล้วก่อน ค่อยเพิ่มกิจกรรมที่ยากหรือยังไม่เคยเรียนมาก่อน Reinforcement can be naturally embedded within the classroom throughout the day. We definitely want to create a reinforcing environment; one that the child or adolescent wants to come to, stay, and learn.

13 เมื่อไหร่ที่ให้แรงเสริม
ให้ตลอดเวลา ตามลำดับของสิ่งเสริมแรง สิ่งเสริมแรงขั้นที่หนึ่ง/ปฐมภูมิ(Primary) ได้แก่ ของที่รับประทานได้ ใช้ประสาทสัมผัสได้ สิ่งเสริมแรงขั้นที่สอง/ทุติยภูมิ (Secondary) ได้แก่ สิ่งของที่สัมผัส/จับต้องได้ มีรูปร่าง เป็นชิ้นเป็นอัน สิทธิพิเศษหรือกิจกรรม สิ่งเสริมแรงทางสังคม เช่น คำชมเชย

14 วิธีการกำหนดสิ่งเสริมแรง
ถามนักเรียน มีรายการสิ่งเสริมแรงที่สนใจตามลำดับให้เลือกได้ สังเกตนักเรียน มีตัวอย่างสิ่งเสริมแรงให้เลือกหรือประเมินจากสิ่งที่เลือก So how do we determine what is reinforcing? Well, we have several options. If the child is verbal and can articulate their interests then we can begin by asking or we can interview the child using a reinforcement inventory. What is even more helpful in creating a reinforcement menu is having the child rank the reinforcers in order of preference. This will allow you to use the items or activities that are the most reinforcing during times when you are teaching new behaviors or when there is high demand placed on the child. Another way to determine reinforcers is to simply observe the child. What items or activities does the child gravitate to? Lastly, if you are supporting a young child or a nonspeaking child then you will need to perform a reinforcer sampling or preference assessment. This involves some data collection. First, pull together a tub or basket full of items from each of the reinforcer categories (primary and secondary). Place the items on a table in front of the child with a fair amount of distance in between the items. You place distance in between the items so you can see intentionality in the child or adolescent’s choice. Furthermore, if the child does not actually reach for the item you may be able to determine preference by the child’s eye gaze. The data collection comes in when you record the child’s choice. Change the order of the items on the table to rule out stimulus overselectivity. Stimulus overselectivity is when a child always chooses the item in the middle or on the right side. That item may not be reinforcing but it is a strategy that the child has learned. Another thing to be aware of is to make sure that the child is crossing midline. That is, does the child reach across the midpoint of their body? If they are not reaching across their body and they are only using one hand for item choice then you need to place all items on the dominate side. Work on crossing midline at a different time. The whole purpose of this activity is to find what is reinforcing. Once the child or adolescent has selected the item 2-3 times then remove that item from the table. Make sure that you are rotating item choices and positions and that you are recording the preferred item. If the child will not come to the table then go to the child. Try to end the preference assessment with at least 5-8 reinforcer choices.

15 การปรับแต่งพฤติกรรม (Shaping)
พฤติกรรมที่พึงประสงค์ คือ ผลสัมฤทธิ์ที่เกิดขึ้นจากการเสริมแรงในขั้นตอนเล็ก ๆ หรือ การประมาณการผลสำเร็จของพฤติกรรมที่พึงประสงค์ Shaping is a principle that is used to increase a behavior. Basically, you reinforce small steps of the behavior until the child can complete the behavioral objective. For example, Phillip will independently exchange a picture of a cookie for a cookie when you are 1 foot from him. You would like for him to deliver the card regardless of where you are in the room. To shape this behavior you would first require that Phillip bring the card when you are 1.5 feet away. This distance would be gradually increased until Phillip is able to bring the card to you when you are across the room. Have you learned anything through the use of shaping? How did you learn to ride a bike? How did you learn to swim? How could you use shaping to teach a child to eat in the lunchroom? How could you use shaping for toilet training? Shaping is an extremely important strategy for teaching. Don’t forget that reinforcement is the driving force!

16 Shaping เมื่อไหร่ที่ต้องปรับแต่งพฤติกรรม
ถ้าพฤติกรรมนั้นมีความเข้มแข็งน้อยและจำเป็นต้องทำให้เข้มแข็งโดยขั้นตอนการเสริมแรงซึ่งการที่เด็กมีพฤติกรรมตามที่กำหนดในเป้าหมายหลักอาจไม่เพียงพอ The next two slides contain information on how to maximize the effectiveness of the shaping strategy.

17 Maximizing Effectiveness:
การทำให้มีประสิทธิผลมากที่สุด Maximizing Effectiveness: มองไปที่เป้าหมาย เริ่มจากพฤติกรรมที่เป็นองค์ประกอบของแต่ละบุคคล เริ่มจากพฤติกรรมที่เหมือนหรือใกล้เคียงกับ พฤติกรรมพึงประสงค์ เลือกขนาด ขั้นตอนที่สามารถทำได้ง่ายแต่ก็ไม่ง่ายเกินไป ที่จะประสบผลสำเร็จ ยังคงอยู่ในขั้นมีเวลานานพอในการปรับเข้ากับ พฤติกรรมที่เป็นส่วนตัวได้โดยใช้เวลาไม่นานเกินไป Keep your eye on the goal. For example, your goal is to teach a child to verbally request milk. Start with behaviors in the individual’s repertoire. She has the sound, “mmm”, in her vocabulary, so this is the starting point. 3. Start with behaviors that most closely resemble goal behaviors Select a step size that can be easily, but not too easily, achieved. The first step in teaching a child to request milk may be modeling the sound “mmm” with a cup of milk in your hand and then requesting the child to say “mmm”. Once she says “mmm”, give her a drink of milk.

18 Maximizing Effectiveness:
การทำให้มีประสิทธิผลมากที่สุด Maximizing Effectiveness: เฝ้าดูพฤติกรรมที่เปลี่ยนไป ถ้าไม่เหมาะสมควรหยุดแล้วย้อนถอยหลัง 1 หรือ 2 ขั้นตอน ใช้การเลียนแบบและการกระตุ้นเตือนอื่น ๆร่วมด้วย ใช้กระบวนการเสริมแรงที่มีประสิทธิผล ตลอดกระบวนการ เรียนรู้พฤติกรรมใหม่ๆที่เป็นจุดเด่น Keep your eye on the goal. For example, your goal is to teach a child to verbally request milk. Start with behaviors in the individual’s repertoire. She has the sound, “mmm”, in her vocabulary, so this is the starting point. 3. Start with behaviors that most closely resemble goal behaviors Select a step size that can be easily, but not too easily, achieved. The first step in teaching a child to request milk may be modeling the sound “mmm” with a cup of milk in your hand and then requesting the child to say “mmm”. Once she says “mmm”, give her a drink of milk. 18

19 กระบวนการที่ค่อย ๆ เกิดขึ้น แต่มีประสิทธิผล ในระยะยาว
กระบวนการที่ค่อย ๆ เกิดขึ้น แต่มีประสิทธิผล ในระยะยาว This is a gradual process, Shaping takes time but the effects are definitely long lasting! And it works for many behaviors such as verbal imitation, play-based behaviors, and compliance behaviors such as “sit in chair” just to name a few. but its effects are long lasting.

20 การกระตุ้นเตือน(Prompting)
จัดหาสิ่งชี้นำหรือตัวช่วยอื่นๆ ที่ส่งเสริมการตอบสนองที่ถูกต้อง เพิ่มโอกาสที่พฤติกรรรมพึงประสงค์จะได้แสดงออก เพิ่มโอกาสที่พฤติกรรมพึงประสงค์จะเกิดขึ้นตามมาอีก Why do we prompt? We prompt to assist people to help make a correct response. It increases the chance that the desired behavior will be performed.

21 รูปแบบการกระตุ้นเตือน (Types of Prompts)
ใช้ภาษาพูด(Verbal) ทางกาย (Physical) การมอง (Visual) การกระตุ้นเตือนจากภายใน (Within-Stimulus) Types of prompts include verbal prompts, physical prompts, visual prompts and within-stimulus prompts.

22 การกระตุ้นเตือนโดยใช้ภาษาพูด (Verbal Prompts)
ใช้ในการทำงานซึ่งปกติแล้วแสดงออกทางการพูดโดยตรง ใช้ภาษาที่นักเรียนสามารถเข้าใจได้ อาจใช้โดยตรงหรือโดยอ้อม ยากที่จะค่อยๆลด ลดลงตรง ๆอย่างจริงจัง Verbal prompts are probably the most used and sometimes over-used type of prompt. They should be used with tasks that are usually performed with a verbal direction. You do not want to use them with tasks that you want the child to perform independently. For example, if you want the child to independently use the bathroom then you do not want to verbalize each step of the process. When using verbal prompts make sure that you are using language that is easily understood by the child. You also want to make sure that you are providing time for the child or adolescent to process the information. Verbal prompts can be very difficult to fade so you should take care to use them with caution. Also, if the child does not respond to a verbal prompt, you should pair the verbal prompt with another type of prompt. Lastly, remember the auditory channel may not be the preferred channel.

23 การกระตุ้นเตือนทางกาย (Physical Prompt)
ใช้กับการทำงานที่ควรทำให้ได้ดีและทำด้วยตนเองได้อย่างอิสระ ใช้มือวางบนมือหรือชี้นำในลักษณะคล้าย ๆ กัน การกระตุ้นเตือนควรกระทำตรงๆ เพียงพอที่ทำให้เกิดการตอบสนองที่ถูกต้องแล้วค่อยลดระดับลง Some people feel the physical prompt is the most intrusive because you may be physically directing the child to complete an action. In all actuality, the physical prompt could be considered less intrusive than the verbal prompt because the physical prompt is one of the easiest to fade. Use physical prompts for activities that should ultimately be done independently. The physical prompt should be direct enough to guide the child to the correct response and then faded gradually.

24 การกระตุ้นเตือนทางกาย
การลดควรเป็นไปตามพฤติกรรม ไม่ต้องกำหนดเวลา การลดจำนวนสิ่งที่ช่วย เป็นไปตามความแตกต่างระหว่างบุคคลและยืดหยุ่นตามลักษณะของพฤติกรรม Fading is not done on a time schedule but rather on a performance schedule. You can feel when the child begins to execute the motor movement and at that time you begin the fading process. Be flexible during this process. You may have to occasionally increase assistance and then rapidly decrease the assistance. Take the child’s lead.

25 การกระตุ้นเตือนโดยการมอง (Visual Prompts)
ท่าทาง (Gestures): ใช้ชี้บอกเพื่อให้การตอบสนองถูกต้อง เช่น การใช้มือชี้ การมองไปยังจุดที่ต้องการแนะ การเคลื่อนไหว หรือสัมผัสรายการสิ่งของ ค่อย ๆ ลดความเข้มข้นของการเคลื่อนไหวและตำแหน่งของท่าทางลง รูปภาพ (Pictures): ใช้สำหรับผู้เรียนที่มีความยุ่งยากลำบากในการสื่อสารโดยใช้ภาษาพูด ค่อย ๆ ลด โดย ลดการใช้จำนวนรูปภาพลง พิจารณาว่าอันไหนควรลดแล้ว

26 การกระตุ้นเตือนโดยการมอง (Visual Prompts)
การสาธิตและแสดงตัวอย่าง (Demonstrations/Modeling) ใช้กับผู้เรียนที่สามารถเลียนแบบได้และ มีความตระหนักรู้ทางสังคม ซึ่งอาจจะ ต้องการเพิ่มทักษะให้มากขึ้น ค่อย ๆ ลดการกระตุ้นเตือนโดยธรรมชาติ หรือลดภาษาท่าทางลง ความใกล้ชิด(Proximity): ใช้กับผู้เรียนที่เรียนรู้ จากการมองและมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ มิติสัมพันธ์ ค่อย ๆ ลดโดยการเพิ่มระยะห่างจากผู้เรียน

27 การกระตุ้นเตือนจากภายใน (Within-Stimulus Prompt)
เริ่มจากการเพิ่มเติมการใช้วิจารณญาณ เกี่ยวกับมิติ ในการทำงาน ให้ตัวอย่างร่วมด้วย : การประมาณ สี รูปร่าง คำ และตัวอักษร ค่อย ๆ ลดการกระตุ้นด้วยงานหรือปรับ ให้ใช้เหตุผลแทน A within-stimulus prompt can include such things as proximity, color, and shape. To develop a within-stimulus prompt you basically emphasize an important component of the activity or material. An example of a within-stimulus prompt would be to highlight the first letter of a word on a flashcard when teaching the child to read and มุ่งประเด็นที่ on the initial sound. To fade this type of support you fade to the original task or to a reasonable adaptation of the task. So, in using the example above, you would remove the highlighting from the flashcard.

28 การเลือกวิธีการกระตุ้นเตือน (Choosing Prompts)
พิจารณาว่าการกระตุ้นเตือนวิธีใดที่มีประสิทธิผลมากที่สุดในการนำมาใช้ เลือกวิธีการที่สามารถลดการกระตุ้นเตือนได้ง่าย พิจารณาว่าวิธีใดที่ทำให้การเรียนรู้ไม่มีความคลาดเคลื่อน

29 การค่อย ๆ ลดสิ่งกระตุ้นเตือน (Fading Prompts)
ลดการช่วยเหลือ ลดการชี้นำ ยืดเวลาออกไป เพิ่มการช่วยเหลือ เป้าหมายใหญ่คือ การช่วยเหลือตนเอง และการทำได้อย่างอิสระด้วยตนเอง The ultimate goal is self-initiation and independence!

30 การกระตุ้นที่ต่อเนื่องเป็นลูกโซ่ (Chaining)
งานที่ซับซ้อนสามารถทำให้เล็กลงเพื่อทำให้ตอบสนองง่ายขึ้นเหมือนกับพฤติกรรมเล็กๆเชื่อมโยงกันจนก่อให้เกิดพฤติกรรมโดยรวม แบบลูกโซ่ นิยมใช้การวิเคราะห์งานกับงานที่ซับซ้อนยุ่งยาก เพื่อให้เข้าใจและทำได้ง่ายขึ้นโดยแบ่งเป็นขั้นตอนย่อยๆ The process of chaining to increase a behavior, particularly a new behavior, involves breaking a complex task down into steps or responses that are linked to one another. You would not use chaining for a task that has a discrete response. That is a task that elicits a single response. For example, chaining would not necessarily be appropriate for teaching a student to greet a peer in the hallway. It would be an effective strategy for teaching the steps in a toileting sequence, washing a table, taking a bath or a sequence on how to use a vending machine. Even though chaining and task analysis is a basis for many programs that teach complex functional and vocational skills to people with more severe disabilities, it can also be used to teach academic-based behaviors that are considered complex tasks. For instance, you can use chaining to teach an individual how to find a word in the dictionary or how to complete a complex multiplication problem.

31 ความสัมพันธ์กับการวิเคราะห์งาน (Relationship to Task Analysis)
การวิเคราะห์งานเป็นการเชื่อมต่อขั้นแรกของขั้นตอนการตรวจสอบผลของพฤติกรรม กระบวนการที่ต่อเนื่องเป็นลูกโซ่ใช้สอนลำดับได้อย่างเป็นระบบ

32 วิธีการลูกโซ่ 3 แบบ (Three Methods of Chaining)
We have three options that we could use to present this complex behavioral chain to Rodney. We could use forward chaining, backward chaining, or total task presentation. What do you think would be most effective? แนวลูกโซ่ไปข้างหน้า (Forward Chaining) แนวลูกโซ่ถอยหลัง (Backward Chaining) การนำเสนองานทั้งหมด(Total Task Presentation)

33 แนวลูกโซ่ไปข้างหน้า (Forward Chaining)
กำหนดองค์ประกอบของพฤติกรรมและของงานแล้วสอนตามลำดับขั้น ผู้เรียนเริ่มด้วยขั้นตอนที่หนึ่ง การเสริมแรงเป็นสิ่งหนึ่งที่กำหนดขึ้นอย่างมีหลักเกณฑ์ไว้ก่อนล่วงหน้า ความก้าวหน้าของนักเรียน คือ การที่นักเรียนสามารถกระทำพฤติกรรมที่ทำได้แล้วและเพิ่มพฤติกรรมในขั้นตอนใหม่ได้ก่อนที่จะได้รับแรงเสริม

34 ตัวอย่าง กิจกรรมตามแนวลูกโซ่ที่เคลื่อนไปข้างหน้า(Forward Chaining Activity)
การสอนเด็กให้ดื่มน้ำจากถ้วย การจัดโต๊ะ การเขียนชื่อของคุณ การเขียนประโยคให้สมบูรณ์ Let’s think about how we could create a forward chain from the activities listed on the slide. For example, teaching a child to drink from a cup. There could be upwards of 7 discrete behaviors involved in taking a drink from a cup. 1. Extend arm toward cup Grasp open as arm nears cup Place hand around cup Tighten grasp around cup Lift cup Pull arm with cup toward face Place cup to mouth and tilt. Now, look at the other activities listed and select one to practice breaking down into a behavioral chain.

35 แนวลูกโซ่ถอยหลัง (Backward Chaining)
การจัดลำดับขั้นเหมือนกับการจัดลำดับการวิเคราะห์งาน ครูลงมือทำขั้นตอนทั้งหมด ยกเว้นขั้นตอนสุดท้ายโดยจะให้ผู้เรียนเป็นผู้ลงมือทำ เพื่อแสดงให้เห็นว่ามีการตอบสนองแล้วได้รับรางวัล ครูลงมือทำขั้นตอนทั้งหมดยกเว้น 2 ขั้นตอน สุดท้ายโดยจะให้ผู้เรียนเป็นผู้ลงมือทำ เพื่อแสดงให้เห็นว่าเมื่อตอบสนองแล้วได้รับรางวัล

36 ตัวอย่าง กิจกรรมแนวลูกโซ่ถอยหลัง (Backward Chaining Activity)
การรูดซิปเสื้อ (Zipping a coat) การทำแซนด์วิช(Making a sandwich) Select one of the activities from above and create a backward chain. your chain using WebCT mail.

37 การนำเสนองานทั้งหมด (Total Task Presentation)
นักเรียนแสดงขั้นตอนทั้งหมดตามลำดับจนกระทั่งครบถ้วนสมบูรณ์ทุกลูกโซ่คือเรียนรู้ทั้งหมดแล้ว ความเหมาะสมเมื่อนักเรียนสามารถดำเนินการได้บางส่วนหรือทั้งหมดขององค์ประกอบในงาน โดยไม่มีการแสดงในลำดับ

38 การลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ (Decreasing Behavior)
Up to this point the basic principles of ABA that we have discussed have all มุ่งประเด็นที่ed on methods of increasing behavior. We will now spend just a few moments to discuss the 2 methods for decreasing behavior; punishment and extinction. การลงโทษ (Punishment) การหยุดยั้ง(Extinction)

39 การลงโทษ(Punishment)
การนำเสนอเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นได้ ของการกระตุ้น(บางสิ่งบางอย่างที่เด็กไม่ชอบ) การตอบสนองในทันทีทันใด(พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของเด็ก) สิ่งที่ลดลงอาจตอบสนองในอนาคต(เหมือนกับพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม)

40 การหยุดยั้ง(Extinction)
ลดพฤติกรรมโดยการยึดหรือหยุดการให้สิ่งเสริมแรงทางบวกเมื่อมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม ครูวางแผนการเพิกเฉยต่อพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ การนำสิ่งที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้ที่ไม่สร้างสรรค์ออกไป Extinction reduces behavior by withholding or removing the reinforcer that is maintaining the inappropriate behavior. It is often associated with teacher planned ignoring. You should never try to use extinction on an engrained behavior, a behavior that has been with the learner for a long period of time. Another thing to consider is that little constructive learning takes place when extinction is the main intervention.

41 การปรับพฤติกรรมแบบเข้มข้น (The ABC’s of Behavior)
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก่อน (Antecedents) พฤติกรรม (Behavior) ผลที่เกิดตามมา (Consequence) ABC

42 การกระตุ้น การชี้แนะ หรือเหตุการณ์ที่เกิดก่อนพฤติกรรม
Antecedents การกระตุ้น การชี้แนะ หรือเหตุการณ์ที่เกิดก่อนพฤติกรรม The antecedent is the stimulus, cue or event that precedes a behavior.

43 Behavior การแสดงออกของแต่ละบุคคลที่สามารถสังเกตได้และวัดได้ โดยในการตอบสนองเป็นไปโดยรู้สึกตัว The behavior is the child’s reaction. It is observable and measurable and it is known as a response (to the antecedent).

44 ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น (Consequence)
ลักษณะเฉพาะของพฤติกรรมที่เกิดจากการกระตุ้น(โดยไม่ตั้งใจ) The consequence is presented contingent upon a particular behavior. The consequence can be either positive or negative in nature.

45 จุดมุ่งหมายในการสื่อสารของพฤติกรรม (Communicative Intent of Behavior)
พฤติกรรมเป็นเรื่องของแต่บุคคล (Behaviors make sense for the individual) รูปแบบการสื่อสาร (A form of communication) การเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์ (Learned form of interaction) So, why the ABCs of behavior? The ABCs allow us to formulate the communicative intent of the behavior as well as determine what may be reinforcing the behavior. Both of these concepts will be discussed in depth in the next subchapter. Before entering into the next subchapter I would like to leave you with a very important message. Behavior is a form of communication, it makes sense for the individual, it is a learned form of interaction, and it may lead to a source of internal pleasure for the individual whom is exhibiting it. Sims, 2004

46 จุดมุ่งหมายในการสื่อสารของพฤติกรรม (Communicative Intent of Behavior)
เมื่อมีความยินดี บางสิ่งจะกระทำเมื่อรู้สึกเบื่อหน่าย เป็นเพราะนิสัยที่ไม่ดี

47 เด็กพิเศษมีพฤติกรรมหลายอย่าง ที่เป็นปัญหาในการดำเนินชีวิต และการอยู่ร่วมกับคนอื่น
ผู้เกี่ยวข้องจึงต้องมีความเข้าใจในพฤติกรรมตลอดจนการใช้เทคนิคต่าง ๆ เพื่อปรับลดพฤติกรรมที่เป็นปัญหาของเด็ก ให้อยู่ร่วมในสังคมได้อย่างมีความสุข


ดาวน์โหลด ppt เทคนิคการสอนเชิงพฤติกรรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google